ไฟล์การบรรยาย เรื่อง ความเสี่ยงของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า สายพันธุ์ใหม่ 2012

Download Report

Transcript ไฟล์การบรรยาย เรื่อง ความเสี่ยงของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า สายพันธุ์ใหม่ 2012

ความเสี่ยงของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรน่ า สายพันธุใ์ หม่ 2012
และบทบาทของหน่ วยงานต่างๆ
แพทย์หญิงวรยา เหลืองอ่อน
ผูอ้ านวยการสานักโรคติดต่ออุบตั ิ ใหม่ กรมควบคุมโรค
กระทรวงสาธารณสุข
1
1
สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่ า สายพันธุใ์ หม่ 2012
และการเตรียมความพร้อมรับมือของประเทศไทย
ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก ณ วันที่ 14 ตุลาคม 2556
พบผูป้ ่ วยยืนยันทัง้ สิ้น 138 ราย เสียชีวิต 60 ราย (อัตราป่ วยตาย ร้อยละ 43.48)
2
2
3
3
เชื้อก่ อโรค : เชื้อไวรัสโคโรน่า สายพันธุ์ใหม่ 2012
ลักษณะโรค : ขณะนี้ มีการติดเชื้อจากคนสู่ คนในกลุ่มผูป้ ่ วยด้วยกันหลายกลุ่มโดยพบในกลุ่มผูด้ ูแล
ผูป้ ่ วย สมาชิกในครอบครัวเดียวกัน และระหว่างเพื่อน และขณะนี้ ยังไม่มีการแพร่ กระจายของเชื้อใน
ชุมชน
ระยะฟักตัวของโรค : โดยมีระยะฟกั ตัวยาวนานถึง 14 วัน
(http://www.who.int/csr/disease/coronavirus_infections/MERS_case_investigation_questionnaire.pdf)
วิธีการแพร่ โรค : ยังไม่มีขอ้ มูลที่ระบุได้วา่ คนติดเชื้อไวรัสนี้ได้อย่างไร ขณะนี้ ยงั คงดาเนินการสอบสวน
โรค เพื่อหาแหล่งที่มาของเชื้อไวรัส (source of the virus) ลักษณะของการสัมผัสที่จะนาโรคที่จะนาไปสู่
การติดเชื้อ (types of exposure that lead to infection) ช่องทางการติดต่อของโรค (mode of transmission)
ลักษณะอาการทางคลินิก (clinical pattern) และสาเหตุของการเกิดโรค (course of disease)
4
4
การป้ องกัน :
- หลีกเลี่ยงการสัมผัสโดยตรงกับสัตว์ท่มี ีอ าการป่วย ไม่นาสัตว์ป่วยไป
ประกอบอาหาร
- รักษาสุขอนามัยขัน้ พืน้ ฐานของส่วนบุคคล
- ล้างมือบ่อยๆ ด้วยน้ าและสบู่ โดยเฉพาะเมือ่ สัมผัสกับสารคัดหลังจากผู
่
ป้ ว่ ย
- หลีกเลีย่ งการเข้าไปในพืน้ ทีแ่ ออัด หรือทีช่ มุ ชนมีคนอยูเ่ ป็ นจานวนมาก
- ผูป้ ว่ ยใส่หน้ากากอนามัย ปิดปากปิดจมูกเวลาไอ หรือจาม
- ปฏิบตั ติ ามหลักสุขอนามัยทีด่ ี
5
5
พบรายงานจาก 9 ประเทศ ได้แก่ จอร์แดน ซาอุดิอาระเบีย *** กาตาร์
