นวัตกรรม 3 - WordPress.com

Download Report

Transcript นวัตกรรม 3 - WordPress.com

เครือข่ าย คือ การเชื่อมโยงร้อยรัดเอาความ
พยายามและการดาเนิ นงานของฝ่ ายต่าง ๆ เข้า
ด้วยกันอย่างเป็ นระบบและอย่างเป็ นรู ปธรรม
เพื่อปฏิบตั ิภารกิจอย่างใดอย่างหนึ่ งร่ วมกันโดย
ที่แต่ละฝ่ ายยังคงปฏิบตั ิภารกิจหลักของตน
ต่อไปอย่างไม่สูญเสี ยเอกลักษณ์ และปรัชญา
ของตนเอง การเชื่อมโยงนี้อาจเป็ นรู ปของการ
รวมตัวกันแบบหลวมๆ เฉพาะกิจตามความ
จาเป็ น หรื ออาจอยูใ่ นรู ปของการจัดองค์กรที่
เป็ นโครงสร้างของความสัมพันธ์กนั อย่าง
ชัดเจน
ความหมายของกลุ่มและเครือข่ าย

กลุ่ม หมายถึง

บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปมารวมกัน
หรื อมาปรึ กษาหารื อกันในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง
เพื่อที่จะแก้ไขหรื อขจัดข้อขัดข้องในเรื่ องนั้นๆ
หรื อปั ญหานั้นๆ ให้หมดไป หรื อให้บรรลุถึง
วัตถุประสงค์ของตนเองที่มีจุดหมายเอาไว้
ขอบข่ายเนื้ อหา
 ความหมายของอินเทอร์เน็ต
 ระบบอินเทอร์เน็ตของประเทศไทย
 หน้ าที่และความสาคัญของอินเทอร์เน็ต
 การทางานของอินเทอร์เน็ต
 การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 โดเมนเนม (Domain name system :DNS)
 การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตความเร็วสูง
 การบริการบน อินเทอร์เน็ต
 เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษา
ความหมายของอินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
ระบบอินเทอร์เน็ตของประเทศไทย
โดเมนเนม
หน้ าที่และความสาคัญของอินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ ตความเร็วสูง
การทางานของอินเทอร์เน็ต
การบริการบน อินเทอร์เน็ต
“อินเทอร์เน็ ต” มาจากคาว่า International
Network เป็ นเครือข่ายของการสื่อสารข้อมูลขนาด
ใหญ่ อัน ประกอบด้ ว ยเครื อ ข่ า ยคอมพิ วเตอร์
จานวนมาก เชื่อมโยงแหล่งข้อมูลจากองค์กรต่างๆ
ทั ่ว โ ล ก เ ข้ า ด้ ว ย กั น ค า ว่ า “เ ค รื อ ข่ า ย ”
1. การที่มีคอมพิวเตอร์ตงั ้ แต่ 2 เครื่องขึน้ ไป เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน
ด้วยสายเคเบิล (ทางตรง) และหรือสายโทรศัพท์ (ทางอ้อม)
2. มีผใู้ ช้คอมพิวเตอร์
3. มีการถ่ายเทข้อมูลระหว่าง
รูปที่ 1 ลักษณะเครือข่ายของระบบอินเทอร์เน็ต
อิ น เทอร์ เน็ ต ถื อ เป็ นระบบเครื อ ข่ า ยคอมพิว เตอร์
สากลที่เชื่ อมต่ อเข้ าด้ วยกัน ภายใต้ มาตรฐานการสื่ อสาร
เดี ย วกั น เพื่ อ ใช้ เป็ นเครื่ องมื อ สื่ อสารและสื บ ค้ น
สารสนเทศจากเครือข่ ายต่ างๆ ทั่วโลก ดังนั้น อินเทอร์ เน็ต
จึงเป็ นแหล่ งรวมสารสนเทศจากทุกมุมโลก ทุกสาขาวิชา
ทุ ก ด้ า น ทั้ ง บั น เทิ ง และวิ ช าการ ตลอดจนการประกอบ
ธุรกิจต่ างๆ
การสื่อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์จะมีโปรโตคอล (Protocol)
