Transcript Џ*ࡱ*က
Banking For
Agriculture
ผ้ จู ดั ทำ
นำงสำวณฐำพร กำชัย
นำงสำวปภำวี พิพฒ
ั นลักษณ์
นำงสำวปวีณำ ยีว่ ิชัย
4345524429
4345552029
4345557129
ประวัติการก่ อตั้ง
พ.ศ. 2490 รัฐบาลได้ ตงั ้ ธนาคารเพื่อการสหกรณ์ขึ ้น
พ.ศ. 2509 รัฐบาลจึงได้ พิจารณาจัดตัง้ ธนาคารขึ ้นใหม่
เพื่อทาหน้ าที่แทน คือธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การ
เกษตร (ธ.ก.ส.) โดยให้ เป็ นสถาบันระดับชาติ มีฐานะเป็ น
รัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง ทาหน้ าที่อานวยสินเชื่อ ให้ แก่
เกษตรกร อย่างกว้ างขวาง ทังในด้
้ านเกษตรกรโดย ตรง และ
สถาบันเกษตรกร
วัตถุประสงค์
มุง่ ให้ ความช่วยเหลือทางการเงิน เพื่อส่งเสริ ม อาชีพ
การเกษตร หรื อการดาเนินงาน ของ เกษตรกร กลุม่
เกษตรกร หรื อสหกรณ์การเกษตร ตลอดจนส่งเสริ มให้
เกษตรกร กลุม่ เกษตรกร หรื อ สหกรณ์การเกษตร สามารถ
ประกอบอาชีพอย่างอืน่ ที่เกี่ยวเนื่องในการเกษตร เพื่อเพิ่ม
รายได้ ให้ แก่ ครอบครัวเกษตรกร รวมทังให้
้ บริ การรับ ฝาก
เงิน เช่นเดียวกับธนาคารพาณิชย์ทวั่ ไปอีกด้ วย
วิสัยทัศน์
ธ.ก.ส. จะเป็ นธนาคารเพื่อการพัฒนาชนบทชันน
้ า
ในภูมิภาคเอเซียและแปซิฟิค โดยมุง่ เน้ นการยกระดับ
คุณภาพชีวิตของประชาชน ควบคูก่ บั การส่งเสริ มการ
ใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ และการดูแลสิง่ แวดล้ อมแบบ
ยัง่ ยืน
บริ การของธกส.
บริ กำรด้ ำนสินเชื่อ
บริ กำรด้ ำนเงินฝำกและบริ กำรต่ อเนื่อง
บริ กำรด้ ำนกำรเงิน และกำรธนำคำร
บริ กำรด้ ำนสินเชื่อ
1. ด้ านสิ นเชื่อเกษตรกรรายคน
เป็ นการให้เงินกูแ้ ก่เกษตรกรรายคนโดยตรง ซึ่งเกษตรกรผูจ้ ะขอกูเ้ งิน
จาก ธ.ก.ส.ได้ จะต้องขึ้นทะเบียน เป็ นลูกค้าของ ธ.ก.ส. ก่อน
โดยแจ้งความประสงค์ ต่อพนักงานพัฒนาธุรกิจของ ธ.ก.ส. ประจา
สาขา หรื อหน่วยอาเภอ ที่ต้ งั อยูใ่ นท้องที่ ที่เกษตรกรผูน้ ้ นั มีถิ่นที่อยู่
พนักงานของ ธ.ก.ส. จะให้ความช่วยเหลือ และแนะนา วิธีการต่าง
ๆ ในการขึ้นทะเบียนเป็ นลูกค้าของ ธ.ก.ส.
คุณสมบัติของผู้ทจี่ ะเข้ าเป็ นลูกค้ า
เกษตรกรผู้ทจี่ ะขอขึน้ ทะเบียนเป็ นลูกค้ าของ ธ.ก.ส. จะต้ องมีคุณสมบัติดังนี้
1. เป็ นเกษตรกรตามข้อบังคับของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
(ธ.ก.ส.)