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อังกฤษ ฝรังเศส
่
เยอรมนี ตูนีเซีย และอิตาลี
 สาหรับประเทศไทย “ยังไม่พบ” การแพร่ระบาดของโรค
 คนไทยที่จะเดินทางไปประกอบพิธีฮจั ญ์ ในเดือน ก.ย. - พ.ย. 56
ประมาณกว่า 10,000 คน 80 % อยู่ใน 14 จังหวัดของภาคใต้
5 จังหวัดหลัก ได้แก่ นราธิวาส , ปัตตานี , ยะลา , สงขลา , สตูล
20 % กระจายในภาคอื่นๆ

ประเทศไทย
6
6
คำแนะนำของกสธ.ไทย สำหรับผู้แสวงบุญทีจ
่ ะเดินทำงไปยังประเทศ
ซำอุดอ
ิ ำระเบีย
 ปฏิบตั ิ ตามคาแนะนาของทางการซาอุดิอาระเบีย
 กลุ่ ม ผู้สู ง อายุ และผู้ป่ วยโรคเรื้อ รัง หญิ ง ตัง้ ครรภ์ และเด็ก ควรเลื่ อ นการ
เดินทางไปร่วมพิธีอมุ เราะห์และฮัจญ์ ในปี นี้ (ฮิจญ์เราะฮ์ศกั ราช1434)
 ล้างมือบ่อยๆ ด้วยสบู่ ภายหลังการไอ จาม
 หากมีอาการไอหรือจาม ให้ ใช้ กระดาษทิชชูปิดปาก และทิ้งในถังขยะที่ จดั ไว้
หลีกเลี่ยงการนามือมาสัมผัสที่ตา จมูก ปาก โดยตรง
 หลี ก เลี่ ย งการคลุ ก คลี ก ับ ผู้ป่ วยโรคทางเดิ น หายใจ และหลี ก เลี่ ย งการใช้
สิ่งของส่วนตัวร่วมกัน
7
คำแนะนำของกสธ. สำหรับผู้แสวงบุญทีจ
่ ะเดินทำงไปยังประเทศ
ซำอุดอ
ิ ำระเบีย (ตอ)
่
เมื่อจะเข้าไปในสถานทีม่ ผี คู้ นแออัด ให้สวมหน้ากากอนามัย และปฏิบตั ิ
ตามสุขอนามัยทัวไป
่
รับการฉีดวัคซีนตามข้อกาหนด
หากมีอาการป่วยในขณะที่อยู่ประเทศซาอุดอิ าระเบีย หรือเมื่อเดินทาง
กลับประเทศไทยแล้ว ให้รบี ไปพบแพทย์ พร้อมแจ้งประวัตกิ ารเดินทาง
8
ผลกระทบที่อาจเกิดขึน้ จากการระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่ า สายพันธุใ์ หม่ 2012
ผลกระทบด้านสุขภาพ
มีผปู้ ่ วยและผูเ้ สียชีวิต การสนับสนุนทางด้านการรักษาพยาบาลไม่เพียงพอ
บุคลากรทางการแพทย์ระสา่ ระสาย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
1. การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคลดลง
2. ผลกระทบต่อการส่งออก
3. รายได้จากการท่องเที่ยว
ผลกระทบทางสังคม
1. ประชาชนหยุดงาน เนื่ องจากการป่ วย
2. โรงเรียนและธุรกิจต่างๆ อาจต้องหยุดกิจการชัวคราว
่
3. เกิดการขาดแคลนอาหารและเครื่องอุปโภคบริโภค
ผลกระทบความมันคงของประเทศ
่
9
9
แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้ องกัน และแก้ไขปัญหา
โรคติดต่ออุบตั ิ ใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559)
ผ่านความเห็นชอบจาก ครม.