ซึ่งเป็ นระเบียบวิธีการสื่อสารที่เป็ นมาตรฐานของการเชื่อมต่อ
กาหนดไว้ โปรโตคอลที่ เ ป็ นมาตรฐานสาหรับ การเชื่ อมต่ อ
อิ น เทอร์เ น็ ต คื อ TCP/IP
(Transmission
Control
Protocol/Internet Protocol)
การเชื่อมกันด้วยโปรโตคอล TCP/IP
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
TCP/CP
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Server ของ ISP
สายโทรศัพท์
เป็ นสัญญาณAnalog
โมเด็มของ ISP
โมเด็มของผูใ้ ช้
เครื่องคอมพิ วเตอร์ของผูใ้ ช้ เป็ นสัญญาณ digital
โมเด็มภายนอก (External Modem)
โมเด็มภายใน (Internal Modem)
โมเด็มสาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์โน้ ตบุก๊
เรียกสัน้ ๆ ว่า PCMCIA modem


client
client


server
printer

client
หมายถึง ชื่อที่ใช้แทน IP Address ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เพราะหมายเลขไอพีแอดเดรส ประกอบด้วยตัวเลข 4 กลุ่ม
คล้าย ๆ กันทาให้ยากแก่การจา มีการตัง้ เป็ นโดเมนเนม 4 ส่วน
เช่นกัน ตัวอย่าง http://www.yahoo.com
ac สถาบันการศึกษา (academic)
coองค์กรธุรกิจการค้า (commercial)
or องค์กรอื่น ๆที่ไม่หวังผลกาไร (organization)
goองค์กรรัฐบาล (government)
mi หน่ วยงานทางทหาร (military
ne กลุ่มองค์กรบริการเครือข่าย (network service)
เวิลด์ไวด์เว็บ หรือเครือข่ายใยแมงมุม เหตุที่เรียกชื่อนี้ เพราะว่า
เป็ นลักษณะของการเชื่อมโยงข้อมูล จากที่หนึ่ งไปยังอีกที่หนึ่ ง
เรื่อยๆ เวิลด์ไวด์เว็บ เป็ นบริการที่ได้รบั ความนิยมมากที่สดุ
การติดต่ อสื่ อสารโดยใช้ อีเมลสามารถทา
ได้โดยสะดวก และประหยัดเวลา หลักการ
ทางานของอีเมลก็คล้ายกับการส่งจดหมาย
ธรรมดา นั ้ น คื อ จะต้ อ งมี ที่ อ ยู่ ที่ ระบุ
ชั ด เจน ก็ คื อ อี เม ลแอดเดรส (E-mail
address)
1.ชื่อผูใ้ ช้ (User name)
2.ชื่อโดเมน Username@domain_name
เป็ นบริการที่ เกี่ ยวข้องกับการโอนย้าย
ไ ฟ ล์ ผ่ า น ร ะ บ บ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ก า ร
โอนย้ายไฟล์สามารถแบ่งได้ดงั นี้ คือ
1. การดาวน์ โหลดไฟล์(Download File )
2. การอัพโหลดไฟล์ (Upload File)
ห้ องสนทนา คือ การสนทนาออนไลน์ อีกประเภท
หนึ่ ง ที่มีการส่ งข้ อความสัน้ ๆ ถึงกัน การเข้ าไป
สนทนาจาเป็ นต้ องเข้ าไปในเว็บไซต์ ที่ให้ บ ริ การ
ห้ อ ง ส น ท น า เ ช่ น www. sanook. com
www.pantip.com
เครือข่ายทางการศึกษา หลายๆ คนสงสัยว่าการเรียนผ่านสื่ อ
Online จะแตกต่างจากการเรียนในห้องเรียน ยังคงมีอาจารย์
ผู้สอน มีเพื่อนร่วมชัน้ มีการพูดคุย ทากิจกรรมร่วมกันระหว่าง
ผู้เรียน ถามตอบปั ญหากับผู้สอนหรือไม่ มีการบ้านต้ องส่ ง มี
การสอบหรือเปล่า การเรียนผ่านสื่อ online ยังคงมีองค์ประกอบ
เหมือนการเรียนในชัน้ เรียน เช่น อาจารย์ เพื่อนร่วมชัน้ และการ
