การป้องกันการแพร่กระจายเชื้ออีโบลา14สค57

Download Report

Transcript การป้องกันการแพร่กระจายเชื้ออีโบลา14สค57

การป้องกันการแพร่ กระจายเชือ้ ใน
สถานพยาบาล
: กรณีโรคติดเชือ้ อีโบลา
เนาวนิตย์ พลพินิจ
พยาบาลควบคุมการติดเชือ้
โรงพยาบาลอุดรธานี
14 สิงหาคม 2557
วิธีการแพร่ กระจายเชือ้ ไวรัสอีโบลา
• แพร่เชื ้อจากคนสูค่ น ผ่านการรับหรื อสัมผัสของเหลว จากร่างกายผู้ติดเชื ้อ
ไม่วา่ จะเป็ นเลือด น ้าลาย น ้ามูก เหงื่อ สารคัดหลัง่ ต่าง ๆ ตลอดจนเชื ้ออสุจิ
เชือ้ อีโบลาไม่ ตดิ ต่ อกัน ทางอากาศที่หายใจร่ วมกัน
• ความเสี่ยงต่อการติดเชื ้อไวรัสอีโบลาจะต่าในระยะเริ่ มแรกที่ผ้ ปู ่ วยมีอาการ
• ความเสี่ยงจะเพิ่มตามระยะของโรค เนื่องจากจานวนไวรัสในเลือดเพิ่มข ้น
• จากการระบาดของ ebola ที่ซูดานและอูกนั ดา ในปี 2543 พบว่าปั จจัย
เสี่ยงที่สาคัญ คือการสัมผัสกับเลือด/สารคัดหลัง่ ซ ้าไปมา รวมถงการสัมผัส
กับอุปกรณ์เครื่ องมือเครื่ องใช้ ทีมีการปนเปื อ้ นเชื ้อไวรัส
ธรรมชาติของเชื ้ออีโบลา
• เชื ้อไวรัส Ebola เป็ นกลุมุ่ โรคไข้ เลือดออก ชนิดหน่ง มีชื่อเรี ยกใน
ภาษาอังกฤษว่า Zaire ebolavirus ซง่ เป็ นชื่อที่ตงข
ั ้ ้นตามพื ้นที่ ที่
พบว่ามีการระบาดของโรคเป็ นครัง้ แรกในปี 2519 คือใกล้ กบั ลุม่ แม่น ้าอีโบลา
ในประเทศซาร์ อี (ปั จจุบนั คือสาธารณรัฐคองโก) จนถงปั จจุบนั ยังไม่สามารถ
ระบุแหล่งต้ นตอ ที่เป็ นรังของเชื ้ออย่างแน่ชดั ได้
• รูปร่างของเชื ้อไวรัส Ebola หรื อ EBOV VP30 (Ebola Virus
VP30) มีลกั ษณะเป็ นเส้ นด้ ายในกลุม่ ฟิ โลไวรัส เส้ นผ่านศูนย์กลาง
ประมาณ 80 นาโนเมตร ยาวได้ มากถง 1,400 นาโนเมตร แบ่งออกเป็ น 5
สายพันธุ์ โดยสายพันธุ์ที่ร้ายแรง ได้ แก่ สายพันธุ์ซูดาน สายพันธุ์ซาร์ อี และ
สายพันธุ์บนั ดิบเู กียว
ระดับความเสี่ยงต่ อการติดเชือ้ ไวรั สอีโบลา จาแนกตามลักษณะการสัมััส
ระดับความเสี่ยง
ความเสี่ยงต่ามาก
หรื อไม่มีความเสี่ยง
ลักษณะการสัมผัส
สัมผัสกับใคร
ตัวอย่าง
สัมผัสโดยบังเอิญหรื อ ผู้ท่ีมีไข้ หรื อผู้ป่วยที่อยู่ การใช้ ที่นงั่ เดียวกับ
สัมผัสเป็ นครัง้ คราว
ในรถพยาบาล
ผู้ป่วย หรื อร่วมใช้
บริ การขนส่งสาธารณะ
ความเสี่ยงต่า
มีความใกล้ ชิดแบบ
ประชิดตัว
มีความใกล้ ชิดแบบ
ประชิดตัว โดยการใช้
อุปกรณ์ป้องกันส่วน
บุคคลไม่เหมาะสม
ผู้ป่วยที่มีไข้ หรื อผู้ป่วย ผู้ตรวจร่างกาย วัด
ในรถพยาบาล
อุณหภูมิ และความดัน
ผู้ป่วยที่มีอาการไอ
อาเจียน หรื อมี
เลือดออกทางจมูก
หรื อผู้ป่วยท้ องเสีย
สัมผัสเชื ้อผ่านทาง
ผิวหนัง
ผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง การสัมผัสเลือด/สาร
หรื อเป็ นผู้ป่วยยืนยัน คัดหลัง่ /เนื ้อเยื่อที่
ว่ามีการติดเชื ้อ
ปนเปื อ้ นเชื ้อไวรัส
ebola
ความเสี่ยงปานกลาง
ความเสี่ยงสูง
