ภาพนิ่ง 1 - มหาวิทยาลัยแม่โจ้

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1 - มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ศริ กิ าญจน์ จันทร์เรือง
สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
กระบวนการเรียนรู้ ทเี่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
การจัดการศึกษาที่ยดึ หลักว่า
ผูเ้ รี ยนทุกคนมี
ความสามารถเรี ยนรู ้และพัฒนาตนเองได้ และถือ
ว่าผูเ้ รี ยนมีความสาคัญที่สุด โดยกระบวนการจัด
การศึกษาจะต้องส่งเสริ ม
ให้ผเู ้ รี ยนสามารถ
พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตาม ศักยภาพ
บทบาทของครูผ้สู อน
(ผศ.อาภรณ์ ใจเทีย่ ง)
ลักษณะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ครู สมัยใหม่
ครู สมัยเก่ า
สอนนักเรี ยนโดยวิธีบูรณาการ
สอนแยกเนื้อหาวิชา
เนื้อหาวิชา
แสดงบทบาทในฐานะผู้แนะนา
มีบทบาทในฐานะตัวแทนของ
(Guide) ประสบการณ์ทางการศึกษา เนื้อหาวิชา(Knowledge)
กระตือรือร้ นในบทบาท ความรู ้สึก
ของนักเรี ยน
ละเลยเฉยเมยต่อบทบาทนักเรี ยน
บทบาทของครู ผู้สอน
ลักษณะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ครู สมัยใหม่
ครู สมัยเก่ า
ให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมในการ
วางแผนของหลักสูตร
นักเรี ยนไม่ มีส่วนร่ วมแม้แต่จะพูด
เกี่ยวกับหลักสูตร
ใช้เทคนิคการค้ นพบด้ วยตนเองของ ใช้เทคนิคการเรียนโดยใช้ การจาเป็ น
นักเรี ยนเป็ นกิจกรรมหลัก
หลัก
เสริมแรงหรื อให้ รางวัลมากกว่ าการ มุ่งเน้นการให้รางวัลภายนอก เช่น
ลงโทษ โดยใช้แรงจูงใจภายใน
เกรด แรงจูงใจภายนอก
บทบาทของครู ผู้สอน
ลักษณะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ครู สมัยใหม่
ครู สมัยเก่ า
ไม่ เคร่ งครัดกับมาตรฐานทาง
วิชาการจนเกินไป
มีการทดสอบเล็กน้ อย
เคร่ งครัดกับมาตรฐานทางวิชาการ
มาก
มีการทดสอบสม่าเสมอเป็ นระยะๆ
มุ่งเน้นการทางานแบบร่ วมใจ
มุ่งเน้นการแข่ งขัน
สอนโดยไม่ ยดึ ติดกับห้องเรี ยน
สอนในขอบเขตของห้องเรี ยน
บทบาทของครู ผู้สอน
ลักษณะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ครู สมัยใหม่
ครู สมัยเก่ า
มุ่งสร้ างสรรค์ ประสบการณ์ ใหม่ให้
นักเรี ยน
มุ่งเน้นความรู้ทางวิชาการและทักษะ
ด้ านจิตพิสัยเท่าเทียมกัน
มุ่งเน้ นการประเมินกระบวนการเป็ น
สาคัญ
เน้นยา้ ประสบการณ์ ใหม่ เพียง
เล็กน้ อย
มุ่งเน้นความรู้ทางวิชาการเป็ น
สาคัญ ละเลยความรู้สึกหรือทักษะ
ทางด้ านจิตพิสัย
ประเมินกระบวนการเล็กน้ อย
รู ปแบบการจัดการเรียนการสอน คือ วิธีการสอนที่ได้รับการจัด
อย่างเป็ นระบบ มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับทฤษฎี / หลักการ
เรี ยนรู้หรื อการสอนที่รูปแบบนั้นยึดถือ และสามารถช่วยให้
ผูเ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ตามจุดม่งหมายของรู ปแบบนั้น ๆ
เทคนิคการสอน คือ กลวิธีต่างๆ ที่ใช้เสริ มกระบวนการสอน
ขั้นตอนการสอน วิธีการสอน หรื อการดาเนิน การทางการสอน
ใดๆ เพื่อช่วยให้การสอนมีคุณภาพและประสิ ทธิภาพมากขึ้น
รู ปแบบหรือเทคนิคการเรียนการสอน
ทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
 การเรี ยนที่ใช้ปัญหาเป็ นฐาน (Problem-based Learning)
 การเรี ยนที่ใช้การวิจยั เป็ นฐาน (Research–based Learning)