มีกิจกรรมการรียน รวมทัง้ การวัดและประเมินผลผู้เรียน(คลัง
ข้อสอบ) เพื่อประเมินความรู้ เพี ย งแต่ ว่า รูปแบบ และวิธีการ
เปลี่ ยนไป กล่าวคือ ผู้เรียนและผู้สอนไม่ต้องเดินทางมาอยู่ ณ
สถานที่ เดียวกัน ในเวลาที่ เดียวกัน โดยผู้เรียนสามารถจัดเวลา
ในการเรียนตามเวลาที่สะดวก
 ที่ทาการศึกษาได้แบ่งตามสาขาความสนใจของแต่ละคนไว้ 4 วิชา เพื่อ
ตอบสนองต่อการนาข้อมูลการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ICT ในการเรียนการสอน
โดยได้แบ่งวิชาตามความสนใจในการศึกษา ดังนี้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ฟิสิกส์ และพระพุทธศาสนา โดยได้จาแนกเป็ น ประเด็นของการศึกษา คือ การ
ประยุกต์ทางหลักสูตร และ การประยุกต์ทางการเรียนการ สอน ดังนี้
 วิชาคณิตศาสตร์ ตัวอย่าง ได้แก่
http://www.bbc.co.uk/education/mathsfile/teachers.html
http://www.mdk12.org/instruction/curriculum/hsa/algebra/perf_tasks.ht
http://www.mdk12.org/instruction/curriculum/hsa/algebra/goal_three/lesson1.h
tml
 วิชาวิทยาศาสตร์ ตัวอย่าง ได้แก่
คู่มือการประเมินผล
http://www.mdk12.org/share/pdf/TACM.pdf
นักวิทยาศาสตร์ที่น่าสนใจ
http://www.bbc.co.uk/wales/scifiles/flashbacks/index.html
 วิชาฟิสิกส์ ตัวอย่าง ได้แก่
http://www.edu.gov.mb.ca/k12/tech/imym/index.html
http://www.mdk12.org/instruction/curriculum/science/5emodel.html
http://www.mdk12.org/instruction/curriculum/hsa/physics/hsa_rubric.html
http://www.mdk12.org/instruction/curriculum/science/design_sci_model.html
 วิชาพระพุทธศาสนา ตัวอย่าง ได้แก่
http://www.dhammathai.org/thailand/thailand.php
 ปัจจุบนั Blog ได้เข้ามามีบทบาทในการสื่อสารที่
ส าคัญ ในโลกไซเบอร์ที่ ไ ด้ ร ับ ความนิ ยมมาก
เพราะมันเป็ นสื่อ Interactive เมื่อผู้อ่านอ่าน
อะไรอยู่ แล้วอยากรู้รายละเอียดมากขึ้น ผู้อ่าน
ก็สามารถ click ไปยัง website อื่นที่เกี่ยวข้องดู
ว่าคนอื่นเขียนอะไรอย่างไร เช่น click เข้าไปใน
website http://kmblogs.com/public ก็จะพบ
เรื่ อ งราวต่ า งๆมากมาย แม้ แ ต่ บิ ล เกตต์ ยัง
กล่าวถึง blog ว่า “ ในอนาคต การสื่อสารภายใน
องค์กรจะใช้ blog เป็ นเครื่องมือสื่อสารที่ สาคัญ”
นั ก บริ ห ารที่ มี ชื่ อ เสี ย งจะมี blog
ไว้ แ สดง
ความก้าวหน้ าในการพัฒนางานของตนเอง เมื่อ
นา blog ของทุกคนมารวมกัน จะเป็ นชุม ชน
ปฏิบตั ิ (Community of Practices) ที่ใหญ่มากใน
โลกไซเบอร์
KM is all about
communities
รูปต้นกาเนิด Webblog
อินเทอร์เน็ตเป็ นระบบอิสระ ไม่มีเจ้าของ ทาให้การควบคุมกระทาได้ยาก
มีข้อมูลที่มีผลเสียเผยแพร่อยู่ปริมาณมาก
ไม่มีระบบจัดการข้อมูลที่ดี ทาให้การค้นหากระทาได้ไม่ดีเท่าที่ควร
เติบโตเร็วเกินไป
ข้อมูลบางอย่างอาจไม่จริง ต้องดูให้ดีเสียก่อน อาจถูกหลอกลวงกลันแกล้