2. .ต้องบรรลุนิติภาวะ
3. มีสัญชาติไทย
4. มีความชานาญหรื อได้รับการฝึ กอบรมในการเกษตรมาแล้วพอสมควร
5. มีถิ่นที่อยูแ่ ละประกอบอาชีพการเกษตรส่ วนใหญ่ ในท้องที่ดาเนินงาน ของ
สาขา ซึ่ งตนขอขึ้น
ทะเบียนเป็ นลูกค้าประจามาแล้ว เป็ นเวลาติดต่อกัน ไม่
น้อยกว่า 1 ปี
6. เป็ นผูก้ ่อให้เกิดผลิตผลการเกษตร เพื่อขายในปี หนึ่ง ๆ เป็ น
มูลค่าพอสมควร หรื อมีล่ทู าง จะปรับปรุ งการเกษตร ให้มีรายได้
เพียงพอ ที่จะชาระหนี้ได้
7. เป็ นผูม้ ีความซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันขันแข็งในการประกอบอาชีพ มี
ชื่อเสี ยงดี และรู ้จกั ประหยัด
8. ไม่เป็ นบุคคลวิกลจริ ต หรื อจิตฟั่นเฟื อนไม่สมประกอบ
9. ไม่เป็ นบุคคลล้มละลาย หรื อเป็ นผูม้ ีหนี้สินล้นพ้นตัว
10. ไม่เคยถูกให้ออกจากการเป็ นลูกค้าประจาสาขา และปัจจุบนั ไม่ได้
เป็ นผูก้ เู้ งิน ของสหกรณ์การเกษตร กลุ่มเกษตรกร หรื อสถาบันใด ๆ ที่
ดาเนินธุรกิจ ทางด้านสิ นเชื่อเพื่อการเกษตร
ประเภทเงินกู้
เก็บ
เงินกู้ระยะสั้ นเพือ่ การผลิต
มีวตั ถุประสงค์ เพื่อเป็ นค่าใช้จ่าย ในการผลิตทางการเกษตร สาหรับฤดูกาลผลิตหนึ่ง
เงินกู้ระหว่ างรอการขายผลิตผล
มีวตั ถุประสงค์ เพื่อเป็ นค่าใช้จ่าย ในระหว่างรอการขาย ผลผลิต เพื่อให้เกษตรกร สามารถ
ผลิตผล ไว้รอราคาได้ โดยไม่จาเป็ นต้องขาย ในช่วงที่ผลิตผล ออกสู่ตลาด เป็ นจานวนมาก และ
ราคาตกต่า
เงินกู้ระยะปานกลาง
มีวตั ถุประสงค์ เพื่อการลงทุน ในทรัพย์สิน การเกษตร ซึ่งมีอายุใช้งานได้เกินกว่า 1 ปี
เงินกู้เครดิตเงินสด
เป็ นเงินกูร้ ะยะสั้น เพื่อการผลิตอย่างหนึ่ง เกษตรกรลูกค้า ทาสัญญาเงินกู้ ในเครดิตเงินสด
ไว้เพียง ครั้งเดียว ก็สามารถ เบิกรับเงินกูไ้ ด้หลายครั้ง ภายในวงเงินกูท้ ี่กาหนด และภายใน
ระยะเวลา แห่งสัญญา
กู้ ซึ่งมีระยะเวลาไม่เกิน 5 ปี
เงินกู้ระยะยาวเพือ่ ชาระหนีส้ ิ นเดิม
เพื่อนาไปชาระหนี้สินเดิม หรื อเพื่อนาไปไถ่ถอน หรื อซื้อคืนที่ดินการเกษตร ซึ่ง
เดิมเคยเป็ นของตนหรื อคู่สมรส หรื อบุตร หรื อเป็ นของบิดาหรื อมารดา
เงินกู้ระยะยาวเพือ่ การเกษตร
เพื่อเป็ นค่าลงทุนในสิ นทรัพย์ประจา ทางการเกษตร หรื อเพื่อปรับปรุ ง หรื อ
เปลี่ยนแปลง หรื อวางรู ปแบบการผลิตขึ้นใหม่ ซึ่งมีการลงทุนสูง และต้องใช้เวลานาน
เงินกู้สาหรับการประกอบอาชีพอย่ างอืน่ ที่เกีย่ วเนื่องในการเกษตร
เพื่อเป็ นค่าใช้จ่าย และ/หรื อเป็ นค่าลงทุน สาหรับดาเนินงาน ในการประกอบ
