ความขัดแย้งติมอร์

Download Report

Transcript ความขัดแย้งติมอร์

ความขัดแย้งติมอร์ -เลสเต
(Timor-Leste)
ภูมิประเทศ
• ประเทศติมอร์ ตะวันออก (อังกฤษ: East Timor) หรื อ ติมอร์ -เลสเต หรื อมีชื่อเรี ยกอย่างเป็ น
ทางการว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์ -เลสเต (อังกฤษ: Democratic Republic of TimorLeste) เป็ นประเทศที่ต้งั อยูบ่ นเกาะภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ติมอร์ตะวันออกถูกล้อมรอบ
โดยพื้นที่ของประเทศอินโดนีเซีย
ประวัติความเป็ นมาของติมอร์
• ในยุคของการล่าอาณานิคม เมื่อชาวโปรตุเกส ได้เดินทางมาที่เกาะติมอร์ เมื่อปี พ.ศ.2055 และยึด
เกาะติมอร์เป็ นอาณานิคม
• ต่อมาในปี พ.ศ.2446 เนเธอร์แลนด์ ได้เข้ายึดครองอินโดนีเซี ยและเกิดการสู ้รบกับโปรตุเกส จน
ยุติการสู้รบและได้แบ่งเกาะติมอร์ออกเป็ น 2 ส่ วน โดย เนเธอร์แลนด์ได้ครอบครองเกาะติมอร์
ทางด้านตะวันตก และโปรตุเกสครอบครองเกาะติมอร์ทางด้านตะวันออก และโอกุสชี่
• ในปี 2517-2518 โปรตุเกสได้ตกลงใจที่จะปลดปล่อยอาณานิคมของตน รวมถึงติมอร์ตะวันออก
และส่ งเสริ มให้มีการจัดตั้งพรรคการเมือง โดยมีพรรคการเมืองที่สาคัญอยู่ 3 พรรค คือ
- พรรค UDT
- พรรค FRETILIN
- พรรค APODETI
ประวัติความเป็ นมาของติมอร์ (ต่ อ)
• ต่อมาเมื่อเดือน มี.ค.2518 ได้มีการจัดเลือกตั้ง ผลปรากฏว่าพรรค FRETILIN ชนะการเลือกตั้งทา
ให้เกิดสางครามกลางเมืองขึ้น
สาเหตุของความขัดแย้ ง
• การเข้ารวมติมอร์ตะวันออกเป็ น จังหวัด.ที่ 27 ของอินโดนีเซีย
• พรรค FRETILIN ก็ได้จดั ตั้ง กลุ่มกองกาลังเพื่อต่อต้านการยึดครองของอินโดนีเซีย
• กลุ่ม MILITIA ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากอินโดนีเซีย ได้สงั หารกลุ่มผูส้ นับสนุนการเป็ นเอก
ราชจนทาให้เกิดการจราจลขึ้น และทวีความรุ นแรงขึ้นเรื่ อยๆ
บทบาทสหประชาชาติ
• สหประชาชาติจดั ตั้งกองกาลังนานาชาติ (International Force in East Timor – INTERFET) เมื่อ
15 กันยายน 2542 เพื่อส่ งเข้าไปรักษาสันติภาพในติมอร์ตะวันออก
• ต่อมาคณะมนตรี ความมัน่ คงของสหประชาชาติ ได้มีมติจดั ตั้งองค์กรเพื่อถ่ายโอนอานาจในติมอร์
ตะวันออก หรื อ UNTAET ขึ้นพร้อมกับ กลุ่มกองกาลังรักษาสันติภาพ (PKF) จานวน 8,950 คน
ผูส้ งั เกตการณ์ทางทหารอีก จานวน 200 คน
ติมอร์ หลังได้ รับเอกราชจากอินโดนีเซีย
• ติมอร์ตะวันออก ประกาศตนเป็ นรัฐที่มีอานาจอธิปไตยสมบูรณ์เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ.
2002
• ติมอร์ตกลงว่าจะเรี ยกประเทศของตนอย่างเป็ นทางการว่า “ติมอร์-เลสเต” (Timor-Leste) ซึ่ งเป็ น
ชื่อในภาษาโปรตุเกส หรื อสาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์ตะวันออก