 การเรี ยนแบบโครงงาน (Project-based Learning)
 การเรี ยนแบบร่ วมมือ (Cooperative/Collaborative Learning)
 เทคนิคการใช้ Concept Mapping
 เทคนิคหมวก 6 ใบ
การเรียนที่ใช้ ปัญหาเป็ นฐาน
(Problem-based learning)
 สร้างความรู ้ใหม่ จากการใช้ปัญหาที่เกิดขึ้นในโลกแห่ งความเป็ นจริ งเป็ น
บริ บท (context) ของการเรี ยนรู ้ เพื่อให้ผเู ้ รี ยนเกิดทักษะในการคิด
วิเคราะห์และคิดแก้ปัญหา รวมทั้งได้ความรู ้ตามศาสตร์ในสาขาวิชาที่
ตนศึกษาด้วย
 ลักษณะที่สาคัญของ PBL ก็คือ
 ผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลางของการเรี ยนรู ้อย่างแท้จริ ง (student-centered
learning)
 การเรี ยนรู ้เกิดขึ้นในกลุ่มผูเ้ รี ยนที่มีขนาดเล็ก
การเรียนที่ใช้ ปัญหาเป็ นฐาน
(Problem-based learning)
 ครู เป็ นผูอ้ านวยความสะดวก (facilitator)
หรื อผูใ้ ห้คาแนะนา (guide)
 ใช้ปัญหาเป็ นตัวกระตุน
้ ให้เกิดการเรี ยนรู ้
 ปั ญหาที่นามาใช้มีลก
ั ษณะคลุมเครื อ
ไม่ชดั เจน ปัญหา 1 ปัญหาอาจมี
คาตอบได้หลายคาตอบหรื อแก้ไขปัญหาได้หลายทาง (illed- structure
problem)
 ผูเ้ รี ยนเป็ นคนแก้ปัญหาโดยการแสวงหาข้อมูลใหม่ ๆ ด้วยตนเอง
(self-directed learning)
 ประเมินผลจากสถานการณ์จริ ง โดยดูจากความสามารถในการปฏิบต
ัิ
(authentic assessment)
ขัน้ ตอนการจัดการเรี ยนรู้ แบบใช้ ปัญหาเป็ นาาน
(จาก สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา)
ขัน้ ตอนการจัดการเรี ยนรู้ แบบใช้ ปัญหาเป็ นาาน
(จาก สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา)
ขัน้ ตอนการจัดการเรี ยนรู้ แบบใช้ ปัญหาเป็ นาาน
(จาก สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา)
ขัน้ ตอนการจัดการเรี ยนรู้ แบบใช้ ปัญหาเป็ นาาน
(จาก สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา)
การเรียนที่ใช้ การวิจัยเป็ นฐาน
(Research-based Learning)
 ลักษณะใหญ่ ๆ ของการจัดการเรี ยนการสอน ได้แก่
 การสอนโดยใช้วิธีวิจยั เป็ นวิธีสอน
 การสอนโดยผูเ้ รี ยนร่ วมทาโครงการวิจยั กับอาจารย์หรื อเป็ นผูช
้ ่ วย
โครงการวิจยั ของอาจารย์
 การสอนโดยผูเ้ รี ยนศึกษางานวิจยั ของอาจารย์และของนักวิจยั ชั้น
นาในศาสตร์ที่ศึกษา
 การสอนโดยใช้ผลการวิจยั ประกอบการสอน
รู ปแบบของการจัดการศึกษาแบบ RBL
(ผศ.ดร.กฤษดา กรุดทอง )
 RBL ที่ใช้ผลการวิจยั เป็ นสาระการเรี ยนการสอน
เรี ยนรู ้ผลการวิจยั /ใช้ผลการวิจยั ประกอบการสอน
เรี ยนรู ้จากการศึกษางานวิจยั /การสังเคราะห์งานการวิจยั
 RBL ที่ใช้กระบวนการวิจยั เป็ นกระบวนการเรี ยนการสอน
เรี ยนรู ้วิชาวิจยั /วิธีทาวิจยั
เรี ยนรู ้จากการทาวิจยั /รายงานเชิงวิจยั
เรี ยนรู ้จากการทาวิจยั /ร่ วมทาโครงการวิจยั
เรี ยนรู ้จากการทาวิจยั /วิจยั ขนาดเล็ก
เรี ยนรู ้จากการทาวิจยั /วิทยานิพนธ์
ตัวอย่ างวิธีการจัดกิจกรรมการศึกษาแบบ RBL
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ ผลการวิจัย
 วัตถุประสงค์
 ให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้เนื้ อหาสาระของศาสตร์ จากผลงานวิจยั
 กิจกรรมการเรียนการสอน
 ผูส
้ อนรวบรวมบทคัดย่องานวิจยั
 ผูส
้ อนแนะนาวิธีการอ่าน การจับประเด็นสาคัญ
 ให้นก
