Sme กับผลกระทบทางเศรษฐกิจและการเมือง 22 มค 57

Download Report

Transcript Sme กับผลกระทบทางเศรษฐกิจและการเมือง 22 มค 57

SMEs กับผลกระทบเศรษฐกิจ
จากปัญหาการเมืองในประเทศและเศรษฐกิจโลกชะลอตัว
โดย ดร.ธนิต โสรัตน์
สภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย
วันจันทร์ ที่ 27 มกราคม 2557
ณ โรงแรมอิมพีเรียล ควีนส์ ปาร์ ค
1
ภาพรวมผลกระทบทีม่ ีต่อ SMEs

1.
2.
3.
4.
ด้ านเศรษฐกิจ
การส่ งออกของไทยในปี 2556 ถึงขั้นติดลบ (เดือนม.ค.-พ.ย. ติดลบร้ อยละ 0.49)
คาดว่ าการส่ งออกปี 2556 อาจขยายตัวติดลบร้ อยละ 0.245
ส่ งผลกระทบต่ ออุตสาหกรรม ทั้งอุตสาหกรรมนาเข้ าและอุตสาหกรรมเพือ่ ผลิต
จาหน่ ายในประเทศ รวมทั้งผลกระทบต่ อราคาสิ นค้ าเกษตรตกต่า
กระทบต่ อเนื่องไปสู่ ภาคการบริโภคทีช่ ะลอตัว คาดว่ าปี 2556 ภาคการบริโภค
เอกชนขยายตัวเพียงร้ อยละ 0.8
การลงทุนทีช่ ะลอตัว สะท้ อนจากการนาเข้ าเครื่องจักร เดือนพฤศจิกายน 2556 ติด
ลบร้ อยละ 18.2 ปัจจัยภายนอกส่ งผลต่ อเศรษฐกิจไทยทาให้ เอสเอ็มอี ได้ รับ
ผลกระทบ โดยยอดขายทั้งปี เฉลีย่ ลดลงร้ อยละ 15-20
2
ด้ านวิกฤติการเมืองในประเทศ
1.
2.
3.
รัฐบาลออก พ.ร.ก.บริหารราชการในสถานการณ์ ฉุกเฉินในเขตกรุ งเทพฯ
และพื้นที่ใกล้ เคียงเป็ นเวลา 60 วัน แสดงให้ เห็นถึงสถานะการเมืองใน
ประเทศมีความเข้ มข้ นมากขึน้
ผลกระทบที่มีต่อเศรษฐกิจ โดยเฉพาะเอสเอ็มอีซึ่งเกี่ยวข้ องกั บภาคการ
ท่ องเทีย่ วได้ รับผลกระทบค่ อนข้ างมาก
ผลกระทบมีต่อการเบิกจ่ ายของหน่ วยงานรั ฐ เฉพาะเดือน พ.ย.2556 ต่า
กว่ าเป้าหมายถึง 1 แสนล้านบาท ซึ่งจะส่ งผลต่ อการใช้ จ่ายภาคครัวเรือน
ให้ มีการชะลอตัวตามไปด้ วย
3
เศรษฐกิจโลกชะลอตัวและปัจจัยการเมืองในประเทศ
ส่ งผลกระทบต่ อภาคเศรษฐกิจของไทยครึ่งปี แรก
ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีจะเป็ นกลุ่มที่มีความเสี่ ยงและอ่ อนไหว จาเป็ นที่จะต้ องมี
มาตรการเร่ งด่ วน โดยเฉพาะมาตรการด้ านสภาพคล่ องเพื่อให้ สามารถประคอง
ธุรกิจจนกว่ าจะมีรัฐบาลใหม่ เข้ ามา
2. ด้ า นการลงทุ น ระยะสั้ นอาจยั ง ไม่ เ ห็ น แต่ ร ะยะยาวเชื่ อ ว่ า ย่ อ มมี ผ ลกระทบ
โครงการลงทุนขนาดใหญ่ ผ่านบีโอไอต้ องหยุดชะงัก เนื่องจากไม่ มีบอร์ ดที่จะ
ดาเนินการอนุมัตโิ ครงการ
3. ความเชื่ อมั่นของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมของ ส.อ.ท. เดือน ธ.ค.2556 อยู่ ที่
ระดับ 88.3 ต่าสุ ดในรอบ 25 เดือน และความเชื่ อมั่นเฉลี่ยของเอสเอ็ม อี (ของ
ส.อ.ท.จังหวัด) อยู่ทรี่ ะดับ 65
4. สานั ก งานเศรษฐกิจการคลัง ได้ ป รั บ ลดการเติบ โตทางเศรษฐกิจไทยเหลือ อยู่
ร้ อยละ 3.0 จากทีป่ ระเมินไว้ ก่อนหน้ านั้นว่ าจะขยายตัวได้ ทรี่ ้ อยละ 4.0-4.5
1.
