ยุทธศาสตร์ยางไทย

Download Report

Transcript ยุทธศาสตร์ยางไทย

การเข้ าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
ของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ ยาง
โดย
ดร.ธนิต โสรัตน์
รองประธานคณะทางานเศรษฐกิจมหภาค การเงิน การคลัง
สภาทีป่ รึกษาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ
และรองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย
วันที่ 25 กันยายน 2555
ณ สภาทีป่ รึกษาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ
1
อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ ยาง
2554 ที่ผา่ นมาประเทศไทยส่ งออกยางพาราในรู ปแบบยางแผ่นดิบมูลค่า 383,318 ล้านบาท
และผลิตภัณฑ์ยาง 252,984 ล้านบาท (ข้อมูล สศก.ปี 2554)
 ไทยเป็ นหนึ่ งในไม่ กี่ประเทศในโลกที่ สามารถเพาะปลูกยางได้ ด้วยความเหมาะสมของ
สภาพภูมิอ ากาศ ทาให้ผลผลิ ตยางของไทยมี ปริ มาณและคุ ณภาพที่ ดี สามารถนามาผลิ ต
ผลิตภัณฑ์ยาง
 ผลิตภัณฑ์ยางมีมูลค่าอยูใ่ นลาดับต้นๆ และมีอตั ราการเติบโตสู งขึ้นอย่างต่อเนื่ อง ก่อให้เกิด
การจ้างงานในภาคเกษตรกรกว่า 6 ล้านคนและแรงงานในอุตสาหกรรมกว่า 200,000 คน
 ปี
www.tanitsorat.com
2
ปัญหาของการยกระดับการพัฒนาอุตสาหกรรมยาง
1. ประเทศไทยเป็ นผู้ส่งออกยางอันดับ 1 ของโลก มีปริ มาณการผลิตยางพาราประมาณ 3.4
ล้านตันต่อปี โดยส่ งออก(เชิงปริ มาณ) ผลิตภัณฑ์ยางแปรรู ปขั้นต้นสู งถึงร้อยละ 86 (คิด
เป็ นมูลค่าร้อยละ 60 ของมูลค่าการส่ งออกยางทั้งหมด) และร้อยละ 14 เป็ นผลิตภัณฑ์
แปรรู ปยางมีมูลค่าถึงร้อยละ 40 (ข้อมูลปี 2554)
2. ขาดการบูรณาการคลัสเตอร์ ยาง ขาดการเชื่ อมโยงและไม่ เอือ้ ซึ่ งกันและกัน ทั้งต้นน้ ากลางน้ าและปลายน้ า โดยโครงสร้างการผลิตยังเป็ นแบบต่างคนต่างทา
3. การขาดยุ ท ธศาสตร์ แ ปรรู ป ผลิต ภั ณ ฑ์ ย างเป็ นวาระแห่ ง ชาติ ประเทศไทยขาดทิ ศ
ทางการพัฒนายกระดับอุตสาหกรรมยางและขาดการวางยุทธศาสตร์ อย่างเป็ นระบบใน
การแปรรู ปยางดิบไปเป็ นผลิตภัณฑ์ยางเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มจากผลิตภัณฑ์ยาง
4. ขาดนวัตกรรมและการวิจัย ด้านการพัฒนาการใช้ประโยชน์จากยางธรรมชาติ ไปสู่
วัตถุดิบอื่นๆ อย่างเป็ นเชิงธุรกิจ เช่น ส่ งเสริ มการใช้ยางในการปูพ้นื งาน ,พื้นถนน ฯลฯ
www.tanitsorat.com
3
เปรี ยบเทียบปริมาณและมูลค่ าการส่ งออกยางพาราของไทย
ปริมาณการส่ งออก
ยาง 3.4 ล้านตัน
มูลค่ าการส่ งออกยาง
636,302 ล้านบาท
14%
ผลิตภัณฑ์
ยางแปรรู ป
ยางล้อยางยนต์