ั ศึกษาศึกษาสาระของศาสตร์จากบทคัดย่องานวิจยั และสรุ ป
ความรู ้
 ให้นก
ั ศึกษาค้นคว้างานวิจยั เพิม่ เติม
ตัวอย่ างวิธีการจัดกิจกรรมการศึกษาแบบ RBL
 การประเมิน
 ประเมินการแสวงหาแหล่งความรู ้
 ประเมินความสามารถในการสรุ ปสังเคราะห์ความรู ้
 ประเมินสาระความรู ้ของศาสตร์
การเรียนรู้ แบบโครงงาน
 เป็ นการเรี ยนรู ้ที่ใช้เทคนิคหลากหลายรู ปแบบนามาผสมผสานกัน ได้แก่
กระบวนการกลุ่ม การฝึ กคิด การแก้ปัญหา การเน้นกระบวนการ การ
สอนแบบปริ ศนาความคิด และการสอนแบบร่ วมกันคิด
 เป็ นการเรี ยนรู ้ที่เชื่อมโยงหลักการพัฒนาการคิดของบลูม (Bloom) ทั้ง 6
ขั้น กล่าวคือ ความรู ้ความจา (Knowledge) ความเข้าใจ (Comprehension)
การนาไปใช้ (Application) การวิเคราะห์ (Analysis) การสังเคราะห์
(Synthesis) การประเมินค่า (Evaluation)
การเรียนรู้ แบบโครงงาน
บทบาทของผู้สอน ขั้นตอนการจัดการ บทบาทของผู้เรียน
เรียนแบบโครงงาน
จัดให้มีการปฐมนิเทศการ ขั้นนาเสนอ
เรี ยนรู้แบบโครงงาน
เสนอแนวคิด เลือก และ
กาหนดหัวข้อโครงงาน
ให้คาปรึ กษาในการ
ขั้นวางแผน
ดาเนินงานของผูเ้ รี ยนทุก
ขั้นตอน
เสนอแนวทาง ออกแบบการ
ทาโครงงาน
วางแผนร่ วมกันในการเรี ยนรู ้
แบบโครงงาน
ศึกษาค้นคว้าเอกสารเพิม่ เติม
เสนอเค้าโครงย่อของ
โครงงาน
การเรียนรู้ แบบโครงงาน
บทบาทของผู้สอน ขั้นตอนการจัดการ บทบาทของผู้เรียน
เรียนแบบโครงงาน
ติดตามสอบถาม
ความก้าวหน้า ดูแล
การทาโครงงานของ
ผูเ้ รี ยนอย่างใกล้ชิด
ขั้นปฏิบตั ิ
ลงมือปฏิบตั ิโครงงาน
ตามขั้นตอนที่กาหนดไว้
รวบรวมผลการทางาน
เสนอแนวทางแก้ไข
ปรับปรุ งผลการทา
โครงงาน
การเรียนรู้ แบบโครงงาน
บทบาทของผู้สอน
ขั้นตอนการจัดการ
เรียนแบบโครงงาน
บทบาทของผู้เรียน
ขั้นปฏิบตั ิ
เขียนรายงานหรื อ
นาเสนอผลงาน
โครงงานต่อผูส้ อน
เผยแพร่ ผลงานต่อ
สาธารณชน
การเรียนรู้ แบบโครงงาน
บทบาทของผู้สอน
ขั้นตอนการจัดการ
เรียนแบบโครงงาน
บทบาทของผู้เรียน
สังเกตและประเมิน
การทากิจกรรมของ
ผูเ้ รี ยน
สรุ ปการทางานและ
เสนอแนะการทางาน
ของผูเ้ รี ยนแต่ละกลุ่ม
โดยรวม
ขั้นประเมิน
ประเมินผลการเรี ยนรู ้
แบบโครงงานของ
ตนเอง
การเรียนรู้ แบบโครงงาน
 เทคนิคการตั้งคาถาม
สนใจเรื่ องอะไรบ้าง (กาหนดเนื้ อหา)
ทาไมถึงสนใจอยากเรี ยนเรื่ องนี้ (แนวคิด)
ทาอย่างไรจึงจะเรี ยนรู ้ได้ในเรื่ องนี้ (กาหนดวิธีการศึกษา/กิจกรรม)
จะไปศึกษาที่ใดบ้าง (กาหนดแหล่งความรู ้/ข้อมูล)
ผลที่ผเู ้ รี ยนคาดว่าจะได้รับคืออะไร (สรุ ปความรู ้/สมมติฐาน)
ทาอย่างไรจึงจะรู ้วา่ ผลงานดีหรื อไม่ดี จะให้ใครเป็ นผูป้ ระเมิน
(กาหนดการวัดและประเมินผล)
เผยแพร่ ผลงานให้ผอู ้ ื่นรู ้ได้อย่างไร (นาเสนอผลงาน รายงาน)
การเรียนรู้ แบบร่ วมมือ (Cooperative Learning
and Collaborative Learning)
 การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ (Cooperative Learning and Collaborative
Learning) หรื อนักวิชาการบางท่านได้แปล Collaborative Learning ว่าคือ
การเรี ยนรู ้ร่วมกัน ซึ่งเป็ นวิธีการจัดการเรี ยนการสอนรู ปแบบหนึ่ง ที่เน้น
ให้ผเู ้ รี ยนลงมือปฏิบตั ิงานเป็ นกลุ่มย่อย โดยมีสมาชิกกลุ่มที่มี
ความสามารถที่แตกต่างกัน เพื่อเสริ มสร้างสมรรถภาพการเรี ยนรู ้ของแต่
ละคน สนับสนุนให้มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จนบรรลุตามเป้ าหมาย