่
ง
จากเพื่อนใหม่
ถ้าเล่นอินเทอร์เน็ตมากเกินไปอาจเสียการเรียนได้
ข้อมูลบางอย่างก็ไม่เหมาะกับเด็กๆ
ขณะที่ใช้อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์จะใช้งานไม่ได้ (ระบบ dial modem)
 สาหรับการใช้ blog ในการจัดการ
ความรู้ในองค์การ ในประเทศไทย เห็น
จะมี แต่ blog ของ สคส. เท่ านั น้ ที่ ให้
ความรู้เกี่ ยวกับการจัดการความรู้ และ
การใช้ blog สาหรับในต่างประเทศนิยม
ใช้ blog กันมากกว่าคนไทย เพราะหา
เท่ า ไร ก็เจอแต่ blog
ของต่ า งชาติ
เกี่ ยวกับ การจัดการความรู้ จานวน 20
blog ที่สามารถค้นหาได้ blog
http://blog-for-thai-km.blogspot.com/
 ห้องสมุดขนาดใหญ่
 คลังความรู้ขนาดมโหฬาร ทุกสาขา ทุกระดับ ทุกภาษา
 ส่งการบ้าน (นักเรียน, นักศึกษา)
 สังการบ้
่
าน (ครู)
 ทดสอบความรู้
 ฝึ กฝนตนเอง
 เรียนนอกเวลา ทุกเวลาที่ต้องการ ทุกที่ที่พอใจ
 เรียนภาษาฟรี
 สมัครสอบ (ไม่เหนื่ อยกับการเดินทาง)
 สมัครเรียน
 ลงทะเบียนเรียน
 E-Book, E-Learning
อิ น เทอร์เ น็ ต มี ค วามส าคัญ ในรูป แบบต่ า งๆเช่ น การประยุก ต์ ใช้
เทคโนโลยี ส ารสนเทศที่ ทั น สมั ย ในกระบวนการเรี ย นการสอนการ
ติดต่ อสื่ อสารที่ สะดวกและรวดเร็ว และเป็ นแหล่งข้อมูลการค้นคว้าที่ สุดของ
โลก รวมทัง้ ช่ วยในการบริหารจัดการ การตัดสินใจ และทัง้ ระดับบุคคล และ
องค์กรให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึน้
อินเตอร์เน็ ตเป็ นการให้ บริการที่ มีประโยชน์ อย่างมหาศาล ซึ่ งถ้า
เราใช้ งานให้ เกิดประโยชน์ มันก็จะมี ประโยชน์ อย่างหาค่ามิได้ แต่ ถ้าเราใช้
ในทางที่ ผิ ด ก็ จ ะให้ โ ทษกับ เราอย่ า งรุ น แรงได้ เ ช่ น กัน ดัง นั ้น การใช้ ง าน
อินเตอร์เน็ตนัน้ เราต้องใช้ในทางที่ถกู ต้อง ไม่ควรใช้
เทคโนโลยีเพื่อทาร้ายใคร
องค์ ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ระบบคอมพิวเตอร์
 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
หมายถึงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการ
บันทึก จัดเก็บ ประมวลผล และค้นคืน
สารสนเทศ
แบ่งออกเป็ น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ
- ฮาร์ดแวร์
- ซอฟต์แวร์
ฮาร์ ดแวร์ (Hardware)
\
เป็ นอุปกรณ์ ชิ้นส่วนต่างๆของคอมพิวเตอร์
- อุปกรณ์รบั ข้อมูล (Input device)
- หน่ วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit)
- หน่ วยความจาหลัก (Main memory)
-หน่ วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary storage)
- อุปกรณ์ที่แสดงผล (Output device)

เป็ นการศึ กษาในภาพรวมทั้งหมดซึ่ งครอบคลุมทั้งการศึ กษาในระบบการศึกษา
นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
เป็ นการศึ กษาที่จัดให้ แก่ บุคคลทุกช่ วงอายุต้ังแต่ เกิดจนตายโดยในแต่ ละช่ วงชี วิต