อืน่ ๆ
86%
40%
60%
ข้อมูล : สศก.ปี 2554
ข้อมูล : สกว. ปี 2546
www.tanitsorat.com
4
การเพิม่ มูลค่ าผลิตภัณฑ์ ยางกลางนา้
ตัวอย่ างการเชื่อมโยงคลัสเตอร์ ยางกับภาคอุตสาหกรรม
1. อุ ต สาหกรรมปิ โตรเคมี ซึ่ งผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างสั ง เคราะห์ (SBR และ BR)
อุ ต สาหกรรมเคมี ซ่ ึ งผลิ ต สารเคมี ย าง (เขม่ า ด า ซิ ลิ ก า ซิ งค์ อ อกไซด์
กรดสเตียริ ด)
2. อุตสาหกรรมเส้ นใยและสิ่ งทอ ซึ่งผลิตวัสดุเสริ มแรงสาหรับผลิต
3. อุตสาหกรรมยานยนต์ ซึ่งมียางรถยนต์ขอบประตูและชิ้นส่ วนยานยนต์ซ่ ึงใช้ยาง
ธรรมชาติเป็ นวัตถุดิบ
4. อุตสาหกรรมไม้ ยางแปรรู ปและกลุ่มอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์
5. อุตสาหกรรมก่ อสร้ าง และระบบชลประทาน
6. ฯลฯ
www.tanitsorat.com
5
ผลิตภัณฑ์ ยางจากนา้ ยางข้ น
1. อุปกรณ์ทางการแพทย์
- ถุงมือยาง
- ถุงยางอนามัย
- สายน ้าเกลือ
- ท่อสวนปั สสาวะ
- อื่นๆ
2. อุปกรณ์ทวั่ ไป
- สายยางยืด
- ลูกโป่ ง
- ฟองน ้า
- ที่นอน
- โฟมยาง
- หัวนมยาง
- ดอกไม้ ประดิษฐ์
- ของเล่น
- อื่นๆ
ผลิตภัณฑ์ ไม้ ยางพารา
1. เฟอร์ นิเจอร์ ไม้ ยาง
2. ผลิตภัณฑ์ไม้
- เครื่ องเรื อนเครื่ องใช้ ทาด้ วยไม้
- กรอบไม้
- รูปแกะสลักและเครื่ องประดับ
3. วัสดุก่อสร้ างทาด้ วยไม้
- ไม้ ปาร์ เก้ ไม้ พื ้น
- ไม้ เสา เช่น ไม้ นงั่ ร้ าน ไม้ สาเข็ม
4. ไม้ และผลิตภัณฑ์ไม้ แผ่น
5. เชื ้อเพลิง เช่น ฟื นและถ่าน
6. ของเล่นไม้
7. เยื่อกระดาษ
ผลิตภัณฑ์ ยางชิน้ ส่ วนยานยนต์
- ยางรับแรงสัน่ สะเทือน
- ยางขอบกระจก/ประตู
- ท่อยาง
- สายพานขับ
- ซิล/ ปะเก็น
- เบาะที่นงั่
- อื่นๆ เช่น ยางปั ดน ้าฝน ฉนวนสายไฟ
การส่ งเสริ มอุตสาหกรรมแปรรู ปยาง
ธรรมชาติในภาคอุตสาหกรรม(ปลายน้ า)
ผลิตภัณฑ์ ยางล้ อยานยนต์
- ยางล้ อรถยนต์
- ยางล้ อรถบรรทุก
- ยางล้ อรถใช้ ในอุตสาหกรรม
- ยางล้ อ รถใช้ ในการเกษตร
- ยางล้ อ รถจักรยาน
- ยางล้ อเครื่ องบิน
- ยางใน
ผลิตภัณฑ์ ยางอื่นๆ
- ยางรัดของ
- รองเท้ า/พื ้นรองเท้ า
- ลูกกลิ ้งยาง
- ผลิตภัณฑ์กีฬาอื่นๆ
- ผลิตภัณฑ์สายพาน
- อื่นๆ
www.tanitsorat.com
ผลิตภัณฑ์ ยางที่ใช้ ในงาน
ก่ อสร้ าง
- ยางปูพื ้น
-- ยางคันถนน
้
-- ยางรองรางรถไฟ
-- ฝายยาง
-- ท่อยาง (ส่งน ้า, ดูดแร่)
-- ยางรองคอสะพาน/ทางยกระดับ
-- ยางรองฐานตึก
-- ยางกันชนท่าเรื อ
-- ยางกันซึม
-- ยางรอยต่อคอนกรี ต
-- ยางบล็อคปูพื ้น
-อื่นๆ
6
ศักยภาพในการแข่ งขันของอุตสาหกรรมยางไทย