ที่วางไว้ นอกจากนี้ ยังเป็ นการส่ งเสริ มการทางานร่ วมกันเป็ นหมู่คณะ
หรื อทีม ตามระบอบประชาธิปไตย และเป็ นการพัฒนาความฉลาดทาง
อารมณ์ ทาให้สามารถปรับตัวอยูก่ บั ผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุ ข (สุ ภิดา
ปุสุรินทร์คา)
การเรียนรู้ แบบร่ วมมือ (Cooperative Learning
and Collaborative Learning)
แนวคิดสาคัญ 6 ประการ (Kagan)
1. เป็ นกลุ่ม (Team) ซึ่งเป็ นกลุ่มขนาดเล็ก ประมาณ 2-6 คน เปิ ดโอกาสให้ทุก
คนร่ วมมืออย่างเท่าเทียมกัน ภายในกลุ่มประกอบด้วยสมาชิกที่แตกต่างกัน
2. มีความตั้งใจ (Willing) เป็ นความตั้งใจที่ร่วมมือในการเรี ยนและทางาน โดย
ช่วยเหลือกันและกัน มีการยอมรับซึ่งกันและกัน
3. มีการจัดการ (Management) การจัดการเพื่อให้การทางานกลุ่มเป็ นไปอย่าง
ราบรื่ นและมีประสิ ทธิภาพ
4. มีทกั ษะ (Skills) เป็ นทักษะทางสังคมรวมทั้งทักษะการสื่ อความหมาย การ
ช่วยสอนและการแก้ปัญหาความขัดแย้ง ซึ่งทักษะเหล่านี้จะช่วยให้สามารถ
ทางานอย่างมีประสิ ทธิภาพ
การเรียนรู้ แบบร่ วมมือ (Cooperative Learning and
Collaborative Learning)
5. มีหลักการสาคัญ 4 ประการ (Basic principles) เป็ นตัวบ่งชี้วา่ เป็ นการเรี ยนเป็ นกลุ่มหรื อ
การเรี ยนแบบร่ วมมือ การเรี ยนแบบร่ วมมือต้องมีหลักการ 4 ประการ ดังนี้
 การพึ่งพาอาศัยซึ่ งกันและกันเชิงบวก (Positive interdependence) การช่วยเหลือพึ่งพา
ซึ่งกันและกันเพื่อสู้ความสาเร็ จและตระหนักว่าความสาเร็ จของแต่ละคนคือ
ความสาเร็ จของกลุ่ม
 ความรับผิดชอบรายบุคคล (Individual accountability) ทุกคนในกลุ่มมีบทบาทหน้าที่
ความรับผิดชอบในการค้นคว้าทางาน สมาชิกทุกคนต้องเรี ยนรู้ในสิ่ งที่เรี ยน
เหมือนกันจึงถือว่าเป็ นความสาเร็ จของกลุ่ม
 ความเท่าเทียมกันในการมีส่วนร่ วม (Equal participation) ทุกคนต้องมีส่วนร่ วมในการ
ทางาน ซึ่งทาได้โดยกาหนดบทบาทของแต่ละคน
 การมีปฏิสมั พันธ์ไปพร้อม ๆ กัน (Simultaneous interaction) สมาชิกทุกคนจะทางาน
คิด อ่าน ฟัง ฯลฯ ไปพร้อม ๆ กัน
การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ (Cooperative Learning and
Collaborative Learning)
6. มีเทคนิคหรื อรู ปแบบการจัดกิจกรรม (Structures) รู ปแบบการจัด
กิจกรรมหรื อเทคนิคการเรี ยนแบบร่ วมมือเป็ นสิ่ งที่ใช้เป็ นคาสัง่ ให้ผเู ้ รี ยน
มีปฏิสมั พันธ์กนั เทคนิคต่าง ๆ จะต้องเลือกใช้ให้ตรงกับเป้ าหมายที่
ต้องการแต่ละเทคนิคนั้นออกแบบได้เหมาะกับเป้ าหมายที่ต่างกัน
เทคนิคที่ใช้ ในการเรียนแบบร่ วมมือ
 เทคนิคการเรี ยนแบบร่ วมมือมีอยู่ 2 แบบ
เทคนิ คที่ใช้ตลอดกิจกรรมการเรี ยนการสอนตลอดคาบเรี ยนหรื อ
ตั้งแต่ 1 คาบเรี ยนขึ้นไป
เทคนิ คที่ไม่ได้ใช้ตลอดกิจกรรมการเรี ยนการสอน โดยใช้ในขั้น ตอน
ใดขั้นตอนหนึ่งของกิจกรรมการเรี ยนรู ้ในแต่ละคาบ คือ ใช้ในขั้น
นาเข้าสู่บทเรี ยน ขั้นสอน โดยสอดแทรกในขั้นตอนใด ๆ ของการ
สอน ขั้นทบทวนหรื อขั้นวัดผลงานของคาบเรี ยนใดคาบเรี ยนหนึ่ง
โดยมีลกั ษณะที่สาคัญคือ เป็ นวิธีที่ใช้เวลาช่วงสั้นประมาณ 5-10 นาที
จนถึง 1 คาบเรี ยน
เทคนิคที่ใช้ ตลอดกิจกรรมการเรียนการสอน
 เทคนิคการแบ่งกลุ่มแบบกลุ่มสัมฤทธิ์ (Student Teams Achievement Divisions