บุคคลอาจได้ รับการศึกษารู ปแบบใดรู ปแบบหนึ่งหรือหลายรู ปแบบผสมผสานกัน
เป็ นการศึกษาที่สัมพันธ์ กับวิถีการดาเนินชี วิตของบุคคล สั มพันธ์ กบั ปัจจัยต่ างๆ ที่
เกี่ย วข้ องกับ การด าเนิ น ชี วิตทั้งด้ านสั ง คม สิ่ งแวดล้ อ ม ศาสนา เศรษฐกิจ และ
การเมือง
ทั้งนี้ เพื่อมุ่ งพัฒนาบุ คคลอย่ างเต็มศั กยภาพให้ มีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
อย่ างเพียงพอต่ อการดารงชี วิต การประกอบอาชี พและการปรั บตัวเข้ ากับสภาพ
สั งคมสิ่ งแวดล้ อมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปได้ อย่ างเหมาะสมในทุกช่ วงชีวิต
ความเปลีย่ นแปลงของสั งคมโลกในภาพรวม
ความเปลีย่ นแปลงด้ านเศรษฐกิจ
ความเปลีย่ นแปลงด้ านสั งคม
ความเปลีย่ นแปลงค้ านการเมืองการปกครอง
ความเจริญก้ าวหน้ าทางวิทยาการและเทคโนโลยี
การเปลีย่ นแปลงโครงสร้ างประชากร
ข้ อจากัดของระบบการศึกษาเดิม
พัฒนาการรอบด้ านของชี วิต มีองค์ ประกอบ ปั จจัย และกระบวนการที่
หลากหลาย มีพลังขับเคลื่อนเชื่ อมโยงสั มพันธ์ กันอย่ างผสมกลมกลืนได้
สั ดส่ วน สมดุลกัน เกิดความสมบูรณ์ ของชี วิตและสั งคม ซึ่งมีความหมาย
ครอบคลุมถึงขั้นตอนต่ อไปนี้



การรับรู้ (Reception)
การเข้ าใจ (Comprehension)
การปรับเปลีย่ น (Transformation)
เกิดจากกระบวนการที่สร้างความเข้าใจ การให้ความหมายกับสิ่งที่รับรู้
ตั้งอยูบ่ นพื้นฐานของสิ่ งที่รู้อยูก่ ่อนแล้วและจะมีกระบวนการเชื่อมโยง
ระหว่างความรู้เก่ากับความรู้ใหม่
ผูเ้ รี ยนสามารถกาหนดขั้นตอนการเรี ยน และวิธีการเรี ยนรูด้ ว้ ยตนเอง
ผูเ้ รี ยนมีความชัดเจนในเป้ าหมายหรื อวัตถุประสงค์ของการเรี ยน และ
เป้ าหมายของการเรี ยนนั้นมีความหมายกับตัวผูเ้ รี ยน
มีการเชื่อมโยงระหว่างสิ่ งที่เรี ยนกับชีวติ จริ ง
พระราชบัญญัติการศึ กษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542
มาตราที่ 25
กาหนดให้ รัฐมีหน้ าที่ ส่ งเสริ มการดาเนิ นงานการจัดตั้ งแหล่ งการ
เรี ยนรู้ ตลอดชีวิตให้ ทั่วถึง และพอเพียง โดยนัยของมาตรา ดังกล่ าว
ต้ องการให้ สังคมไทยมีโครงสร้ างพืน้ ฐานที่เกือ้ หนุ นต่ อการเรี ยนรู้
ของบุคคล ในรู ปของแหล่ งการเรี ยนรู้ ที่บุคคลสามารถจะเรี ยนรู้ ได้
อย่ างหลากหลายกว้ างขวาง และมีมากพอเพียงที่จะช่ วยให้ เกิด การ
เรี ยนรู้ ขึน้ ได้ ไม่ ว่าการเรี ยนรู้ น้ันเป็ นการเรี ยนรู้ ที่เกิดจากการศึกษา
ในรู ปแบบใด ๆ แต่ ต้องมีแหล่งที่จะช่ วยให้ เกิดการเรียนรู้ได้ มากกว่ าในขอบเขต
ของโรงเรียน
( ต่ อ )
ซึ่งในมาตรา 25 แห่ งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ ได้ กล่ าวถึง
แหล่ ง การเรี ย นรู้ ตลอดชี วิ ต ในรู ป แบบต่ า ง ๆ ได้ แ ก่ ห้ อ งสมุ ด
ประชาชน พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ หอศิ ล ป์ สวนสั ต ว์ สวนสาธารณะ สวน
พฤกษศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ศู นย์ การกีฬาและ
นั น ทนาการ แหล่ ง ข้ อ มู ล และแหล่ ง การเรี ย นรู้ อย่ า งอื่ น ซึ่ ง เมื่ อ
พิจ ารณาดู แ ล้ ว จะเห็ น ถึ ง ความหลากหลายของแหล่ ง การเรี ย นรู้
เหล่ านี้ ซึ่งแท้ ที่จริงอยู่รอบ ๆ ตัวเรา
แหล่ ง การเรี ยนรู้ จึง เป็ นสิ่ ง ที่ จ าเป็ นและสาคัญ สาหรั บการจัดการ
เรียนการสอน โดยอาจแบ่ งได้ เป็ น 2 ประเภท คือแหล่ งความรู้ ที่เป็ น
บุคคล และแหล่ งความรู้ ที่เป็ นสถานที่
 การเรี ยน การสอนในลักษณะ หรื อรู ปแบบใดก็ได้ ซึ่ งการถ่ ายทอด
เนื้อหานั้น กระทาผ่ านทางสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ เช่ น ซี ดีรอม เครื อข่ าย
อินเทอร์ เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรื อ ทางสั ญญาณโทรทัศน์
หรื อ สั ญญาณดาวเทียม (Satellite)
ฯลฯ เป็ นต้ น ซึ่ งการเรี ยน
ลัก ษณะนี้ไ ด้ มี ก ารน าเข้ า สู่ ตลาดเมื อ งไทยในระยะหนึ่ ง แล้ ว เช่ น
คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนด้ วยซี ดีรอม,
การเรี ยนการสอนบนเว็บ
(Web-Based Learning), การเรียนออนไลน์ (On-line Learning)
การเรี ย นทางไกลผ่ า นดาวเที ย ม หรื อ การเรี ย นด้ ว ยวี ดี โ อผ่ า น
ออนไลน์ เป็ นต้ น
หนังสื อหรื อเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ที่อ่านสามารถ อ่ านผ่ านทาง
อินเตอร์ เน็ ต หรื ออุป กรณ์ อิเล็กทรอนิ กส์ พกพาอื่น ๆ ได้ หนั งสื อ
หรื อ เอกสารอิเล็กทรอนิ กส์ จะมีความหมายรวมถึ งเนื้อ หา ที่ ถู ก
ดัดแปลง อยู่ในรู ปแบบที่สามารถแสดงผลออกมาได้ โดยเครื่ องมือ
อิเล็กทรอนิกส์ มีลักษณะการ นาเสนอ สอดคล้ อง และคล้ ายคลึงกับ
การอ่ านหนังสื อทั่วไปในชี วิตประจาวัน แต่ จะมี ลักษณะพิเศษ คือ
สะดวกและรวดเร็ ว ในการค้ นหา และผู้อ่าน สามารถอ่ าน พร้ อม ๆ
กันได้ โดยไม่ ต้องรอให้ อกี ฝ่ ายส่ งคืนห้ องสมุด เช่ นเดียวกับหนังสื อใน
ห้ องสมุดทั่วไป
หรือ Virtual Education หรือ หลักในการดาเนินงาน เพือ่ ให้ ผู้เรียน
สามารถเรียนที่ใดก็ได้ (any where) เมื่อใด Online Teaching and
Learning
คือรู ปแบบการจัดการศึ กษาอีกรู ปแบบหนึ่งที่อาศั ย
เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นเครื่องมือก็ได้ (any time) ซึ่ งเป็ นอีก
รู ปแบบหนึ่งของการเรียนการสอนทางไกล โดยที่ Online Teaching
and Learning จะเน้ นระบบและกลไกในการดาเนินงานแบบ
ออนไลน์
คื อ เอกสารประกอบการเรี ย นการสอนที่ เ ป็ นสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์
สาหรั บการเรี ยนการสอนออนไลน์ ซึ่ งในปั จจุบันนิยมทาในรู ปของ
เอกสารเว็บ
 Courseware ที่ดีจะต้ องได้ รับการออกแบบเพือ่ ให้ ผู้เรียนสามารถ
เรียนรู้ ได้ ด้วยตนเอง โดยเน้ นที่องค์ ความรู้ จากห้ องสมุดเสมือนบน
เครือข่ ายอินเทอร์ เน็ตซึ่งสามารถจะเข้ าถึงได้ ทันที