4
ความเสี่ ยงทางด้ านเศรษฐกิจของ SMEs ปี 2557 (1)
แนวโน้ มธุรกิจ SMEs ยอดขายอาจทรงตัวหรือลดลงมากกว่ าปี ที่แล้ ว ปั ญหาใหญ่
ของเอสเอ็ ม อี น อกจากยอดขายจะทรงตัว และลดลงแล้ว ต้น ทุ น ยัง สู ง ขึ้ น และ
ระยะเวลาการชาระหนี้ ก็ถูกขยายออกไป ซึ่ งเป็ นผลกระทบต่อ เอสเอ็มอี มากที่สุด
และถือเป็ นปัจจัยเสี่ ยงมากกว่าการเมืองในประเทศ
2. การส่ งออกปี 2557 ยังอาจขยายตัวได้ ไม่ ดี สภาพคล่ องและการฟื้ นตัวของยุโรป
ญี่ ปุ่น และจี น ยังเป็ นอุ ปสรรค โดยเฉพาะในครึ่ งปี แรกของปี ความวุ่นวายทาง
การเมือง หากไม่เพิ่มความรุ นแรงเท่ากับปี 2553 จะไม่กระทบต่อภาคการส่ งออก
ถึงแม้ว่าผูส้ ั่งซื้ อจะลดความเชื่อมัน่ แต่สินค้าไทยมีคุณภาพ ทาให้เป็ นที่ตอ้ งการของ
ตลาด
3. ปัญหาการขาดสภาพคล่ องของ SMEs ยอดขายในปี 2556 ทั้งอุตสาหกรรมและ
บริ การ ยอดขายลดลงเฉลี่ ยร้ อยละ 15-20 จาเป็ นที่ จะต้องมี มาตรการต่างๆ ด้าน
การเงินให้กลุ่ม เอสเอ็มอี เข้าถึงแหล่งทุนได้อย่างแท้จริ ง
1.
5
ความเสี่ ยงทางด้ านเศรษฐกิจของ SMEs ปี 2557 (2)
4. ด้ านการลงทุนของ SMEs มีแนวโน้ มชะลอ การลงทุนในช่วงนี้ จึงมีความเสี่ ยง เอสเอ็ม
อี ซึ่ งมีความยืดหยุน่ สู ง ส่ วนใหญ่จะรอดูสถานการณ์การเมืองซึ่ งคาดว่าอย่างน้อยจนถึง
กลางปี จึงจะเห็นภาพที่ชดั เจน
5. ความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทผัน ส่ วนใหญ่เอสเอ็มอีไม่สามารถที่จะประกัน
ความเสี่ ยงอัตราแลกเปลี่ยน หรื อ Hedging เนื่ องจากต้องมีวงเงินกับทางธนาคาร สาหรับ
เอสเอ็มอีที่มีการนาเข้าทั้งทางตรงและทางอ้อมจะได้รับผลกระทบจากต้นทุนการผลิตที่
สู งขึ้น ขณะเดียวกัน ไม่สามารถปรับราคาสิ นค้าได้ เพราะมีการแข่งขันสู ง
6. วิกฤติการเมืองในประเทศยืดเยือ้ กระทบความเชื่อมั่นของเอสเอ็มอี ผลจากการชัตดาวน์
กรุ งเทพ ไม่ได้ส่งผลกระทบโดยตรงต่อผูป้ ระกอบการเอสเอ็มอีซ่ ึ งเป็ นอุตสาหกรรมใน
ต่างจังหวัด สถานการณ์การเมืองในประเทศมีผลกระทบต่อภาคการผลิตน้อยกว่าปั จจัย
จากต่างประเทศ เพราะการผลิ ตในภาคอุ ตสาหกรรมกว่าร้ อยละ 60 เกี่ ยวข้องกับการ
ส่ งออก
6
SMEs กับผลกระทบวิกฤติการเมืองในประเทศ
ไม่ ได้ รับผลกระทบอย่ างชัดเจนจากการชุ มนุมทางการเมืองในกทม.