เมื่อวันที่ 28 ส.ค. 55
10
10
แผนปฏิบตั ิ การแม่บท
ภายใต้แผนยุทธศาสตร์
เตรียมความพร้อม ป้ องกัน
และแก้ไขปัญหา
โรคติดต่ออุบตั ิ ใหม่แห่งชาติ
(พ.ศ. 2556 - 2559)
11
11
ข้อกังวลสาหรับประเทศไทย :
ชาวไทยผูน้ ับถือศาสนาอิสลามในประเทศไทยเดินทางไปเข้าร่วมพิธีฮจั ญ์ ในพืน้ ที่
แถบตะวันออกกลาง ซึ่งเป็ นพืน้ ที่ที่มีการแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่ า
สายพันธุใ์ หม่ 2012
การจัดการฝึ กซ้อมแผนเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
กรณี โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่ า สายพันธุใ์ หม่ 2012 ระดับชาติ
ในรูปแบบ การฝึ กปฏิบตั ิ การตามบทบาทหน้ าที่ (Functional Exercise (Modified))
วันที่ 6 กันยายน 2556 ณ กระทรวงสาธารณสุข
การจัดการฝึ กซ้อมแผนเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
กรณี โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่ า สายพันธุใ์ หม่ 2012
ระดับกระทรวงสาธารณสุข ในรูปแบบการฝึ กซ้อมแผนชนิดบนโต๊ะ(Tabletop Exercise)
วันที่ 18 ตุลาคม 2556 ณ กระทรวงสาธารณสุข
12
ICS Track
Discussion on
MERS-CoV
preparedness and
response in public
health sector
At MOPH war room,
VDC / teleconf.
With target PHOs,
With observation of
Mr Hajj (or rep.)
Functional
exercise Multisector
Cooperation/ ICS
6 Sep 2013
By DDMP,DDC
Tabletop exercise
MOPH / ICS
18 Oct 2013
By BEID/DDC,MOPH
Tabletop
exercise
Provincial /
regional
ICS
Oct 2013
By PHO / ผูต้ รวจฯ
Operation Track
Training /
orientation
Mr Hajj /SRRT
From XX provinces
17 Oct 2013
By GCD, BOE
Functional exercise
on surveillance /
Investigation / control
SRRT/hospitals/PHC
In XXI target provinces
Oct/ Nov 2013
By PHO/hospitals
13
วัตถุประสงค์การฝึ กซ้อม
1) เพื่อซักซ้อมความเข้าใจระบบการเฝ้ าระวัง ป้ องกันควบคุม
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่ า สายพันธุใ์ หม่ 2012
2) เพื่ อ ซัก ซ้ อ มความเข้ า ใจระบบการเตรี ย มการให้ ข่ า วและ
การสื่อสารความเสี่ยงของระบบงานสาธารณสุขต่อสาธารณะ
สิ่งที่คาดว่าจะได้รบั
1) หน่ วยงานที่เกี่ยวข้องของกระทรวงสาธารณสุขมีความเข้าใจระบบ
การเฝ้ าระวัง ป้ องกัน ควบคุมโรคโคโรน่ าสายพันธุใ์ หม่ 2012
2) มีระบบการเตรียมการแถลงข่าวต่อสาธารณะที่มีประสิทธิภาพ
14
รูปแบบ
การซ้อมแบบ Tabletop Exercise
วันศุกร์ที่ 18 ตุลาคม 2556 (เวลา 09.00 - 12.30 น.)
