เศรษฐกิจไทยในอีก 5 ปี ข้างหน้า - Tanit Sorat V

Download Report

Transcript เศรษฐกิจไทยในอีก 5 ปี ข้างหน้า - Tanit Sorat V

“เศรษฐกิจไทยครึ่งปี หลัง 2553”
ดร.ธนิต โสรัตน์
ประธานกลุ่มบริษทั V-SERVE
และรองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย
1
ปัจจัยเสี่ ยงเศรษฐกิจไทย
ครึ่งปี หลัง
2
การฟื้ นตัวของเศรษฐกิจโลกยังเปราะบาง
และการชะลอตัวของเศรษฐกิจคู่ค้า
• G20 มติให้ลดการขาดดุลงบประมาณและรัดเข็มขัดการใช้จ่ายภาครัฐจะ
กระทบต่ออุปสงค์กาลังซื้อ
• EU ปี นี้จะขยายตัวลดลงจากปี ก่อน จากร้อยละ 4.1 เหลือร้อยละ 3.1
• วิกฤติทางการเงินของ EU ได้แก่ กรี ซ สเปน โปตุเกต อิตาลี
• ปัญหาจากหนี้สาธารณะ เงินยูโรและเศรษฐกิจของยุโรปจะกลับมามี
เสถียรภาพได้หรื อไม่
• ปัญหาการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนจะส่ งผลกระทบต่อการสัง่ ซื้อมาก
น้อยเพียงใด
3
สั ดส่ วนหนีส้ าธารณะประเทศพัฒนาแล้ ว ปี 2553
หน่ วย:%ต่ อGDP
200
197.2
180
160
142.5
127
140
123.3
105.2
120
92.5
100
92.4
90.9
89.9
85.7
83.1
82
80
60
45
40
20
ไทย
ฉงั ก
ารี
แคน
นาด
า
องั ก
ฤษ
เย อ
รมน
ี
ตุเก
ส
โป ร
สหร
ฐั
เ ศส
ผรงั ่
ม
เบ ล
เยยี
กรซี
ี
อติ า
ล
ญ่ปี ่
ุน
ไอซ
แ์ ลน
ด์
0
4
ภาคการส่ งออกยังเป็ นกลไกขับเคลือ่ นเศรษฐกิจ
•
•
•
•
การส่ งออกครึ่ งปี แรกขยายตัวร้อยละ 42.6
การส่ งออกทั้งปี อาจขยายตัวได้ร้อยละ 22-25 จะสามารถขับเคลื่อนเศรษฐกิจได้
อย่างเห็นได้ชดั
ค่าระวางเรื อปรับสู งขึ้น และตูส้ ิ นค้าขาดแคลน แต่ส่งออกไทย 70% เป็ น FOB
(มิ.ย. 10-15%)
ปั ญหาของการลดกาลังซื้ อของประเทศ G20 อาจมีผลกระทบเป็ นนัยต่อภาคการ
ส่ งออกของไทย
สั ดส่ วนการส่ งออก
USA
10.9 %
EU
10.5 %
JAPAN 10.3 %
รวม
31.7%
5
วิกฤตของยุโรปจะทาให้ เศรษฐกิจโลกไม่ โตอย่ างทีค่ าด???