2. โรงงานอุตสาหกรรมส่ วนใหญ่ อยู่ในเขตปริมณฑลและต่ างจังหวัด ยัง
สามารถส่ งมอบวัตถุดบิ และวัสดุทใี่ ช้ ในการผลิตได้ อย่ างต่ อเนื่อง
3. การนาเข้ าและการส่ งออกส่ วนใหญ่ ใช้ ท่าเรือ แหลมฉบัง ยังสามารถ
ดาเนินการได้ ไม่ ติดขัด
4. ผู้ประกอบการมีความวิตกกังวลต่ อความเชื่อมั่น รวมถึงการบริโภคของผู้ซื้อ
หากการเมืองในประเทศยืดเยือ้ และเพิม่ ความรุนแรง อาจกระทบต่ อการ
ดาเนินธุรกิจในอนาคต
5. การสารวจความเชื่อมั่นเอสเอ็มอี (ของส.อ.ท.) พบว่ า ความเชื่อมั่นส่ วนใหญ่
อยู่ตา่ กว่ าระดับ 50 ซึ่งเป็ นระดับทีต่ ่ามาก
1.
7
รายงานผลจากการสารวจความคิดเห็น
ผู้ประกอบการ SMEs (ต่ างจังหวัด)
ต่ อผลกระทบจากการเมืองในประเทศและเศรษฐกิจโลกชะลอตัว
โดย สายงานสภาอุตสาหกรรมจังหวัด
สภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย
วันจันทร์ที่ 27 มกราคม 2557
ณ โรงแรมอิมพีเรี ยล ควีนส์ ปาร์ค
8
ผลประเมินจากแบบสารวจความคิดเห็น
1. แนวโน้ มผลประกอบการ SMEs ลดลงกว่ าปี ทีแ่ ล้ ว
โดยผู้ ต อบแบบสอบถามร้ อ ยละ 70 ประเมิ น ว่ า ผล
ประกอบการปี 2557 จะแย่ก ว่ า ปี ที แ ล้ว ขณะที่ ร้ อ ยละ 20
กระทบเล็กน้อย และร้อยละ 10 ผลประกอบการใกล้เคียงหรื อ
เท่ากับปี ที่แล้ว โดยผูต้ อบแบบสอบถาม ไม่มีรายใดแจ้งว่าผล
ประกอบการดีข้ ึนกว่าปี ที่แล้ว
9
ผลประเมินจากแบบสารวจความคิดเห็น
2. ปัญหาด้ านการแข่ งขันราคามีผลกระทบต่ อ SMEs มากทีส่ ุ ด
ผูต้ อบแบบสอบถามร้ อยละ 50 แจ้งว่า มีปัญหาด้านการ
แข่ ง ขัน ราคา มี ผ ลกระทบมากที่ สุ ด ขณะที่ ร้ อ ยละ 40
มีปัญหาด้านการแข่งขันราคาระดับปานกลาง และ ผลกระทบ
ด้านราคาระดับน้อย ร้อยละ 10 โดยผูต้ อบแบบสอบถามไม่มี
รายใดแจ้งว่าไม่ได้รับผลกระทบจากการแข่งขันด้านราคา
10
ผลประเมินจากแบบสารวจความคิดเห็น
3. ยอดขายของ SMEs ปี 2557 คาดว่ าจะลดลงอย่ างมาก
จากแบบสอบถามพบว่า ผูป้ ระกอบการ เอสเอ็มอี ร้อยละ
40 ยอดขายปี 2557จะลดลงจากปี ที่ แ ล้ว อย่ า งมาก และ
ผูป้ ระกอบการที่มียอดขายลดลงเล็กน้อย ร้อยละ 50 ยอดขาย
เท่าเดิม ร้อยละ 10 โดยไม่มีผปู้ ระกอบการรายใดแจ้งว่าจะมี
ยอดขายดีข้ ึนกว่าปี ที่แล้ว
11
ผลประเมินจากแบบสารวจความคิดเห็น
4.ความเชื่อมั่นของ SME อยู่ในระดับตา่ สุ ด
SME มีความเชื่อมัน่ ต่ากว่าระดับ 50 ซึ่ งเป็ นระดับที่ต่ามาก
คิดเป็ นร้อยละ 70 ขณะที่ความเชื่อมัน่ ระดับเฉลี่ย 65-70 ซึ่ งเป็ น