ปัญหาภายในติมอร์ หลังได้ รับเอกราช
• ความแตกแยกทางการเมือง (การแข่งขันเพื่อแย่งชิงอานาจทางการเมือง)
• ความไม่มีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
• ความยากจนและอัตราการว่างงาน
• การขาดทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์
การเมืองการปกครอง
• การเมืองภายในประเทศยังขาดวุฒิภาวะทางการเมือง
- มีกลุ่มการเมืองต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย ในแข่งขันเพือ่ แย่งชิงอานาจทางการเมือง
- เกิดการต่อสู้อนั รุ นแรงระหว่างทหารที่สนับสนุนรัฐบาลและทหารฟาลินติล เมื่อ
พฤษภาคม 2549
• ประสบปัญหาเรื่ องการรักษาความมัน่ คงภายใน
• UNTAET ได้พยายามสร้างความพร้อมเพื่อให้ติมอร์ตะวันออกสามารถปกครอง
ตนเองภายหลังได้รับเอกราช โดยเปิ ดโอกาสให้ชาวติมอร์ตะวันออกเข้ามามีส่วนร่ วมมากขึ้น
เศรษฐกิจ
• ติมอร์ตะวันออกยังไม่มีงบประมาณเป็ นของตนเองในการฟื้ นฟูและบูรณะประเทศ งบประมาณ
ส่ วนใหญ่ที่ใช้ในการบูรณะประเทศมาจากความช่วยเหลือจากต่างประเทศและการรับความ
ช่วยเหลือจากนานาชาติ
• ลู่ทางการค้าการลงทุนในติมอร์ตะวันออกที่มีศกั ยภาพคือ ไร่ กาแฟ ภาคการประมง ธุรกิจการ
ท่องเที่ยว รวมถึงแหล่งทรัพยากรประเภทน้ ามันดิบและก๊าซธรรมชาติในเขต
Timor Gap ซึ่งอยูร่ ะหว่างติมอร์ตะวันออกกับออสเตรเลีย อย่างไรก็ดี ธุรกิจเหล่านี้ยงั จาเป็ นต้อง
ได้รับการพัฒนาและสนับสนุนด้านการเงินจากนักลงทุนภายนอกอยูม่ าก เนื่องจากติมอร์
ตะวันออกยังขาดเงินทุน และชาวติมอร์ตะวันออกยังขาดทักษะในการประกอบกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจ
สรุป
ในอดีต ติมอร์ตะวันออกเป็ นอาณานิคมของโปรตุเกส ภายหลังโปรตุเกสถอนตัวออกไป
เมื่อปี 2518 อินโดนีเซียได้ส่งทหารเข้ายึดครองติมอร์ตะวันออกโดยผนวกเข้าเป็ นจังหวัดที่ 27
อย่างไรก็ดี เมื่ออินโดนีเซี ยยินยอมให้ชาวติมอร์ตะวันออกลงประชามติเพื่อแยกตัวเป็ นเอกราช
จากอินโดนีเซีย เมื่อวันที่ 30 สิ งหาคม 2542 ประชาชนชาวติมอร์ตะวันออกกว่าร้อยละ 80 ออก
เสี ยงสนับสนุนการแยกตัวเป็ นเอกราช จึงก่อให้เกิดเหตุการณ์รุนแรงในติมอร์ตะวันออกโดยกลุ่ม
กองกาลัง militia ที่นิยมอินโดนีเซีย สหประชาชาติได้ตดั สิ นใจจัดตั้งกองกาลังนานาชาติ
(International Force in East Timor -) เมื่อ 15 กันยายน 2542 เพื่อส่ งเข้าไปรักษาสันติภาพใน
ติมอร์ตะวันออก ขณะนี้ ติมอร์ตะวันออกอยูภ่ ายใต้การปกครองขององค์กรบริ หารชัว่ คราวของ
สหประชาชาติในติมอร์ตะวันออก (United Nations Transitional Administration in East Timor UNTAET) และได้รับ เอกราชอย่างสมบูรณ์ใน 20 พฤษภาคม 2545
นางสาวการี มะห์ วาเต๊ะ
รหัส 5120710006
เอกความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