หรื อ STAD)
จัดสมาชิกในกลุ่ม 4 คน ระดับสติปัญญาต่างกัน เช่น เก่ง 1 คน ปานกลาง 2 คน
และอ่อน 1 คน
ผูส้ อนกาหนดบทเรี ยนและการทางานของกลุ่มไว้แล้ว
ผูส้ อนทาการสอนบทเรี ยนให้ผเู ้ รี ยนทั้งชั้น
กลุ่มทางานตามที่กาหนด ผูเ้ รี ยนในกลุ่มช่วยเหลือกัน ผูเ้ รี ยนเก่งช่วยเหลือและ
ตรวจงานของเพื่อนให้ถกู ต้องก่อนนาส่ งผูส้ อน
ผูเ้ รี ยนต่างคนต่างทาข้อสอบแล้วนาคะแนนของทุกคนมารวมกันเป็ นคะแนน
ของกลุ่ม
ผูส้ อนจัดลาดับคะแนนของทุกกลุ่มปิ ดประกาศให้ทุกคนทราบ
เทคนิคที่ใช้ ตลอดกิจกรรมการเรียนการสอน
 เทคนิคการตรวจสอบเป็ นกลุ่ม (Group Investigation)
สมาชิกในกลุ่มมี 2-6 คน
แต่ละกลุ่มเลือกหัวเรื่ องที่ตอ้ งการศึกษาค้นคว้า
สมาชิกในกลุ่มแบ่งงานกันทั้งกลุ่ม มีการวางแผน การดาเนิ นงานตาม
แผน การวิเคราะห์และสังเคราะห์งานที่ทา
นาเสนอผลงาน หรื อรายงานต่อหน้าชั้น
ให้รางวัลหรื อคะแนนให้เป็ นกลุ่ม
เทคนิคที่ใช้ ตลอดกิจกรรมการเรียนการสอน
 เทคนิคจิกซอ (Jigsaw) เป็ นเทคนิคที่ใช้กบั บทเรี ยนที่หวั ข้อที่เรี ยน
แบ่งเป็ นหัวข้อย่อยได้
ผูส้ อนแบ่งหัวข้อที่จะเรี ยนเป็ นหัวข้อย่อย ๆ ให้เท่ากับจานวนสมาชิก
ของแต่ละกลุ่ม
จัดกลุ่มผูเ้ รี ยน โดยให้มีความสามารถคละกันภายในกลุ่ม เป็ นกลุ่ม
บ้าน (home group) สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มอ่านเฉพาะหัวข้อย่อยที่
ตนได้รับมอบหมายเท่านั้น โดยใช้เวลาตามที่ผสู ้ อนกาหนด
จากนั้นผูเ้ รี ยนที่อ่านหัวข้อย่อยเดียวกันมานัง่ ด้วยกัน เพื่อทางาน
ซักถาม และทากิจกรรม ซึ่งเรี ยกว่ากลุ่มเชี่ยวชาญ (expert group)
สมาชิกทุก ๆ คนร่ วมมือกันอภิปรายหรื อทางานอย่างเท่าเทียมกันโดย
ใช้เวลาตามที่ผสู ้ อนกาหนด
เทคนิคที่ใช้ ตลอดกิจกรรมการเรียนการสอน
ผูเ้ รี ยนแต่ละคนในกลุ่มผูเ้ ชี่ยวชาญ กลับมายังกลุ่มบ้าน (home group)
ของตน จากนั้นผลัดเปลี่ยนกันอธิบายให้เพื่อนสมาชิกในกลุ่มฟัง เริ่ มจาก
หัวข้อย่อย 1,2,3 และ 4 เป็ นต้น
ทาการทดสอบหัวข้อย่อย 1-4 กับผูเ้ รี ยนทั้ง ห้อง คะแนนของสมาชิกแต่
ละคนในกลุ่มรวมเป็ นคะแนนกลุ่ม กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุ ดจะได้รับการ
ติดประกาศ
เทคนิคที่ใช้ ตลอดกิจกรรมการเรียนการสอน
 เทคนิคการเรี ยนแบบร่ วมมือร่ วมกลุ่ม (Co-op Co-op)
ผูเ้ รี ยนช่วยกันอภิปรายหัวข้อที่จะศึกษาแบ่งหัวข้อใหญ่เป็ นหัวข้อย่อย
จัดผูเ้ รี ยนเข้ากลุ่มตามความสามารถที่แตกต่างกัน
กลุ่มเลือกหัวข้อที่จะศึกษาตามความสนใจของกลุ่ม
กลุ่มแบ่งหัวข้อย่อยเป็ นหัวข้อเล็ก เพื่อผูเ้ รี ยนแต่ละคนในกลุ่มเลือกไป
ศึกษาและมีการกาหนดบทบาทและหน้าที่ของแต่ละคนภายในกลุ่ม
ผูเ้ รี ยนศึกษาเรื่ องที่ตนเลือกและนาเสนอต่อกลุ่ม
กลุ่มรวบรวมหัวข้อต่าง ๆ จากผูเ้ รี ยนทุกคนในกลุ่ม
รายงานผลงานต่อชั้น
ประเมินผลงานของกลุ่ม
เทคนิคที่ไม่ ได้ ใช้ ตลอดกิจกรรมการเรียนการสอน
 เทคนิคคู่ตรวจสอบ (Pairs check : Kagan 1995 : 32-33)
ั ทางาน
สมาชิกในกลุ่มจับคู่กน
รับคาถามหรื อปั ญหาจากผูส้ อน
ผูเ้ รี ยนคนหนึ่งจะเป็ นคนทาและอีกคนหนึ่งทาหน้าที่เสนอแนะ
หลังจากที่ทาข้อที่ 1 เสร็ จ ผูเ้ รี ยนคู่น้ น
ั จะสลับหน้าที่กนั เ
เมื่อทาเสร็ จครบแต่ละ 2 ข้อ แต่ละคู่จะนาคาตอบมาแลกเปลี่ยนและ
ตรวจสอบคาตอบของคู่อื่น