ระดับความเชื่ อมัน่ ปานกลางมีผตู้ อบแบบสอบถามคิดเป็ นร้อย
ละ 20 ส่ วนผูป้ ระกอบการที่ ยงั ให้ความเชื่ อมัน่ ในระดับดี ที่
ระดับ มากกว่ า 80 มี ผูต้ อบแบบสอบถามคิ ด เป็ นร้ อ ยละ 10
ขณะเดียวกัน ไม่มีผปู้ ระกอบการ SME รายใดเชื่อมัน่ ว่าธุรกิจปี
2557 จะอยูท่ ี่ระดับ 100 ซึ่งถือเป็ นระดับดี
12
ผลประเมินจากแบบสารวจความคิดเห็น
5. ต้ นทุนสู ง การขาดแคลนแรงงาน และสภาพคล่ องเป็ นปัญหาสาคัญ
ของเอสเอ็มอี
จากแบบสอบถามปั ญ หาในการประกอบธุ ร กิ จ ของเอสเอ็ ม อี
เรี ยงลาดับความสาคัญมีดงั นี้
1) การเผชิญต่อต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น
3) การขาดสภาพคล่องทางธุรกิจ
5) การขาดแคลนและเข้าถึงวัตถุดิบ
2) การขาดแคลนแรงงาน
4) ปัญหาด้านการตลาด
6) ปัญหาค่าครองชีพสูง
13
ข้ อเสนอแนะแนวทางการทีต่ ้ องการให้ ภาครัฐช่ วยเหลือ
1) แก้ ไขปัญหาความขัดแย้ งทางการเมืองให้ เร็วที่สุด เพราะวิกฤติการเมืองใน
ประเทศหากยืดเยื้อ หรื อมีความรุ นแรง กลุ่ม เอสเอ็มอี จะได้รับผลกระทบ
มากที่สุด
2) ช่ วยเหลือด้ านสภาพคล่อง โดยให้เอสเอ็มอีเข้าถึงแหล่งทุนได้อย่างแท้จริ ง
3) การรักษาเสถียรภาพของค่ าเงินบาท ไม่ให้ผนั ผวนมากเกินไป
4) การช่ วยเหลื อ ยกระดั บ มาตรฐานการผลิ ต และการลดต้ น ทุ น ให้ กั บ
ผู้ประกอบการเอสเอ็มอี รวมถึงการตรึงอัตราค่ าจ้ างขั้นต่า 300 บาท โดย
ไม่ ควรน ามาเป็ นนโยบายหาเสี ยงของพรรคการเมื อง โดยการก าหนด
ค่าจ้างขั้นต่าให้เป็ นกลไกของคณะกรรมการไตรภาคี ซึ่ งภาครัฐไม่ควรเข้า
มาแทรกแซง
14
ข้ อเสนอแนะแนวทางการทีต่ ้ องการให้ ภาครัฐช่ วยเหลือ (2)
5) แก้ ไขกฎหมายที่เป็ นอุปสรรคต่ อการประกอบธุ รกิจของเอสเอ็มอี เช่ น
ภาษีหัก ณ ที่จ่ายประเภทต่างๆ ทาให้เงิ นของ เอสเอ็มอี ไปอยู่ที่ภาครั ฐ
และขอคืนได้ยาก
6) ให้ มีการแก้ปัญหาการทุจริตคอร์ รัปชั่นอย่ างจริงจัง
7) ขอให้ ธนาคารพาณิชย์ และธนาคารของรั ฐยืดอายุหนี้ของผู้ประกอบการ
เอสเอ็มอี โดยเฉพาะผูป้ ระกอบการด้านท่องเที่ยวทั้งทางตรงและทางอ้อม
ซึ่ ง ได้รั บ ผลกระทบจากปั ญ หาการเมื อ งภายในประเทศ และจากการ
ประกาศ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน
8) ขอให้ มีการจัดระเบียบแรงงานต่ างด้ าวให้ มีความชัดเจน เพื่อที่จะสามารถ
น า แ ร ง ง า น ต่ า ง ด้ า ว เ ข้ า ม า ร อ ง รั บ ก า ร ข า ด แ ค ล น แ ร ง ง า น ใ น
ภาคอุตสาหกรรม
15
END
ข้ อมูลเพิ่มเติมที่ www.tanitsorat.com
16