1. ประเทศมาเลเซียเป็ นผู้ผลิตส่ งออกอันดับ 1 ในผลิตภัณฑ์ แปรรู ปยาง มีการพัฒนา
เทคโนโลยีการผลิตการแปรรู ป และเป็ นประเทศผูน้ าและสามารถผลิตผลิตภัณฑ์ยางได้
อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
2. ขาดแผนพัฒนาอุตสาหกรรมแบบยัง่ ยืน ประเทศไทยขาดการสนับสนุนอย่างจริ งจัง ขาด
การวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต และแปรรู ปยางพาราอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
3. ขาดแคลนแรงงานในการทาสวนยาง เป็ นปั ญหาใหญ่ในอนาคต โดยเฉพาะหลังการเปิ ด
ประเทศพม่าจะทาให้ขาดแคลนแรงงานอีกทั้งการส่ งเสริ มการปลูกยางพาราในพม่า, ลาว,
กัมพูชา และจีนตอนใต้ ซึ่ งยังมีแรงงานอีกมากจะทาให้ขีดความสามารถในการแข่งขัน
ของไทยลดลง
4. การพัฒนาสร้ างขีดความสามารถในการแข่ งขันของผู้ประกอบการให้สามารถนายางไป
แปรรู ปและสร้างมูลค่าในการส่ งออกให้มากขึ้น เช่น การเร่ งจัดตั้งสถาบันพัฒนา
อุตสาหกรรมยางพาราขึ้น เพื่อดูแลอุตสาหกรรมการผลิตขั้นปลายน้ า
www.tanitsorat.com
7
แนวทางการเตรียมความพร้ อมของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ ยางเพือ่ รองรับ AEC
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ส่ งเสริมด้ านเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อจัดการต้นทุนอย่างมีประสิ ทธิภาพ มีการนา
เครื่ องจักรและเทคโนโลยีที่ทนั สมัยเข้ามาใช้ในกระบวนการผลิต
การรวมกลุ่ม (Cluster) ยางทั้งต้ นน้า-กลางน้าและปลายน้า เพื่อเสริ มกิจการซึ่งกันและกัน
อย่างครบวงจรซึ่งจะทาให้ราคายางมีเสถียรภาพขณะเดียวกันทาให้เกิดอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
จากการแปรรู ปน้ ายาง
การสนับสนุนการเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมสนับสนุนต่ างๆ รวมทั้งธุรกิจให้บริ การ สมาคม
การค้า สถาบันการศึกษา สถาบันวิจยั พัฒนา ตลอดจนหน่วยงานภาครัฐต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อ
เพิ่มความสามารถในการแข่งขันที่ยงั่ ยืน
การเสริมสร้ างนวัตกรรมร่ วมกันในกลุ่มอุตสาหกรรม
แสวงหาตลาดและลูกค้ ากลุ่มเป้ าหมายใหม่ ควบคู่ไปกับการติดตามสถานการณ์การ
เปลี่ยนแปลงของคู่แข่งและคู่คา้ อย่างสม่าเสมอ พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีรูปแบบที่หลากหลาย
ส่ งเสริมให้ ประเทศไทยเป็ นฐานการผลิตสาคัญของยางล้ อ-ถุงมือ-ถุงยางอนามัย ทั้งในระดับ
อาเซียนและระดับโลก
8
www.tanitsorat.com
การมียทุ ธศาสตร์ เสถียรภาพราคายางอย่ างยัง่ ยืน
ราคายางวันนีม้ ีปัจจัยจาก......