เทคนิคที่ไม่ ได้ ใช้ ตลอดกิจกรรมการเรียนการสอน
 เทคนิคร่ วมกันคิด (Numbered heads together : Kagan 1995 : 28-29)
แบ่งนักเรี ยนเป็ นกลุ่มด้วยกลุ่มละ 4 คน ที่มีความสามารถคละกัน
แต่ละคนมีหมายเลขประจาตัว
ผูส้ อนถามคาถาม หรื อมอบหมายงานให้ทา
ผูเ้ รี ยนอภิปรายในกลุ่มย่อยจนมัน
่ ใจว่าสมาชิกในกลุ่มทุกคนเข้าใจ
คาตอบ
ผูส้ อนเรี ยกผูเ้ รี ยนตามหมายเลขประจาตัว หมายเลขที่ผสู ้ อนเรี ยกจะ
เป็ นผูต้ อบคาถามดังกล่าว (Kagan 1995 : 28-29)
เทคนิคที่ไม่ ได้ ใช้ ตลอดกิจกรรมการเรียนการสอน
 เทคนิคแบบมุมสนทนา (Corners : Kagan 1995 : 20-21)
ผูส้ อนเสนอปั ญหา และประกาศมุมต่าง ๆ ภายในห้องเรี ยนแทนแต่
ละข้อ
ผูเ้ รี ยนแต่ละกลุ่มย่อยเขียนหมายเลขข้อที่ชอบมากกว่า และเคลื่อนเข้า
สู่มุมที่เลือกไว้
ผูเ้ รี ยนร่ วมกันอภิปรายภายในกลุ่มตามมุมต่างๆ
ผูเ้ รี ยนในมุมใดมุมหนึ่งอภิปรายเรื่ องราวที่ได้ศึกษาให้เพื่อนในมุมอื่น
ฟัง
เทคนิคที่ไม่ ได้ ใช้ ตลอดกิจกรรมการเรียนการสอน
 เทคนิคการคิดเดี่ยว คิดคู่ ร่ วมกันคิด (Think - pair - share Kagan. 1995 :
46-47)
ผูส้ อนกาหนดปั ญหา
ผูเ้ รี ยนแต่ละคนคิดหาคาตอบด้วยตนเองก่อน
ผูเ้ รี ยนนาคาตอบไปอภิปรายกับเพื่อนที่เป็ นคู่
แต่ละคู่นาคาตอบมาอภิปรายพร้อมกัน 4 คน เมื่อมัน
่ ใจว่าคาตอบของ
ตนถูกต้องหรื อดีทีสุด จึงนาคาตอบเล่าให้เพื่อนทั้งชั้นฟัง
เทคนิคที่ไม่ได้ใช้ตลอดกิจกรรมการเรี ยนการสอน
 เทคนิคโครงงานเป็ นทีม (Team project : Kagan. 1995 : 42-43)
ผูส้ อนอธิ บายโครงงานให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจก่อน
กาหนดเวลา และกาหนดบทบาทที่เท่าเทียมกันของสมาชิกในกลุ่มและมี
การหมุนเวียนบทบาท
แจกอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้ผเู ้ รี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันทาโครงงานที่ได้รับ
มอบหมาย
นาเสนอโครงงานของแต่ละกลุ่ม
เทคนิคที่ไม่ ได้ ใช้ ตลอดกิจกรรมการเรียนการสอน
 เทคนิคแลกเปลี่ยนปั ญหา (Trade-a-problem : Kagan. 1995 : 59)
ผูเ้ รี ยนแต่ละคู่ต้ งั คาถามเกี่ยวกับหัวข้อที่เรี ยนและเขียนคาตอบเก็บไว้
ผูเ้ รี ยนแต่ละคู่แลกเปลี่ยนคาถามกับเพื่อนคู่อื่น
ผูเ้ รี ยนแต่ละคู่จะช่วยกันแก้ปัญหาจนเสร็ จ แล้วนามาเปรี ยบเทียบกับ
วิธีการแก้ปัญหาของเพื่อนเจ้าของปัญหานั้น
เทคนิคการใช้ Concept Mapping
 มโนทัศน์ หมายถึง ความคิด ความเข้าใจที่สรุ ปเกี่ยวกับการจัดกลุ่ม สิ่ งใดสิ่ ง
หนึ่ง หรื อ เรื่ องใด เรื่ องหนึ่งที่เกิดจากการสังเกต หรื อการได้รับประสบการณ์
เกี่ยวกับสิ่ งนั้น หรื อเรื่ องนั้น แล้วใช้คุณลักษณะหรื อคุณสมบัติที่มีลกั ษณะ
คล้ายคลึงกัน จัด เข้าเป็ นกลุ่มเดียวกัน ซึ่งจะทาให้เกิดความเข้าใจสิ่ งต่างๆได้
ง่ายขึ้น
 กรอบมโนทัศน์ หมายถึง แผนผังหรื อแผน ภาพ ที่แสดงความสัมพันธ์ของมโน
ทัศน์ เรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง อย่างมีระบบ และเป็ นลาดับขั้น โดยอาศัยคาหรื อ
ข้อความเป็ นตัวเชื่อมให้ความสัมพันธ์ ของมโนทัศน์ต่างๆเป็ นไปอย่างมี
ความหมาย ซึ่งอาจจะมีทิศทางเดียว สองทิศ ทาง หรื อมากกว่าก็ได้ กรอบมโน
ทัศน์ในบางครั้งอาจเรี ยกว่า “ แผนภาพโครงเรื่ อง”
เทคนิคการใช้ Concept Mapping
 การจัดการเรียนรู้ แบบจัดกรอบมโนทัศน์ เป็ น กระบวนการที่ให้ผเู ้ รี ยนนา