จานวนผูเ้ ข้าฝึ กซ้อม ผูส้ งั เกตการณ์ และคณะทางาน
รวม 80 ท่าน
สถานทีฝ่ ึ กซ้อม : ห้องประชุม War room ชัน้ 2 อาคาร 1
สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
15
ขอบเขต
 ภูมิหลัง มี การระบาดของ โรคติดเชื้ อไวรัสโคโรน่ า สายพันธุ์ใหม่ 2012 ใน 9
ประเทศ ส่วนใหญ่พบที่ ซาอุดิอาระเบีย และชาวไทยมุสลิมกาลังจะเดินทางไป
ประกอบพิธีฮจั ญ์ ในเดือน ก.ย. - พ.ย. 2556
 สถานการณ์ สมมุติ
- พบการระบาดของโรคติดเชื้อโคโรน่ า สายพันธุใ์ หม่ 2012 ในกลุ่ม
ผูเ้ ดินทางกลับจากพิธีฮจั ญ์ ที่มีภมู ิ ลาเนาอยู่ใน 4 จังหวัด ได้แก่ ปัตตานี ยะลา
นราธิวาส และสงขลา
- พบการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่ า สายพันธุใ์ หม่ 2012 ในกลุ่ม
ครอบครัวและบุคลากรทางการแพทย์ เป็ นวงจากัด
16
ผูเ้ ข้าร่วมฝึ กซ้อมแผน
War room กระทรวงสาธารณสุข
ตามกลไก ระบบ PHER ของกระทรวงสาธารณสุข ประมาณ 50 ท่าน
 หน่วยงานผูเ้ ข้าร่วมประชุม
1. สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขกระทรวงสาธารณสุข
(ส.บริหารการสาธารณสุข, ส.สาธารณสุขฉุกเฉิน, ส.สารนิ เทศ, ส.บริหารกลาง)
2. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
3. กรมควบคุมโรค (อธิบดี/รองอธิบดี, ส.โรคติดต่ออุบตั ิใหม่, ส.ระบาดวิทยา, ส.โรคติดต่อทัวว ป )
4. กรมการแพทย์
5. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
6. ผูต้ รวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เครือข่ายบริการที่ 12
 ผอ.สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา ผ่านระบบ Teleconference
 นพ.สสจ. 4 จังหวัด ได้แก่ ปั ตตานี , ยะลา, สงขลา และนราธิวาส ผ่านระบบ
Teleconference
17
ผูส้ งั เกตการณ์
 ผูต้ รวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
 ผูแ้ ทนจาก WHO ระจา ระเทศปทย
เครือข่ายบริการทีว 1-11 และ ส่วนกลาง กทม.  ผอ.สคร.1 กรุงเทพมหานคร
 สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
 สานักอนามัย กรุงเทพมหานคร
 กรมอนามัย
 สานักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
 กรมสุขภาพจิต
 ศูนย์อานวยการบรรเทาสาธารณภัย
 กรมพัฒนาการแพทย์แผนปทยและการแพทย์ทางเ ลือก
 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
 สานักงานหลัก ระกันสุขภาพแห่งชาติ
จานวนประมาณ 20 ท่าน
 องค์การเภสัชกรรม
 สถาบันบาราศนราดูร
 ศูนย์ความร่วมมือปทย – สหรัฐ ด้านสาธารณสุข (TUC)
18
คณะทางาน
ประกอบด้วย
1. คณะทางานด้านอานวยการ
2. คณะทางานด้านวิชาการ
3. คณะทางานด้านการจัดการฝึ กซ้อม
4. คณะทางานด้านประเมินผล
5. คณะทางานด้านสนับสนุนปฏิบตั ิ การ
19
คณะทางานจัดการฝึ กซ้อมแผนเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
กรณี โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่ า สายพันธุใ์ หม่ 2012
ระดับกระทรวงสาธารณสุข
2. คณะทางานด้านวิชาการ
1. คณะทางานด้านอานวยการ
ประธาน : รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
(นพ.วชิ ระ เพ็งจันทร์)