อาชีพอย่างอื่น ที่เกี่ยวเนื่องในการเกษตร ซึ่งเป็ นการ นาเอาผลิตผลการเกษตร ของ
เกษตรกรเอง หรื อจัดหาจากแหล่งอื่น มาแปรรู ปเป็ นสิ นค้าสาเร็ จรู ป หรื อกึ่งสาเร็ จรู ป
เพื่อจาหน่าย รวมถึงการประกอบอาชีพ ที่เกี่ยวกับการผลิต หรื อการบริ การ ด้านปั จจัย
การผลิต ทางการเกษตรด้วย เงินกูป้ ระเภทนี้จาแนกได้เป็ น 2 ประเภท คือ
-เงินกู้เพือ่ การผลิต เป็ นเงินกูร้ ะยะสั้น
-เงินกู้เพือ่ การลงทุน เป็ นเงินกูร้ ะยะยาว
หลักประกันเงินกู้ การให้เงินกูต้ ามประเภทดังกล่าวข้างต้น จะต้องมี
หลักประกันเงินกูอ้ ย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
1. ลูกค้าในกลุ่มเดียวกัน ผูกพัน ตนรับผิดชอบอย่างลูกหนี้ ร่ วมกันค้ า
ประกัน การชาระหนี้ต่อ ธ.ก.ส.
2. มีลูกค้าประจาสาขา หรื อบุคคลอื่น ซึ่ง ธ.ก.ส. พิจารณาเห็นสมควร
เป็ นผูค้ ้ าประกัน อย่างน้อย 2 คน
3. มีอสังหาริ มทรัพย์ที่ไม่ได้จานองต่อเจ้าหนี้อื่น จานองเป็ นประกัน
โดยอสังหาริ มทรัพย์ จะต้องมีราคาประเมินไม่นอ้ ยกว่าสองเท่าของจานวน
เงินกู้
4. มีหลักทรัพย์รัฐบาลไทย หรื อเงินฝากใน ธ.ก.ส. เป็ นประกัน
2.ด้ านสิ นเชื่อรายสถาบันการเกษตร
การให้บริ การสิ นเชื่อ แก่สถาบันเกษตรกร คือ การให้เงินกูแ้ ก่
สหกรณ์ การเกษตร และกลุ่มเกษตรกร เพื่อให้สถาบันดังกล่าว นาไป
ดาเนินธุรกิจ เพื่อประโยชน์ ของสมาชิก ตามวัตถุประสงค์ ของการ
จัดตั้งสถาบัน ทั้งนี้ ธ.ก.ส. ขยาย การให้สินเชื่อ แก่สถาบัน
เกษตรกร เพิ่มมากขึ้นทุกปี โดยเฉพาะอย่างยิง่ เพื่อให้สถาบัน
เกษตรกร มีเงินทุน หมุนเวียนมากขึ้น สามารถขยายธุรกิจ ได้
กว้างขวางกว่าเดิม นอกจากนี้ ธ.ก.ส. ยังสนับสนุน และร่ วมพัฒนนา
สถาบันเกษตรกร
ตามหลักสหกรณ์ ให้เข้มแข็งยิง่ ขึ้น
3.ด้ านสิ นเชื่อเพือ่ การประกอบอาชีพเกษตรกรรม
เป็ นการให้กเู้ งินแก่ผเู ้ ป็ นเกษตรกรเพื่อนาไปประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม เช่น การทานา การทาไร่ การเลี้ยงสัตว์ การประมง การ
ทานาเกลือ ฯลฯ เป็ นต้น แบ่งเป็ น
1) เพื่อเป็ นค่าใช้จ่ายหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม กาหนดชาระคืนเงินกูใ้ ห้เสร็ จสิ้ นภายใน 18 เดือน
2) เพื่อเป็ นค่าลงทุนในทรัพย์สินและวัสดุอุปกรณ์เพื่อ
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม กาหนดชาระคืนเงินกูใ้ ห้เสร็ จสิ้ น
ภายใน 20 ปี