มาตรการในการป้องกันการแพร่ กระจายเชือ้
• ใช้ หลัก standard precaution ควบคู่กันทัง้ contact
precaution droplet precaution และเนื่องจากเป็ นโรคที่มี
อัตราตายสูง ต้ องใช้ airborne precaution ด้ วย
• บุคลากรสวมอุปกรณ์ ป้องกันร่ างกายเหมาะสม
• ล้ างมือก่ อนและหลังสัมััสัู้ป่วย หรื อหลังสัมััสสิ่งแวดล้ อม
• ทาทาลายเชือ้ / ทาให้ ปราศจากเชือ้ อุปกรณ์ เครื่ องมือเหมาะสม
• แยกัู้ป่วยในห้ องแยกเดี่ยว แต่ ถ้ามีอาการระบบทางเดินหายใจ ควร
ใช้ ห้องแยกความดันลบ
• การทาความสะอาดสิ่งแวดล้ อม ให้ ใช้ นา้ ยาทาลายเชือ้ ที่มสี ่ วนัสม
ของ bleach
• จัดระบบการติดตามบุคลากรัู้ดูแล
การจัดระบบเพื่อป้องกันการแพร่ กระจายเชือ้ อีโบลา
ในสถานพยาบาล
•
•
•
•
•
•
•
•
•
การคัดกรองที่แันกัู้ป่วยนอก /ห้ องฉุกเฉิน
การจัดเตรี ยมทางด้ านสถานที่
การจัดเตรี ยมทางด้ านอุปกรณ์ ป้องกันส่ วนบุคคล
การป้องกันการแพร่ กระจายเชือ้ จากสิ่งส่ งตรวจ
การทาความสะอาดหน่ วยงาน
การทาลายเชือ้ และทาให้ ปราศจากเชือ้ ในอุปกรณ์ เครื่องมือ
การจัดการั้ าเปื ้ อน
การติดตามบุคลากรัู้สัมััส
การจัดการกรณีั้ ูป่วยเสียชีวติ
การคัดกรองที่แันกัู้ป่วยนอก / ห้ องฉุกเฉิน
• ต้ องมีระบบการคัดกรองที่ชัดเจน และคัดแยกัู้ป่วยที่สงสัยตาม
นิยามให้ เร็วที่สุด
• ควรมีห้องตรวจแยกจากัู้ป่วยโรคอื่น
• กาหนดการนิยามในการเฝ้าระวัง
• ัู้ป่วยสงสัย (suspected case) : ัู้ท่ เี ดินทางมาจากประเทศ
ที่มีการระบาดของไวรัสอีโบลา ร่ วมกับมีประวัตสิ ัมััส...
1) สัมััสกับสัตว์ ป่าที่ป่าย หรือตาย หรือ
2) ดูแลใกล้ ชิดและสัมััสัู้ป่วยหนัก หรือัู้เสียชีวิต
การคัดกรองที่แันกัู้ป่วยนอก / ห้ องฉุกเฉิน (ต่ อ)
• ัู้ป่วยยืนยัน (confirmed case) : ัู้ป่วยสงสัย ที่มีัลการ
ตรวจทางห้ องปฏิบัตกิ ารยืนยัน เช่ น การตรวจหา IgM หรือการ
ตรวจทาง PCR หรือ การแยกเชือ้ ไวรัสให้ ัลบวก
• ัู้ป่วยที่สงสัยทุกราย ควรรับไว้ เป็ นัู้ป่วยใน
• และควรอยู่ในห้ องแยกโรค
การจัดเตรียมทางด้ านสถานที่
• สถานพยาบาลทุกแห่ งควรมีห้องแยกโรคในการดูแลัู้ป่วยที่
สงสัย
• เนื่องจากโรคนี ้ ัู้ป่วยมักมีอาการเลือดออก ไม่ ว่าจะอาเจียนเป็ น
เลือด หรือไอเป็ นเลือด จึงควรป้องกันแบบ airborne
precaution
• ต้ องมีการทดสอบว่ าระบบ negative pressure ใช้ ได้
หรือไม่
• บุคลากรที่ดแู ลัู้ป่วย ต้ องสามารถตรวจสอบระบบของห้ อง
เบือ้ งต้ นได้
การจัดเตรี ยมทางด้ านอุปกรณ์ ป้องกันส่ วนบุคคล
(personal protective equipment : PPE)
• อุปกรณ์ ป้องกันส่ วนบุคคล ควรใช้ ชนิด disposable
• PPE ที่ต้องจัดเตรียม ได้ แก่ หน้ ากากอนามัย /N95 mask,
แว่ นป้องกันตา หรือ face shield เสือ้ กาวน์ กันนา้ แขนยาว
ถุงคลุมรองเท้ า หรือ รองเท้ าบู๊ท
การป้องกันการแพร่ กระจายเชือ้ จากสิ่งส่ งตรวจ