มโนทัศน์ในเนื้อหาสาระที่ได้เรี ยนรู ้มาจัด ระบบ จัดลาดับ และเชื่อมโยง
ความสัมพันธ์แต่ละมโนทัศน์ที่มีความเกี่ยวข้อง เข้าด้วยกัน ทาให้เกิดเป็ น
กรอบมโนทัศน์ข้ ึน
เทคนิคการใช้ Concept Mapping
รู ปแบบของกรอบมโนทัศน์
 Concept Map
 Mind Map
 Web Diagram
 Tree Structure
 Venn Diagram
 Descending Ladder
 Cycle Graph
 Flowchart Diagram
 Matrix Diagram
 Fishbone Map
 Interval Graph
 Order Graph
 Classification Map
ผังมโนทัศน์
แผนที่ความคิด
แผนผังใยแมงมุม
แผนภูมิโครงสร้างต้นไม้
แผนภูมิเวนน์
แผนภูมิข้นั บันได
แผนภาพวงจร
แผนผังการดาเนินงาน
แผนภาพแสดงความสัมพันธ์
แผนผังก้างปลา
แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของเหตุการณ์
แผนภาพแสดงลาดับเหตุการณ์
แผนผังแสดงความสัมพันธ์แบบจาแนกประเภท
ผังมโนทัศน์ (A Concept Map)
มโนทัศน์ ที่กว้างที่สดุ
มโนทัศน์ ที่กว้างรองลงมา
มโนทัศน์ ที่กว้างรองลงมา
มโนทัศน์ ที่เฉพาะเจาะจง
มโนทัศน์ ที่เฉพาะเจาะจง
มโนทัศน์ ที่เฉพาะเจาะจง
มโนทัศน์ ที่เฉพาะเจาะจง
หรือตัวอย่าง
หรือตัวอย่าง
หรือตัวอย่าง
หรือตัวอย่าง
การจัดการเรียนรู้ แบบจัดกรอบมโนทัศน์
บทบาทของผู้สอน
ตรวจสอบมโนทัศน์
พื้นฐานของผูเ้ รี ยนโดย
ใช้คาถาม
ทบทวนและให้ขอ้ มูล
เพิม่ เติม
ขั้นตอนการจัด
การเรียนรู้
บทบาทของผู้เรียน
ขั้นตรวจสอบมโนทัศน์ ตอบคาถาม
พื้นฐาน
ขั้นระบุและเสริ มมโน
ทัศน์พ้นื ฐานที่ผเู ้ รี ยน
ขาด
รวบรวมข้อมูลและตอบ
คาถาม
การจัดการเรียนรู้ แบบจัดกรอบมโนทัศน์
บทบาทของผู้สอน
อธิ บายความหมายของแต่
ละมโนทัศน์
ขั้นตอนการจัด
การเรียนรู้
ขั้นเรี ยนรู ้
ผูส้ อนเสนอกรอบมโนทัศน์ ขั้นสรุ ปด้วยกรอบมโนทัศน์
ใช้คาถามให้ผเู ้ รี ยนช่วยกัน
สรุ ป โดยผูส้ อนคอยสรุ ป
เพิ่มเติมในส่ วนที่บกพร่ อง
บทบาทของผู้เรียน
ศึกษาเนื้อหา/ระบุในมโน
ทัศน์ จัดลาดับมโนทัศน์
และเชื่อมโยงมโนทัศน์
เลือกกรอบมโนทัศน์
ตัวอย่าง นาเสนอ วิจารณ์
ให้คะแนน และสรุ ปเนื้อหา
ของกรอบมโนทัศน์
การจัดการเรียนรู้ แบบจัดกรอบมโนทัศน์
บทบาทของผู้สอน
ขั้นตอนการจัด
การเรียนรู้
จัดทาแบบฝึ กการเขียน ขั้นประเมินผล
ผังมโนทัศน์
ถามคาถามเพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจ
บทบาทของผู้เรียน
ทาแบบฝึ กและตอบ
คาถาม
เทคนิคหมวก 6 ใบ
 เทคนิคการคิดอย่างมีระบบ คิดอย่างมีโฟกัส มีการจาแนกความคิด
ออกเป็ นด้านๆ และคิดอย่างมีคุณภาพ เพื่อช่วยจัดระเบียบการคิด ทาให้
การคิดมีประสิ ทธิภาพมากขึ้น แนวคิดหลัก “การคิด” เป็ นทักษะช่วยดึง
เอาความรู ้และประสบการณ์ของผูค้ ิดมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดอย่าง
เหมาะสมกับสถานการณ์ทกั ษะความคิดจึงมีความสาคัญที่สุด (Edward
de Bono )
เทคนิคหมวก 6 ใบ
เปรี ยบเสมือนความเป็ นกลาง
หมายถึง การคิดแบบอิงอยูบ่ นพื้นฐานของข้อเท็จจริ ง
ข้อมูล และตัวเลข โดยไม่มีอคติ ไม่ลาเอียง
 ตัวอย่างของคาถาม เช่น
ได้ขอ้ เท็จจริ งอะไรบ้างเกี่ยวกับเรื่ องที่อ่าน
ได้ขอ้ มูลที่ตอ้ งการมาด้วยวิธีใด
สังเกตเห็นอะไรบ้างจากการทดลอง

เทคนิคหมวก 6 ใบ
เปรี ยบเสมือนไฟ ความโกรธ ความรู ้สึก
หมายถึง การคิดที่อยูบ่ นพื้นฐานของอารมณ์และ
ความรู ้สึก ลางสังหรณ์ สัญชาตญาณ ความประทับใจ สิ่ งที่ไม่ตอ้ งการข้อ