4. ด้ านสิ นเชื่อนอกภาคการเกษตร
เป็ นการให้กแู้ ก่ผปู ้ ระกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมที่เป็ นเกษตรกร
หรื อบุคคลในครอบครัวในการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมการผลิต ธุรกิจ
พาณิ ชยกรรม และธุรกิจบริ การ โดยมีวตั ถุประสงค์คือ
ส่ งเสริ มและสนับสนุนกิจการ หรื อธุรกิจของผูป้ ระกอบการขนาดกลาง และขนาด
ย่อมในชนบท
เพื่อให้ความช่วยเหลือทางวิชาการด้านการตลาด การผลิต การจัดการ การเงิน และ
อื่น ๆ แก่ผปู ้ ระกอบการอย่างเป็ นระบบและครบวงจร
เพื่อช่วยลดปั ญหาการว่างงาน
5. ด้ านสิ นเชื่อวิสาหกิจชุ มชน
เป็ นการให้กเู้ งินเพื่อประกอบอาชีพทั้งในภาคการเกษตร และนอกภาค
การเกษตรในลักษณะรวมกลุ่มโดยมีวตั ถุประสงค์คือ
1. เพื่อส่ งเสริ มและสนับสนุนกิจการหรื อธุรกิจของกลุ่มผูป้ ระกอบการซึ่ง
เป็ นเกษตรกร
2. เพื่อให้ความช่วยเหลือทางวิชาการด้านการตลาด การจัดการ การเงิน และ
อื่นๆ แก่กลุ่มผูป้ ระกอบการ อย่างเป็ นระบบและครบวงจร
3. เพื่อช่วยลดปัญหาการว่างงาน
6. ด้ านสิ นเชื่ออืน่ ๆ เช่ น
- โครงการสิ นเชื่อเพือ่ ทีอ่ ยู่อาศัย
- โครงการสิ นเชื่อเพือ่ ไปทางานต่ างประเทศ
- โครงการรับซื้อลดเช็คค่ าบารุงอ้อย (เช็คเกีย๊ ว) ที่โรงงานนา้ ตาล
เป็ นผู้สั่งจ่ าย
- โครงการสิ นเชื่อเพือ่ การพัฒนาความรู้ในประเทศ
- โครงการส่ งเกษตรกรไปฝึ กอบรมยังประเทศอิสราเอล
- โครงการสิ นเชื่อเพือ่ การรักษาพยาบาล
ทุนดาเนินงานและอัตราส่ วนของทุนดาเนินงานของ ธ.ก.ส.
ณ วันสิ้ นปี บัญชี 2541 - 2545
แหล่ งที่มา
1.ส่ วนของผูถ้ ือหุน้
2.เงินฝาก
3.เงินฝากธนาคารพาณิ ชย์
4.เงินกู้
5.เงินกูธ้ นาคารแห่งประเทศไทย
6.พันธบัตรเงินกู้
7.อื่น ๆ
รวม
2544
2545
จานวน ร้ อยละ จานวน
ร้ อยละ
อัตราการเพิม่
ลดเฉลีย่ ต่ อปี
(ร้ อยละ)
25,024
262,423
35,828
4,000
15,145
27,691
283,685
27,997
15,910
7.79
79.85
7.88
4.48
11.82
14.51
-9.46
-0.87
342,420 100.00 355,283
100.00
7.58
7.30
76.63
10.46
1.18
4.42
NPLs
ธ.ก.ส. ประมาณ 8 %
ธนาคารพาณิชย์ ทั่วไปประมาณเกือบ 50 %
ธนำคำรสีเขียว
ธ.ก.ส. ได้ประกาศเจตนารมย์ ที่จะดาเนินโครงการ ธนาคารสี เขียว
ขึ้น เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2541 ธ.ก.ส.ได้ดาเนินการ จัด
จ้างคณะที่ปรึ กษา ด้านสิ่ งแวดล้อมขึ้น เพื่อสร้างองค์ความรู ้ ผลักดัน