• การเก็บและส่ งสิ่งส่ งตรวจ ตองดาเนินการอย่ างเคร่ งครัด
• ควรใช้ หลอดเก็บเลือดที่เป็ นระบบปิ ด (vacutainer type)
• ประสานล่ วงหน้ ากับศูนย์ วิทยาศาสตร์ การแพทย์ เพื่อขอ
สนับสนุน sample transport container
• บรรจุส่ ิงส่ งตรวจในบรรจุภณ
ั ฑ์ 3 ชัน้ ตามแนวทางของ WHO
การทาความสะอาดหน่ วยงาน (ห้ องแยก)
• บุคลากรที่มีหน้ าที่ ต้ องสวม PPE เทียบเท่ ากับบุคลากรัู้ดแู ล
• พืน้ ห้ องเช็ดถูด้วยสารขัดล้ าง/ังซักฟอก ที่มีประสิทธิภาพ
มากกว่ าสบู่ เช่ น สารขัดล้ างที่มีส่วนัสมของ bleach
• กรณีเลือด / สารคัดหลั่ง หกลงที่พนื ้ ให้ เช็ดเลือดและสารคัดหลั่ง
ออกให้ มากที่สุด ใช้ นา้ ยาทาลายเชือ้ 1% hypochlorite ราด
บริเวณนัน้ ๆ แล้ วเช็ดถูด้วยนา้ ัสมังซักฟอก
• เตียง ตู้ข้างเตียง ที่นอน (ควรมีแั่ นพลาสติกคลุมเตียงก่ อน เพื่อ
ป้องกันของเหลวซึมลงเตียง) เช็ดถูด้วยนา้ ยาที่มีส่วนัสมของ
bleach
การทาลายเชือ้ และทาให้ ปราศจากเชือ้ ในอุปกรณ์
เครื่ องมือ
• อุปกรณ์ เครื่องมือ หรือวัสดุการแพทย์ ท่ ใี ช้ ครัง้ เดียว ถือเป็ นขยะ
ติดเชือ้
• อุปกรณ์ เครื่องมือแพทย์ ท่ ตี ้ องนามาใช้ ซา้ ต้ องั่ านการทาลาย
เชือ้ และทาให้ ปราศจากเชือ้ อย่ างเหมาะสม
• เชือ้ ไวรัสนี ้ มีความไวต่ อนา้ ยาฟอกขาว (bleach) โดยใช้
ส่ วนัสม 1 : 100 แช่ นานอย่ างน้ อย 10 นาที
• เช่ น ปรอท หูฟัง ต้ องล้ าง แล้ ว
การจัดการั้ าเปื ้ อน
•
•
•
•
จัดการผ้ าเปื อ้ น ตามมาตรฐานการป้องกันการแพร่กระจายเชื ้อ
ต้ องแยกผ้ าเปื อ้ นตังแต่
้ ในห้ องแยก
บรรจุผ้าเปื อ้ นในถุงหรื อภาชนะปิ ดมิดชิด
บุคลากรที่สมั ผัสผ้ าเปื อ้ นสวม PPE เทียบเท่ากับบุคลากรที่ดแู ลผู้ป่วย
การติดตามบุคลากรัู้สัมััส
• จากัดบุคลากรเท่าที่จาเป็ น
• บันทกชื่อ และกิจกรรมของบุคลากรที่ดแู ลผู้ป่วย
• เฝ้าระวังและติดตามอาการของบุคลากรทุกคน หลังสัมผัสผู้ป่วยจนพ้ น
ระยะเวลา 21 วัน หลังสัมผัสผู้ป่วยครัง้ สุดท้ าย.
• หลีกเลี่ยงการใช้ บคุ ลากรที่เป็ นกลุม่ เสี่ยง เช่น ผู้ที่มโี รคเรื อ้ รัง หรื อภูมิ
ต้ านทานบกพร่อง
การจัดการกรณีั้ ูป่วยเสียชีวติ
•
•
•
•
ควรจัดการศพด้ วยวิธีการที่ปลอดภัยจากการแพร่ กระจายเชือ้
ต้ องมีการบรรจุศพในถุงหรือวัสดุท่ ปี ้ องกันการรั่วซึมของนา้
หลีกเลี่ยงการสัมััสกับศพโดยตรง
ควรกาหนดสถานที่ในการทาพิธีศพที่แน่ นอนในช่ วงเตรียมรับมือ
กับการระบาด เพื่อเตรียมทัง้ ด้ านคน และสถานที่
สรุ ป
• การป้องกันการแพร่ กระจายเชือ้ ไวรัสอีโบลาในสถานพยาบาล
• ใช้ standard precaution ควบคู่ทงั ้ contact ,
droplet และ airborne
• ใช้ PPE อย่ างถูกต้ องเหมาะสม
• มีห้องแยกโรค
• มีระบบการทาลายเชือ้ /ทาให้ ปราศจากเชือ้ เหมาะสม
• มีระบบการติดตามบุคลากรัู้ดแู ลอย่ างต่ อเนื่อง
Thank you for your
attention