มีการแบ่ งเนื้อหาออกเป็ นบทเรียน มีการทดสอบเพื่อประเมินว่ า
ผู้ เรี ยนเกิด การเรี ยนรู้ ในระดับ ใด มีก ารออกแบบให้ มีปฏิสัมพันธ์
ระหว่ างผู้เรียนกับเนือ้ หาวิชา ผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้สอน โดย
ใช้ การสื่ อสารผ่ านเครือข่ าย
คื อ มหาวิ ท ยาลั ย ที่ มี ก ารเปิ ดการเรี ย นการสอนทางไกล โดย
กิจกรรมหลักที่เกีย่ วข้ องกับการดาเนินการจัดการเรีย นการสอนจะ
ใช้ ระบบออนไลน์ เป็ นหลัก ซึ่ งก็เป็ นอีกรู ปแบบหนึ่งของ
eCommerce
ทางการศึ กษา การจัดการศึ กษาแบบ Virtual
University นีอ้ าจจะดาเนินการโดยใช้ บุคลากรของมหาวิทยาลัย
ต่ าง ๆ ที่อยู่คนละแห่ งมาร่ วมมือกันได้ เป็ นเครือข่ าย
เป็ นรู ปแบบหนึ่งของการศึ กษาทางไกล ซึ่ งคนส่ วนใหญ่ จะ คุ้นเคย
กับการเรียนทางไกลกับมสธ
( มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช )
รู ปแบบการเรี ยนนั้นผู้เรี ยนเป็ นผู้กาหนดตารางและระเบียบวินัยใน
การเรียนด้ วยตนเอง โดยศึกษาจากเอกสารชุ ดวิชา ที่มหาวิทยาลัย
จัดทาขึน้ เป็ นสื่ อหลัก โดยในแต่ ละรายวิชาจะมีตารางเวลารายการสื่ อ
วิทยุ หรือสื่ อโทรทัศน์ ประกอบชุดวิชา
การประเมินผลวิชา จะดาเนินการเพียงครั้งเดียวคือ สอบปลายภาค
หากนักศึกษาสอบไม่ ผ่านสามารถที่จะสอบซ่ อมได้ 1 ครั้ง ข้ อสอบ
ส่ วนใหญ่ จะเป็ นข้ อสอบปรนัยแบบเลือกตอบ
การเรี ยนรู้ ในระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ ประกอบกิจ กรรมทางการศึ กษาของ
มนุ ษ ย์ ทั้ง ในระดับประถมศึ ก ษา มัธ ยมศึ กษา อุ ด มศึ กษา และการศึ ก ษา
ผู้ใหญ่ โดยมีองค์ ประกอบสาคัญคือ อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ โปรแกรมที่ใช้ ควบคุม
ระบบ การทางาน และเครื อข่ ายการสื่ อสาร การศึ กษาในเครื อข่ ายการเรี ยนรู้
นับเป็ นการศึกษาแบบอะซิงโครนัส (Asynchronous Learning) เป็ นการเรียนการ
สอนที่ ไม่ จากัดเวลา สถานที่ และบุคคล ซึ่งผู้เรียนสามารถเรียนเวลาใด สถานที่
ใด กับบุคคลใดก็ได้ โดยมีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ ามาใช้ ในการเชื่อมโยงเข้ า
สู่ ระบบเครือข่ ายภายในสถานศึกษา และเชื่อมต่ อไปสู่ ระบบอินเทอร์ เน็ต
1. LAN : Local Area Network ( ระบบเครือข่ ายแบบใกล้ )
นิยมใช้ กนั มี 2 รู ปแบบดังนี้
 แบบอีเทอร์ เน็ต
 มีการรับส่ งข้ อมูลด้ วยความเร็ว 10-100 Mbps. การรับส่ งต้ องมีการ
จัดการไม่ ให้ รับส่ งพร้ อมกันเกินกว่ าหนึ่งคู่ ขบวนการรั บส่ งข้ อมูล
จึงถูกกาหนดขึน้ โดยให้ อุปกรณ์ ที่จะส่ งข้ อมูลตรวจสอบว่ ามีข้อมูล
ใดวิ่งอยู่บนสายหรื อไม่ หากไม่ มีจึงส่ งได้ และถ้ ามีการชนกันของ
ข้ อมูลบนสายก็จะส่ งใหม่ การหลีกเลี่ยงการชนกันจึงกระทาได้ ใน
เครือข่ ายระยะใกล้
ประเภทของเครื อข่าย ( ต่อ )
 แบบโทเก็นริง
มีความเร็ว 16 Mbps. เชื่อมต่ อกันเป็ นวงแหวนโดยแพ็กเก็ต