ให้ ธ.ก.ส. มีการดาเนินการ เพื่อมุ่งสู่การเป็ นธนาคารสี เขียว ภายใน
ระยะเวลา 5 ปี และได้จดั ตั้ง คณะกรรมการ และคณะทางานขึ้น
เพื่อทาหน้าที่ บริ หารโครงการ ดังนี้
- คณะกรรมการบริ หารโครงการธนาคารสี เขียว ทาหน้าที่ติดตาม
กากับดูแล การดาเนินงาน ตามโครงการ ให้มีประสิ ทธิภาพ
- คณะกรรมการบริ หารโครงการสิ นเชื่อเพื่อรักษาสิ่ งแวดล้อม ทา
หน้าที่ดูแลและบริ หาร ด้านการจัดสรรเงินทุนเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อม
- คณะทางานโครงการธนาคารสี เขียว ทาหน้าที่เป็ นแกนกลาง ในการ
ประสานงาน และผลักดัน การทางานด้านสิ นเชื่อสี เขียว (Green
Credit) และการนามาตรฐานสากล (ISO) มาถือใช้ ให้เป็ น
รู ปธรรมมากยิง่ ขึ้น
จากการดาเนินงานที่ผา่ นมา ได้สร้างผูน้ าการเปลี่ยนแปลง
(Change Agents) ขึ้น ในหมู่พนักงานของธนาคาร เพื่อ
ปลุกจิตสานึกให้พนักงาน ได้ตระหนักถึง ความสาคัญของ
สิ่ งแวดล้อม กับสิ นเชื่อการเกษตร ตามแนวทางการพัฒนาที่ยงั่ ยืน
โดยธนาคารได้คดั เลือก พนักงาน ของธนาคาร เกษตรกรลูกค้า
และเครื อข่ายพันธมิตร ที่เกี่ยวข้องกว่า 300 คน เข้ารับการ
ฝึ กอบรม สัมมนาอย่างเข้มข้น เพื่อเตรี ยมความพร้อม ที่จะ
ดาเนินการขั้นต่อไป
สมำคมฌำปนกิจสงเครำะห์
ป็ นบริการที่ ธ.ก.ส. มอบให้ กบั ผู้ใช้ บริการทั้งทีเ่ ป็ นผู้ก้ ู และผู้ฝาก
เงินเป็ นกรณีพเิ ศษ ในการสมัคร เข้ าเป็ นสมาชิก ของสมาคม
ฌาปนกิจสงเคราะห์ ที่ ธ.ก.ส. สนับสนุนการจัดตั้ง และการ
ดาเนินงาน ซึ่งมีความมั่นคงและเชื่อถือได้ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่
สงเคราะห์ซ่ ึ งกันและกันในหมู่สมาชิก
สร้างหลักประกันให้แก่ครอบครัวของสมาชิกผูเ้ สี ยชีวิ
ทาบุญร่ วมกันและอุทิศส่ วนกุศลให้แก่สมาชิกผูล้ ่วงลับ
สถำบันเพือ่ พัฒนำกำรเกษตรและชนบท จำเนียร สำระนำค (สจส.)
เป็ นสถาบันที่มูลนิธิอาจารย์จาเนียร สาระนาค (ผูท้ ี่มีคุณูปการและเป็ น
ผูจ้ ดั การคนแรกของ ธ.ก.ส.) ได้จดั ตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2537 โดยอยู่
ภายใต้ ความช่วยเหลือของ ธ.ก.ส. วัตถุประสงค์ เพื่อ
- ฝึ กอบรมและพัฒนาบุคลากร ที่เกี่ยวข้องกับการส่ งเสริ ม และพัฒนา
สิ นเชื่อ การเกษตร และชนบท รวมถึงเกษตรกร และสถาบันเกษตรกร ให้มี
ความรู้ ความสามารถ ตามบทบาท และหน้าที่ของตนเอง
- จัดดูงานและฝึ กอบรมให้แก่ชาวต่างประเทศ ที่สนใจสิ นเชื่อการเกษตร
ของ ธ.ก.ส.