• เศรษฐกิจสหรัฐครึ่งปี หลังโต 1.5 %
• ปัญหาของ EU จะกระทบไปถึงสหรัฐอเมริกาการว่ างงาน 9.5 %
อุปสงค์ บ้านทรุ ด
• เงินยูโรอ่ อนค่ ากระทบการส่ งออกของสหรัฐ (EU/Baht 41.03)
และทาให้ ต้นทุนดอกเบีย้ และตราสารหนีส้ ู ง
6
การผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ น
• Q3 เงินบาทจะมีความผันผวนเนื่องจากผลกระทบการอ่ อน
ค่ าของเงินยูโรและเงินหยวนมีการยืดหยุ่นเพิม่ มากขึน้
• แรงกดดันของเงินสกุลเอเชียให้ มกี ารปรับตัวแข็งค่ าขึน้ ไป
ถึง 31.5 บาทต่ อ US Dollar
เงินหยวน
19 มิ.ย. 6.816/USD
22 มิ.ย. 6.789/USD
แข็งค่ า 1.049%
เงินสกุลยูโร
อ่อนค่ า 1.19/USD
สู งสุ ดในรอบ 10 ปี
7
ปัจจัยภัยแล้ งจะมีความรุนแรงมากน้ อยเพียงใด
• ปัญหาของสภาวะฝนทิ้งช่วงจะทาให้การทานาปี และผลผลิตทางการ
เกษตรได้รับผลกระทบ
• พืชเศรษฐกิจ เช่น ยาง , ปาล์มน้ ามัน , แป้ งมัน , น้ าตาล ยังมีราคาสูงทา
ให้การบริ โภคของเศรษฐกิจในกลุ่มนี้เป็ นบวก
8
แนวโน้ มการปรับอัตราดอกเบีย้ ของเงินเฟ้ อ
• ดอกเบี้ย RP อยูท่ ี่ร้อยละ 1.25 ทาให้ดอกเบี้ยไทยติดลบร้อยละ 2.25 ซึ่ง
ถือว่าสูงสุ ดในภูมิภาค(เงินเฟ้ อทัว่ ไป มิ.ย. = 3.5 %)
• ธปท.อาจปรับดอกเบี้ย Q3 - Q4 เป็ นร้อยละ 2.0
• ดอกเบี้ยที่ติดลบต่อเนื่องยาวออกไปมากอาจก่อให้เกิดการเก็งกาไร และ
การออมของประชาชนต่าลง
9
นโยบายประชานิยมของรัฐบาล
จะส่ งผลเสี ยต่ อเศรษฐกิจในระยะยาว
• นโยบายการตลาดปี ละ 100,000 ล้ านบาท จะทาให้ เป็ นภาระต่ องบประมาณ
และเพิม่ การขาดดุลงบประมาณ (งบประมาณปี 2554 = 2.070 ล้ านล้ านบาท)
• หนีส้ าธารณะของไทย อาจเข้ าสู่ จุดทีค่ วบคุมได้ ยาก
• เงินเฟ้ อทัว่ ไปจะรักษาฐานไว้ ที่ 3.5 %
• มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจจะทาให้ รัฐบาลมีรายจ่ ายเพิม่ ขึน้
โครงการโลจิสติกส์
ไฟฟ้าฟรี
รถเมล์ฟรี
รถไฟฟรี
อุดหนุน LPG
อุดหนุนNGV
อุดหนุนคนชรา
6.6 แสนล้านบาท
14,930 ล้านบาท
2,518 ล้านบาท
1,060 ล้านบาท
26,448 ล้านบาท
4,800 ล้านบาท
42,000 ล้านบาท
10
ทิศทางเศรษฐกิจไทยครึ่งปี หลัง
1.
ภาพร่ วมเศรษฐกิจไทยครึ่งปี หลังจะมีการฟื้ นตัวอย่ างเป็ นนัย
2. วิกฤตการเมืองภายในประเทศ ครึ่งปี หลังจะอยู่ในวงจากัด
(การเข้าออกสนามบินสุวรรณภูมิเดือนมิ.ย.ติดลบร้อยละ 9 จากเดิมเดือน พ.ค. ติดลบร้อยละ 19.2)
3. ภาคการส่ งออกยังสามารถขยายตัวได้ดี
11
ทิศทางเศรษฐกิจไทยครึ่งปี หลัง
3. เศรษฐกิจโลกจะไม่ถดถอยซ้าสองโดยเศรษฐกิจโลกขยายตัวเป็ นบวกที่
ร้ อยละ 4.6 และเศรษฐกิจเอเชียขยายร้ อยละ 7.5 (IMF) แต่มีความเสี่ ยง
จากวิกฤตการเงินของ EU ซึ่งไทยส่ งออกร้อยละ 10.5 และ ASIAN
ส่ งออก 13%
(สัดส่ วนการส่ งออกไปตลาดใหม่เพิม่ เป็ น 2 ใน 3 ของการส่ งออกรวม)
12
ทิศทางเศรษฐกิจไทยครึ่งปี หลัง
4.