เลขานุการ : ผอ. สานักสาธารณสุขฉุกเฉิ น
ประธาน : ผอ.สานักระบาดวิ ทยา กรมควบคุมโรค
เลขานุการ : นพ.ฐิ ติพงษ์ ยิ่ งยง
สานักระบาดวิ ทยา
3. คณะทางานด้านการจัดการฝึ กซ้อม
ประธาน : รองอธิ บดีกรมควบคุมโรค
(นพ.โอภาส การย์กวิ นพงศ์)
เลขานุการ : พญ.วรยา เหลืองอ่อน
สานักโรคติ ดต่ออุบตั ิ ใหม่
4. คณะทางานด้านประเมินผล
ประธาน : นายแพทย์สรุ เชษฐ์ สถิ ตนิ รามัย
ผูต้ รวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
เลขานุการ : นางสาวจิ ตรา ธีรางกูร
สานักโรคติ ดต่ออุบตั ิ ใหม่
5. คณะทางานด้านสนับสนุนปฏิบตั ิ การ
ประธาน : นายสุเทพ วัชรปิ ยานันทน์
ผูช้ ่วยปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เลขานุการ : นางวิ ไลวรรณ นาเงิ น
สานักสาธารณสุขฉุกเฉิ น
20
กิจกรรมการดาเนินงาน
ตุลาคม
รายงาน
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
1. จัดทาคาสังว แต่งตั้งคณะทางาน
2. ระชุม เลขาทุกคณะทางาน

บ่าย
3. ระชุม คณะทางานครั้งทีว 1
4. ระชุม ชี้ แจงผูเ้ ข้าร่วมฝึ กซ้อม

บ่าย
5. ระชุมคณะทางานครั้งทีว 2

บ่าย

6. ซ้อมใหญ่ เสมือนการซ้อมจริง
เช้า
7. ซ้อมแผนจริง

เช้า
8. สรุ และเผยแพร่รายงาน
ระเมินผลการฝึ กซ้อม
เดือน ต.ค. – ธ.ค. 56
งบประมาณดาเนินการ กรมควบคุมโรค
100,000 บาท
22
บทบาทหน้ าที่หลัก
หน่วยงานที่เข้าร่วม
การฝึ กซ้อมแผน
23
บทบาทหน้ าที่หลัก
 สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
- สานักสาธารณสุขฉุกเฉิน
•
•
•
•
•
ดาเนินการจัดตัง้ และบริหารจัดการศูนย์ปฏิบตั ิ การป้ องกันและแก้ไขปัญหา
สาธารณภัยด้านการแพทย์และสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข
ประสานสั ่งการหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง เตรียมความพร้อมเพื่อแก้ไขปัญหาและ
ให้ความช่วยเหลือประชาชนในพืน้ ที่ประสบภัยให้เป็ นไปด้วยความรวดเร็วทัน
ต่อสถานการณ์
เฝ้ าระวังสถานการณ์สาธารณภัย
สนับสนุนการเตรียมความพร้อมและฝึ กซ้อมแผนรับมือโรคระบาดใน
ระดับชาติ และระดับภูมิภาค
จัดทาข้อมูลเครือข่ายสาธารณภัยทัง้ ส่วนกลางและภูมิภาค
24
บทบาทหน้ าที่หลัก (ต่อ)
- สานักสารนิเทศ
• กาหนดกลยุทธ์และวางแผนการสือ่ สารประชาสัมพันธ์กบั กลุ่มเป้าหมาย
• รวบรวม ประมวลข้อมูลข่าวสารเกีย่ วกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค และข่าวสารอื่นๆ
ทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ นาเสนอต่อผูบ้ ญ
ั ชาการเหตุการณ์/ผูบ้ ริหาร ประกอบการตัดสินใจ
• วิเคราะห์ประเด็นสือ่ สารความเสีย่ ง และวางแผนสือ่ สารประชาสัมพันธ์ไปสูก่ ลุ่มเป้าหมาย
เสนอผูบ้ ญ
ั ชาการเหตุการณ์เพือ่ พิจารณา
• ประสานสือ่ มวลชนทุกแขนงทัง้ สือ่ ในประเทศและต่างประเทศ ในการเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสาร
• เป็ นตัวแทนผูบ้ ญ
ั ชาการเหตุการณ์ในการเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารแก่สาธารณชน สือ่ มวลชน
และกลุ่มเป้าหมายอื่นๆ
25
บทบาทหน้ าที่หลัก (ต่อ)
- สานักบริหารกลาง
• สนับสนุนอุปกรณ์สานักงานในการจัดตัง้ และบริหารจัดการศูนย์ปฏิบตั กิ ารป้องกันและแก้ไข