1.
2.
3.
4.
5.
ประเทศอินโดนีเซียเข้ าสู่ ฤดูกาลยางผลัดใบ ส่ งผลให้กระทบอุปทานยางโลกที่ลดลงและประเทศ
มาเลเซียสัง่ ยางเข้าในประเทศเพื่อนาไปผลิตเป็ นสิ นค้ากลาง-ปลายน้ ามากขึ้น
กลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมในประเทศสหรัฐและยุโรปกลับมาทาการผลิต จากช่วงที่ผมมาได้มีการ
หยุดพักผ่อนประจาปี
มาตรการผ่ อนคลายทางการเงินรอบที่ 3 (QE3) เพื่อกระตุน้ การฟื้ นตัวของเศรษฐกิจ
ภายในประเทศสหรัฐ ส่ งผลต่อการเก็งกาไรในตลาดสิ นค้าโภคภัณฑ์ และยางพารา
ภาครัฐมีมาตรการยกระดับราคายางให้ สูงขึน้ โดยอนุมตั ิวงเงินเพิม่ เติม 30,000 ล้านบาทดาเนิน
โครงการพัฒนาศักยภาพสถาบันเกษตรกรเพื่อรักษาเสถียรภาพราคายาง
การอัดฉีดเม็ดเงินในโครงการรักษาเสถียรภาพราคายาง 15,000 ล้ านบาท ให้ผสู้ ่ งออกยางบริ หาร
การจัดเก็บสต็อก (ไม่ใช่แนวทางที่ยงั่ ยืนแท้จริ งในการรักษาเพดานราคายางไม่ให้ต่ากว่าที่เป็ นอยู)่
www.tanitsorat.com
9
ข้ อเสนอแนะ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
การมีมาตรฐานเสถียรภาพราคายางอย่างยัง่ ยืน ไม่ใช่กลายเป็ นพืชการเมือง
ยุทธศาสตร์ ประเทศไทยเป็ นศูนย์ กลางแปรรู ปของภูมภิ าค ศูนย์กลางการผลิตยางรถยนต์ ถุงมือยาง และ
ถุงยางอนามัย ผลิตภัณฑ์ข้นั สุ ดท้ายของการแปรรู ปยาง
ภาครัฐและ BOI จะต้ องส่ งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมปลายนา้ ที่มีการใช้น้ ายางเป็ นวัตถุดิบปริ มาณ
มากโดยเฉพาะล้อยาง (ใช้วตั ถุดิบร้อยละ 85) และถุงมือยาง(ใช้วตั ถุดิบร้อยละ 15)
ค้ นคว้ าวิจัยผลิตภัณฑ์ ปลายนา้ สาหรับอุตสาหกรรมยาง และการมีงบประมาณสนับสนุนการวิจยั และ
พัฒนาแปรรู ปน้ ายางไปสู่อุตสาหกรรมใหม่
การบริหารจัดการเงินสะสมกองทุนส่ งออกยางพารา (CESS) อย่ างมีประสิ ทธิภาพ เพื่อการวิจยั ด้านการ
พัฒนายางให้เหมาะสมจากผลิตภัณฑ์ที่มี เช่น ล้อยาง ถุงมือยาง และการพัฒนาคุณภาพของอุตสาหกรรม
ไทยควรผลักดันให้ มกี ารกาหนดมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ นา้ ยางข้ นและไม้ แปรรู ปจากยางพารา เพื่อ
ปกป้ องการถูก NTB หรื อการถูกแย่งตลาดในอนาคต
การควบคุมราคายางให้ เหมาะสมเพือ่ จูงใจให้ เกิดการแปรรู ปยางข้ นไปสู่อุตสาหกรรมแปรรู ปและ
ผลิตภัณฑ์ยาง เพราะหากราคายางกลางน้ าสู งเกินไป ผูผ้ ลิตปลายน้ าอาจไม่สามารถแข่งขันด้านราคาได้
www.tanitsorat.com
10
END
ข้ อมูลเพิม่ เติมที่ www.tanitsorat.com
11