เสถียรภาพการเงินไทยไม่ ได้ รับผลกระทบ และฐานะการคลังเป็ นบวก เพิ่มขึ้น
300,000 ล้านบาท ทุนสารองอยูใ่ นระดับสู ง 140,000 US Dollar และหนี้สาธารณะ
ของไทยเดือนมิถุนายนอยูท่ ี่อตั ราร้อยละ 42.39 (หนี้รัฐบาล 28.40% และหนี้
รัฐวิสาหกิจ 11.34%
5. สถาบันการเงินของไทยมีความแข็งแกร่ง
สภาพคล่องของสถาบันการเงินอยูท่ ี่ 1.8 ล้านล้านบาท สูง 3 เท่าของเงินที่
ต้องสารองตามกฎหมายและพึ่งพาเงินภายนอกน้อย (ฐานะกองทุน BIS เฉลี่ย
16% , NPL ทั้งระบบ 2.5%)
13
ทิศทางเศรษฐกิจไทยครึ่งปี หลัง
6. ทิศทางเศรษฐกิจไทยในครึ่งปี หลัง หากไม่มีปัญหาทางการเมือง ภาคเอกชน
จะเป็ นกลไกหลักในการขับเคลื่อน
- กาลังการผลิตของภาคอุตสาหกรรมใกล้ เคียงกับกลางปี 2552 อยู่ที่ 70 – 75 %
- การว่ างงานอยู่ในอัตราที่ต่ามากร้ อยละ 0.8
- การสั่ งซื้อเครื่องจักรเข้ ามาและการขอรับการส่ งเสริมการลงทุนก็มที ศิ ทางทีด่ ี
14
ความท้ าทายผู้ประกอบการไทย
1.
2.
3.
4.
5.
ปัจจัยเสถียรภาพทางการเมืองของรัฐบาลและการเมืองนอกสภายังคงมีอยู่
เศรษฐกิจโลกจะมีความผันผวน ไม่แน่นอนและจะไม่เติบโตในอัตราสูง
เหมือนในอดีต การแข่งขันจะรุ่ นแรงมากขึ้น
ราคาน้ ามันในไตรมาส 3 จะอยูใ่ นเกณฑ์เฉลี่ย 75 USD และราคา
โภคภัณฑ์ทางการเกษตรจะปรับตัวลดลง
อัตราเงินเฟ้ อใน ASIA และจีน จะสูง ทาให้สินค้าของคู่แข่งราคาสูง ไทย
ต้องรักษาอัตราเงินเฟ้ อทัว่ ไปไม่ให้เกิน 3.5% จะเป็ นโอกาสในการ
ส่ งออกของไทย
ประเด็นรัฐธรรมนูญ มาตรา 67(2) จะส่ งผลต่อการพัฒนาอุตสาหกรรม
และโครงสร้างพื้นฐานโลจิสติกส์
15
โจทย์ ของรัฐบาล
1. รัฐบาลต้องมีมาตรการในการสร้างความเชื่อมัน่ ให้กลับคืนมา
2. รัฐบาลจะต้องมีมาตรการที่เป็ นรู ปธรรมในการส่ งเสริ มการลงทุน
และการท่องเที่ยว
3. นักลงทุนเก่าจะไม่ยา้ ยฐานและเดินหน้าต่อไปแต่การลงทุน
โครงการใหม่ๆและนักลงทุนรายใหม่จะมีขอ้ จากัดด้านการลงทุน
ในไทย
4. การขับเคลื่อนการปรองดองแห่งชาติอย่างชัดเจน เร่ งมาตรการ
สมานฉันท์ให้กลับคืนมา
16
โจทย์ ด้านแรงงาน