ปญั หาสาธารณภัย
ด้านการแพทย์และสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข
• ประสานแจ้งข้อมูลให้ผบู้ ริหารกรณีฉุกเฉิน โดยการส่งข้อความทาง SMS
- สานักบริหารการสาธารณสุข
•
เตรียมการจัดหายา และเวชภัณฑ์ทม่ี ใิ ช่ยา วัสดุ และสารเคมีทเ่ี กีย่ วข้องกับการรักษาและ
การฟื้นฟูให้กบั ประชาชนและพืน้ ทีป่ ระสบภัย ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ
26
บทบาทหน้ าที่หลัก (ต่อ)
 กรมควบคุมโรค
- สานักระบาดวิทยา
• เตรียมความพร้อมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนทีเ่ ร็ว (SRRT) ทัวประเทศ
่
• จัดระบบเครือข่ายการเฝ้าระวังและการสอบสวนโรคของประเทศและพัฒนาการดาเนินงานของเครือข่าย
• ดาเนินการร่วมกับท้องถิน่ และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในการเฝ้าระวังโรค ติดตามสถานการณ์โรคทัง้
ภายในและภายนอกประเทศ เผยแพร่ขอ้ มูลและเตือนภัยการระบาดของโรคและการสอบสวนโรค
ในกรณีรนุ แรงหรือสาคัญ
• ดาเนินการร่วมกับนานาประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศในการพัฒนาเครือข่ายการเฝ้าระวังโรค
และสอบสวนโรค
• พัฒนานักระบาดวิทยาเป็ นเครือข่าย
•สนับสนุนการเตรียมความพร้อมและฝึกซ้อมแผนรับมือโรคระบาดในระดับชาติ และระดับภูมภิ าค
27
บทบาทหน้ าที่หลัก (ต่อ)
- สานักโรคติดต่อทัวไป
่
• เฝ้าระวังช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ
• ประสานงานเตรียมความพร้อมกับทีมแพทย์ประจาคณะทีจ่ ะต้องไปดูแลผูแ้ สวงบุญทีป่ ระเท
ซาอุดอิ าระเบีย
• สนับสนุนจัดให้บริการวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่และไข้กาฬหลังแอ่น
• เลขานุการประสานการปฏิบตั งิ าน กรณีทส่ี ถานการณ์จาเป็ นต้องมีการเปิดศูนย์ปฏิบตั กิ ารตอบโต้
ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข
• สนับสนุนการเตรียมความพร้อมและฝึกซ้อมแผนรับมือโรคระบาดในระดับชาติ และระดับภูมภิ าค
28
บทบาทหน้ าที่หลัก (ต่อ)
- สานักโรคติดต่ออุบตั ิ ใหม่
• จัดทาหนังสือขอความร่วมมือดาเนินการเตรียมความพร้อม สาหรับโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรน่า สาย
พันธุใ์ หม่ 2012 ไปยังหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง
• เป็ นแกนหลักประสานความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย หน่วยงานต่างๆ ทัง้ ใน และนอกกระทรวง
สาธารณสุข เพือ่ เตรียมรับโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรน่า สายพันธุใ์ หม่ 2012
• เผยแพร่ขอ้ มูล องค์ความรู/้ คาแนะนา/แนวทาง/มาตรการ/การป้องกันโรค ในเว็บไซต์สานัก
โรคติดต่ออุบตั ใิ หม่
• จัดเตรียมยาต้านไวรัส และวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย (PPE) เพือ่ เตรียมพร้อมรับมือการระบาด
รวมทัง้ จัดหายาทีจ่ าเป็ นทีย่ งั ไม่มกี ารขึน้ ทะเบียนในประเทศไทย
• สนับสนุนการเตรียมความพร้อมและฝึกซ้อมแผนรับมือโรคระบาดในระดับชาติ และระดับภูมภิ าค