- ให้คาปรึ กษาแนะนาด้านวิชาการ สิ นเชื่อการเกษตร และการพัฒนา
ชนบท ทั้งภายใน และต่างประเทศ
- ศึกษาค้นคว้า และพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคล เพื่อการพัฒนาสิ นเชื่อ
การเกษตร ชนบท และสังคม
โครงกำรสนับสนุนด้ ำนสังคม ( SSP )
โครงการสนับสนุนด้านสังคมเป็ นกลไกการให้ความช่วยเหลือ
แก่ธกส.เพื่อพัฒนาและดาเนินการปรับปรุ งคุณภาพของการบริ การ
ทางการเงินตาม รู ปแบบที่เหมาะสม และช่วยสนับสนุนงาน
ส่ งเสริ มการบริ การของธ.ก.ส.ในภูมิภาคต่างๆ
โครงการสนับสนุนด้านสังคมดาเนินงานตามแผนที่วางไว้ใน
แผนงานประจาปี ซึ่งประกอบด้วย กิจกรรมต่างๆและงบประมาณ
โครงการในแต่ละปี เพื่อบรรลุวตั ถุ ประสงค์ตามที่วางแผนไว้
โดยเฉพาะอย่างยิง่ เพื่อผลลัพธ์สาคัญ 5 ด้าน คือ
1. การให้บริ การการเงินขนาดเล็กได้รับการปรับปรุ งให้ดียงิ่ ขึ้น ด้วยการ
ดาเนินการให้บริ การการเงินขนาดเล็กในรู ปแบบที่เหมาะสมโดยสถาบันการเงิน
ขนาดเล็ก
2. ลูกค้าได้รับบริ การที่ดีข้ ึนจากธ.ก.ส.
3. ความสามารถชาระคืนสิ นเชื่อของลูกค้าดีข้ ึนสาหรับหนี้ที่ปรับโครงสร้าง
เมื่อสิ้ นสุ ดปี ที่ 3 ของการดาเนินงานโครงการ
4. สมาชิกครอบครัวภาคการเกษตรและผูป้ ระกอบการขนาดเล็กมีความสามารถ
มากขึ้นในการช่วยหารายได้ให้ครอบครัวและการออมสาหรับครอบครัว
5. บทเรี ยนและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับจุดประสงค์ของโครงการ ได้รับการบันทึก
เป็ นหลักฐาน และผนวกไว้ในนโยบายและแนวปฏิบตั ิของธ.ก.ส.
โครงการสนับสนุนด้ านสั งคมดาเนินงานใน 6 จังหวัดนาร่ องใน
ประเทศไทย ซึ่งได้ แก่ ขอนแก่น มุกดาหาร พะเยา อุทยั ธานี กระบี่ และสุ
ราษฎร์ ธานี
จุดแข็งของ ธกส.
1.เกษตรกรสามารถขอกูเ้ งินจากธกส.ได้ถึงแม้วา่ จะไม่มีที่ดินเป็ นของ
ตัวเอง ทั้งนี้โดยใช้บุคคลค้ าประกัน หรื อทาหนังสื อรับรองผิดอย่างลูกหนี้
ร่ วมกันระหว่างผูก้ ู้
2.มีประสิ ทธิภาพในการลดปัญหา asymetric information
เนื่องจากการปล่อยเงินกูจ้ ะคานึงถึงแผนการผลิต และความสามารถในการ
ชาระหนี้ของเกษตรกร และจะให้กเู้ งินเฉพาะเท่าที่จาเป็ นต่อการลงทุนและ
ค่าใช้จ่ายในการผลิตทางการเกษตรหรื อเกี่ยวเนื่องในการเกษตรเท่านั้น
3.เจ้าหน้าที่สินเชื่อ Specialization จากการที่ปล่อยสิ นเชื่อเฉพาะ
ด้านเกษตรอย่างเดียว
4.อัตราดอกเบี้ยต่ากว่าธนาคารพาณิ ชย์ทวั่ ไป โดยคิดตามระดับลูกค้า
5.การบริ การอย่างเข้าถึงพื้นที่ รวมทั้งมีการตรวจสอบอย่างใกล้ชิด
จุดอ่อนของ ธกส.
เนื่องจากเป็ นองค์กรที่อยูใ่ นรู ปของรัฐวิสาหกิจ ซึ่งมี
ความสัมพันธ์ในด้านการดาเนินงานที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาล ดังนั้นส่ งผล
ให้การดาเนินงานขององค์กรจะค่อนข้างมีความล่าช้า เมื่อเทียบกับ
สถาบันการเงินของเอกชนทัว่ ไป