รัฐบาลต้ องเร่ งแก้ ปัญหาแรงงานขาดแคลนทุกระดับ
1. การปรับเปลีย่ นนิยามคนชราจากอายุ 60 ปี เป็ น 65 ปี และขยายการเกษียณ
ของข้ าราชการบางกระทรวงเพือ่ ให้ ระบบข้ าราชการไม่ มาแย่ งแรงงาน
ภาคเอกชน
2. นโยบายทีช่ ัดเจนเรื่องแรงงานต่ างด้ าว โดยให้ เข้ ามาอยู่ในระบบและเข้ าสู่
ระบบประกันสั งคม
3. ประเทศมาเลเซียกาลังจะเปิ ดรับแรงงานต่ างด้ าว 2.0 ล้านคน มิฉะนั้น
ประเทศไทยจะยังมีปัญหาการขาดแคลนแรงงานในภาคการผลิต
4. การจูงใจให้ มีการรับนักเรียนสายอาชีวะให้ เพิม่ มากขึน้
17
โจทย์ ด้านแรงงาน
รัฐบาลต้ องเร่ งแก้ ปัญหาแรงงานขาดแคลนทุกระดับ
5.
6.
7.
8.
9.
การส่ งเสริมและให้ มีกองทุนการปรับปรุงเทคโนโลยีและเพิม่ Productivity
ให้ กบั แรงงานไทย
นโยบายทีเ่ ป็ นรูปธรรมในการส่ งเสริมอุตสาหกรรมชายแดน และการ
ลงทุนในประเทศเพือ่ นบ้ าน
ไม่ ควรใช้ มาตรการลดภาษีรายได้ ธุรกิจมาแลกกับการขึน้ ค่าแรงขั้นเพราะ
เป็ นคนละเรื่องกัน
ค่ าแรงขั้นใช้ เป็ นเพียงฐานการจ้ างขั้นต่าเท่ านั้น
ปัจจุบันแรงงานขาดแคลน 4 - 5 แสนคน ตลาดเป็ นของผู้ใช้ แรงงาน
โดยทัว่ ไปแรงงานไทยได้ รับค่าจ้ างทีส่ ู งกว่ า แรงงานขั้นต่าอยู่แล้ว
18
การเมือง 2 ขั้ว ปัจจัยเสี่ ยงประเทศไทย
•
•
•
•
พรก.ฉุกเฉินใช้นานไปเป็ นยาเสพติด ร่ องรอยความเครี ยดแค้นยังมีอยู่
การแย่งชิงอานาจทางการเมือง จาก 2 ขั้วจะยังมีต่อไป การมอมเมา
ประชาชนและประชานิ ยม จะมีดีกรี ที่สูงขึ้น ไม่สนใจผลกระทบที่จะ
ตามมาเพียงเพื่อต้องการคะแนนเสี ยง
ประชาธิปไตยไม่ใช่อยูท่ ี่การเลือกตั้ง ที่ลงทุนซื้อเสี ยงแล้ว มาโกงชาติ
การปรองดองไม่ใช่แต่เพียงเพื่อการสร้างภาพลักษณ์
19
ภาพรวมเศรษฐกิจไทย
หากรัฐมีมาตรการควบคุมให้ประเทศมีความสงบ เอกชนจะขับเคลื่ อน
เศรษฐกิ จให้มีการเติบโตได้ในปี นี้ ประมาณร้ อยละ 4.5 ถึง 5.8 โดยให้
รัฐบาลดาเนินการส่ งเสริ มด้านการส่ งออกและมาตรการเสริ มสภาพคล่อง
ให้กบั ภาค SME
ธปท. 5.0 – 5.8 %
สศช. 5.8 – 7.0 %
ก.คลัง 5.0 – 6.0 %
20
END
ต้ องการรายละเอียดเพิม่ เติม
www.tanitsorat.com
21