• สนับสนุนการจัดทาแผนประคองกิจการภายในองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมรับการระบาดของ
โรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ทวประเทศ
ั่
29
บทบาทหน้ าที่หลัก (ต่อ)
 กรมการแพทย์
1. ศึกษา วิเคราะห์ วิจยั และพัฒนาองค์ความรูแ้ ละเทคโนโลยีทางการแพทย์และการแพทย์เฉพาะทาง
รวมทัง้ การดาเนินการและประสานงานกับหน่วยงานอื่นทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ
2. ปรับปรุงข้อมูลด้านสถานพยาบาล บุคลากร อุปกรณ์ทางการแพทย์ ให้ทนั สมัยอยูเ่ สมอ รวมทัง้
ข้อมูลพืน้ ทีป่ ลอดภัยเพือ่ รองรับการอพยพถ้ามีความจาเป็ น
3. จัดเตรียมกาลังคน วัสดุ อุปกรณ์ เครือ่ งมือ เครือ่ งใช้ เวชภัณฑ์ ห้องปฏิบตั กิ าร สถานพยาบาลให้ม ี
ความพร้อม
4. เผยแพร่และให้ความรูใ้ นการป้องกันควบคุมโรค และการรักษาพยาบาลเบือ้ งต้นแก่สถานบริการ
สุขภาพทัง้ ภาครัฐและเอกชน รวมทัง้ ประชาชน
5. จัดให้มบี ริการเพือ่ รองรับการส่งต่อผูป้ ว่ ยอย่างมีประสิทธิภาพ
6. ให้ความรูแ้ ละทักษะในการปฏิบตั งิ านด้านการดูแลรักษาพยาบาลผูป้ ว่ ย แก่บุคลากรทางการแพทย์
ทัง้ ภาครัฐและเอกชน
30
บทบาทหน้ าที่หลัก (ต่อ)
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
1. จัดเตรียมกาลังคน วัสดุ อุปกรณ์ เครือ่ งมือ เครือ่ งใช้หอ้ งปฏิบตั กิ าร ให้มคี วามพร้อม
2. กาหนดและพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานของระบบและวิธกี ารตรวจวิเคราะห์ชนั สูตรโรค
3. ศึกษา วิจยั พัฒนาองค์ความรูแ้ ละเทคโนโลยีดา้ นวิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข เพือ่
พัฒนาการ ประเมินความเสีย่ งและแจ้งเตือนภัยสุขภาพ
4. เป็ นห้องปฏิบตั กิ ารอ้างอิงด้านการชันสูตรโรค ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข และ
เป็ นห้องปฏิบตั กิ ารสอบเทียบเครือ่ งมือทางการแพทย์และสาธารณสุข
5. สนับสนุนและพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ ดาเนินการรับรองคุณภาพทางห้องปฏิบตั กิ ารด้าน
การชันสูตรโรค ทัง้ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน
6. ตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบตั กิ ารด้านการชันสูตรโรค เพือ่ ควบคุมคุณภาพประสิทธิภาพและ
มาตรฐานเพือ่ สนับสนุนการป้องกันและควบคุมโรค
31
บทบาทหน้ าที่หลัก (ต่อ)
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
1. ส่งเสริม สนับสนุน ควบคุม กากับ และพัฒนาสถานบริการสุขภาพให้มคี ุณภาพมาตรฐาน
2. ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมูบ่ า้ น (อสม.) ภาคีเครือข่ายและท้องถิน่
ในการดาเนินงานสาธารณสุข
3. ประชาสัมพันธ์มาตรการป้องกันควบคุมโรคพืน้ ฐาน และการปฏิบตั ติ นตามสุขอนามัยทีถ่ กู ต้อง
ให้กบั ประชาชนในพืน้ ที่
4.ให้ความรูแ้ ก่อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) และภาคประชาชนในการร่วมเฝ้าระวัง ป้องกันและ
ควบคุมโรค
5.ดาเนินการถ่ายทอดองค์ความรูแ้ ละเทคโนโลยีแก่องค์กรภาครัฐ องค์กรภาคเอกชน องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิน่ และภาคประชาชน
32
33