ข้ อมูลจะวิง่ วนในทิศทางใดทางหนึ่ง ถ้ ามีแอดเดรสปลายทางเป็ นของ
ใคร อุปกรณ์ น้ันจะรับข้ อมูลไป การจัดการรับส่ งข้ อมูลในวงแหวนจึง
เป็ นไปอย่ างมีระเบียบ
2. WAN : Wide Area Network ( ระบบเครือข่ ายระยะไกล )
 เป็ นเครื อข่ ายเชื่ อมโยงกันในระยะทางที่ห่างไกล อาจจะเป็ น
หลาย ๆ กิโลเมตร ดังนั้นความเร็ วในการเชื่ อมโยงระหว่ างกัน
อาจไม่ สูงมากนัก ขึน้ อยู่กบั แอพพลิเคชั่นและขนาดของข้ อมูล
 เครื อข่ าย WAN จึงเป็ นเครื อข่ ายเชื่ อมโยงระหว่ างองค์ กร
ระหว่ างเมือง หรื อระหว่ างประเทศ และเพื่อให้ การใช้ งานมี
ประสิ ท ธิ ภ าพจึ ง มี อ งค์ ก รกลางหรื อ ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารเครื อ ข่ า ย
สาธารณะเข้ า มาช่ วยจั ด การเพื่ อ ประหยั ด ค่ า ใช้ จ่ า ย เช่ น
เครือข่ ายสาธารณะที่ใช้ ร่วมกันของทศท. และกสท. หรือ
เครือข่ ายบริการ เช่ น ดาต้ าเนต เป็ นต้ น
3. INTERNET ( เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ทมี่ ีขนาดใหญ่ มาก )
เกิดจากการเชื่ อมต่ อเครื่ องคอมพิวเตอร์ จานวนมากมายในโลกเข้ า
ด้ วยกัน ไม่ ว่าจะเป็ นเครือข่ ายแบบใกล้ เครือข่ ายระยะไกล หรือระบบ
เครื อ ข่ า ยขนาดใหญ่ ซึ่ ง แต่ ล ะเครื อ ข่ า ยก็จ ะมี เ ครื่ อ งแม่ ข่ า ย หรื อ
โฮสต์ (Host)
สามารถเข้ าถึงได้ กว้ างขวาง ง่ าย สะดวก
เป็ นการเรียนร่ วมกันและทางานร่ วมกันเป็ นกลุ่ม
สร้ างกิจกรรมการเรี ยนรู้ โดยเน้ นให้ ผู้เรี ยนเป็ น
ผู้กระทามากกว่ าเป็ นผู้ถูกกระทา
จัดให้ เครื อข่ ายการเรี ยนรู้ เป็ นเสมือนชุ มชนของ
การเรียนรู้ แบบออนไลน์
เมือ่ นาระบบเครือข่ ายการเรียนรู้ เข้ ามาใช้ กบั ระบบการศึกษา ทาให้ เกิดความ
เปลีย่ นแปลงขึน้ อย่างมากมายใน วงการศึกษา ดังนี้
รูปแบบการเรียนการสอน
บทบาทของผู้สอน
บทบาทของผู้เรียน
บทบาทของการเรียนการสอน
ห้ องเรียน สาหรับผู้สอน
ศูนย์ เครื่องคอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียน
ฐานบริการข้ อมูลการเรียน
Student Homepage
เครือข่ ายไทยสาร
เครือข่ ายยูนิเน็ต
สคูลเน็ต
เครือข่ ายนนทรี
เครือข่ ายกระจายเสี ยงวิทยุ อสมท
การนาระบบเครือข่ ายการเรียนรู้ มาใช้ เป็ นการเปลีย่ นแปลงระบบการ
เรี ยนการสอน จากระบบเดิม ที่จากัดอยู่ เฉพาะภายใน สถานศึ กษา
ไปสู่ ระบบทีเ่ น้ นความสั มพันธ์ ระหว่ างผู้สอนกับผู้เรียน ด้ วยระบบการ
สื่ อสารโทรคมนาคม และเทคโนโลยีสารสนเทศ ใหม่ ๆ ดังนั้น รู ปแบบ
เครือข่ ายการเรียนรู้ ในอนาคต จะมีลกั ษณะเป็ นรู ปแบบการศึกษาแบบ
ใหม่ ที่สนองความต้ องการ และให้ อานาจแก่ ผู้สอนและผู้เรี ยนในการ
เลือกลักษณะการเรียนรู้ ด้วยตัวเองตามความพร้ อม และความสะดวก
ในการเรี ย น ซึ่ ง ถื อ เป็ นการสร้ างพื้น ฐาน การเปลี่ย นแปลงระบบ
การศึกษาทั้งในด้ านรู ปแบบ ขั้นตอนการเรียนการสอนและการปฏิบัติ