พิสูจน์ สิ่ งที่ไม่ตอ้ งเหตุหรื อผลหรื อหลักฐานมาอ้างอิง
 ตัวอย่างของคาถาม เช่น
เรารู ้สึกอย่างไร เมื่ออ่านบทความนี้ จบ
มีความพอใจกับผลงานที่ทาหรื อไม่
ผลงานใดที่ประทับใจมากที่สุด

เทคนิคหมวก 6 ใบ
เปรี ยบเสมือน ความมืดครึ้ ม การมองอย่างระมัดระวัง
สุ ขมุ รอบคอบ
หมายถึง การคิดที่อยูบ่ นพื้นฐานของข้อควรระวัง
ผลกระทบ การค้นหาข้อบกพร่ อง หาเหตุผลในการปฏิเสธ การสารวจ
ความเป็ นไปได้และตรวจสอบความเหมาะสม
 ตัวอย่างของคาถาม เช่น
เรื่ องนี้ มีจุดอ่อนตรงไหน
เรื่ องนี้ มีขอ้ ยุง่ ยากและปั ญหาตรงไหน
การทดลองครั้งนี้ มีผดิ พลาดอะไรบ้าง

เทคนิคหมวก 6 ใบ
เปรี ยบเสมือนความสว่างไสว การมองในด้านบวก
ความเป็ นไปได้
หมายถึง การคิดที่อยูบ่ นพื้นฐานของความรู ส้ ึ กที่ดี
เป็ นมุมมองในแง่บวก รวมถึงความหวัง การคาดการณ์ในเชิงบวก การ
มุ่งมองที่ประโยชน์โดยไม่มีแรงจูงใจ
 ตัวอย่างของคาถาม เช่น
ข้อดีของเรื่ องที่อ่านคืออะไร
การทดลองครั้งนี้ มีประโยชน์อย่างไร
ความคิดเห็นของทุกคนมีขอ้ ดีอย่างไรบ้าง

เทคนิคหมวก 6 ใบ
เปรี ยบเสมือนความเจริ ญเติบโต ความอุดมสมบูรณ์
หมายถึง การคิดที่อยูบ่ นพื้นฐานของความคิดริ เริ่ ม
การเปลี่ยนแปลง และแง่มุมใหม่ที่ต่างออกไปจากมุมมองเดิม ๆ
 ตัวอย่างของคาถาม เช่น
การแก้ไขปั ญหานี้ มีกี่แนวทาง
ถ้าจะทาให้สถานการณ์น้ ี ดีขอ้ จะต้องเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง
จะนาผลที่ได้รับไปใช้ในงานไหนได้บา้ ง

เทคนิคหมวก 6 ใบ
เปรี ยบเสมือนความเยือกเย็น ท้องฟ้ าอันกว้างใหญ่
อยูเ่ หนือทุกสิ่ งทุกอย่าง
หมายถึง การคิดที่อยูบ่ นพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการ
จัดระบบระเบียบการควบคุมสิ่ งต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความชัดเจนในความคิด
รวบยอด ข้อสรุ ป การมองเห็นภาพและการดาเนินการอย่างมีข้นั ตอน
 ตัวอย่างของคาถาม เช่น
มีการวางแผนในการทางานวิจยั อย่างไรบ้าง
มีข้ นั ตอนในการทดลองนี้ อย่างไร
มีขอ้ สรุ ปจากบความที่อ่านว่าอย่างไร

เทคนิคหมวก 6 ใบ
บทบาทผู้สอน
ขั้นตอนการจัดการ บทบาทผู้เรียน
เรียนแบบหมวก 6 ใบ
จัดกิจกรรมที่เน้น
ขั้นนาเข้าสู่บทเรี ยน
กระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนเกิด
ความสนใจที่จะเรี ยนรู ้
เชื่อมโยงประสบการณ์
เดิมเข้ากับประสบการณ์
ใหม่
เทคนิคหมวก 6 ใบ
บทบาทผู้สอน
ขั้นตอนการจัดการ บทบาทผู้เรียน
เรียนแบบหมวก 6 ใบ
จัดการเรี ยนรู้โดยการ
ขั้นดาเนินการสอน
กระตุน้ การคิดโดยใช้
แนวทางของหมวก 6 ใบ
สังเกตพฤติกรรมของผูเ้ รี ยน
และให้การเสริ มแรงหรื อ
ข้อเสนอแนะที่เหมาะสม
อย่างต่อเนื่อง
ฝึ กการคิดโดยการมใช้
หมวกความคิด 6 ใบ
แสดงความคิดและ
แสดงออกอย่ามีเหตุผล
เทคนิคหมวก 6 ใบ
บทบาทผู้สอน
ขั้นตอนการจัดการ บทบาทผู้เรียน
เรียนแบบหมวก 6 ใบ
เปิ ดโอกาสให้มีผเู้ รี ยนมีการ
แลกเปลี่ยน เรี ยนรู้และสรุ ป
สาระสาคัญ
ขั้นสรุ ป
ประเมินสิ่ งที่ผเู้ รี ยนเรี ยนรู้จาก ขั้นประเมินผล
การจัดกิจกรรม
สรุ ปความรู้ ภาพรวมของเรื่ อง
ที่เรี ยนสาระสาคัญของ
บทเรี ยน
แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ ร่ วมกัน
และสรุ ปข้อค้นพบหรื อ
สังเคราะห์เป็ นองค์ความรู้
ใหม่
ประเมินผลงานของตนเอง
หรื อเพื่อน
ขอบคุณค่ ะ