บรรยายโดย นายสมชัย บรรจง อัยการจังหวัดประจาสานักงานอัยการสูงสด สานักงานอัยการจังหวัดเชียงใหม่ มาตรา ๖๘๑ อันคา้ ประกันนัน้ จะมีได้ แต่ เฉพาะ เพื่อหนีอ้ ันสมบูรณ์ ๑. วัตถุประสงค์ ต้องห้ ามโดยชัดแจ้ งโดยกฎหมาย - ทาสัญญากู้ยมื เงินโดยต่ างรู้ กันว่ าจะนาเงินไปค้ ายาเสพติด (ฎ.

Download Report

Transcript บรรยายโดย นายสมชัย บรรจง อัยการจังหวัดประจาสานักงานอัยการสูงสด สานักงานอัยการจังหวัดเชียงใหม่ มาตรา ๖๘๑ อันคา้ ประกันนัน้ จะมีได้ แต่ เฉพาะ เพื่อหนีอ้ ันสมบูรณ์ ๑. วัตถุประสงค์ ต้องห้ ามโดยชัดแจ้ งโดยกฎหมาย - ทาสัญญากู้ยมื เงินโดยต่ างรู้ กันว่ าจะนาเงินไปค้ ายาเสพติด (ฎ.

บรรยายโดย
นายสมชัย
บรรจง
อัยการจังหวัดประจาสานักงานอัยการสูงสด
สานักงานอัยการจังหวัดเชียงใหม่
มาตรา ๖๘๑ อันคา้ ประกันนัน้ จะมีได้ แต่ เฉพาะ
เพื่อหนีอ้ ันสมบูรณ์
๑. วัตถุประสงค์ ต้องห้ ามโดยชัดแจ้ งโดยกฎหมาย
- ทาสัญญากู้ยมื เงินโดยต่ างรู้ กันว่ าจะนาเงินไปค้ ายาเสพติด
(ฎ. ๗๐๗/๒๔๘๗)
- กู้เงินเพียง ๗,๐๐๐ บาท แต่ ทาสัญญาไว้ สองฉบับ ฉบับแรก ๗,๐๐๐ บาท
ฉบับที่ สอง เป็ นเงิน ๑๔,๐๐๐ บาท เช่ นนีฉ้ บับหลังเป็ นการเรี ยกดอกเบีย้ เกิน
อัตรา ต้ องห้ ามตามกฎหมาย เป็ นโมฆะ (ฎ. ๗๓๐/๒๕๐๘)
- ให้ ก้ ยู มื เงินโดยทราบวัตถุประสงค์ ท่จี ะนาเงินไปจ้ างมือปื นยิงผู้อ่ นื โดยมี
การคา้ ประกัน สัญญากู้และสัญญาคา้ ประกันเป็ นโมฆะ ( ฎ. ๓๕๘/๒๕๑๑)
๒. วัตถุประสงค์ เป็ นการขัดขวางต่ อความสงบเรี ยบร้ อยหรื อศีลธรรม
- ทาสัญญาให้ ฝ่ายหนึ่งแบ่ งมรดกที่ดนิ ให้ เพื่อให้ อีกฝ่ ายหนึ่งยอมระงับคดีอาญา
แผ่ นดินเป็ นการตอบแทน (ฎ.๑๑๘๑/๒๔๙๑)
- ตกลงออกเงินให้ ค่ คู วามฝ่ ายที่กาลังเป็ นความกันใช้ ในการฟ้องร้ องคดี โดยตน
ไม่ มีส่วนได้ เสีย ซึ่งถ้ าฝ่ ายนัน้ ชนะคดีให้ โอนที่ดนิ ที่เป็ นความกันให้ โดยทา
สัญญากู้ยมื เงินกันไว้ (ฎ.๓๓๑/๒๔๙๗)
- ทาสัญญาโอนสิทธิในผลคดีท่เี ขากาลังเป็ นความกันให้ แก่ ตน โดยตนจะออก
ค่ าธรรมเนียมศาลและค่ าใช้ จ่ายให้ มีจาเลยทาสัญญาคา้ ประกันไว้ เป็ นการซือ้
ขายความกัน ตกเป็ นโมฆะ ( ฎ.๑๑๒/๒๕๑๕)
- ตกลงจะจ่ ายเงินให้ ผ้ ปู ระมูลรายอื่น เพื่อให้ ย่ นื ซองประมูลในราคาที่สูงกว่ าที่
ตนยื่นซอง (ฎ. ๒๐๒๒/๒๕๑๙ ประชุมใหญ่ )
๓. หนีไ้ ม่ ได้ ทาตามแบบที่กฎหมายกาหนด
- สัญญาเช่ าซือ้ ต้ องทาเป็ นหนังสือ เมื่อผู้แทนผู้ให้ เช่ าซือ้ ลงลายมือชื่อโดยไม่ มี
อานาจ จึงเท่ ากับว่ าไม่ ได้ ทาเป็ นหนังสือ ย่ อมตกเป็ นโมฆะ สัญญาคา้ ประกันจึง
ไม่ อาจมีได้ (ฎ.๖๘๕/๒๕๐๘)
- สัญญาเช่ าซือ้ ที่ผ้ เู ช่ าซือ้ ลงลายมือชื่อเพียงฝ่ ายเดียว โดยผู้ให้ เช่ าซือ้ ไม่ ได้ ลง
ลายมือชื่อ ย่ อมตกเป็ นโมฆะ ผู้คา้ ประกันย่ อมไม่ ต้องรั บผิด ( ฎ.๑๘๐๐/๒๕๑๑)
- สัญญากู้ยมื เกินกว่ า ๒,๐๐๐ บาท แม้ ไม่ ได้ ทาเป็ นหนังสือก็สามารถทาสัญญา
คา้ ประกันได้ เพียงแต่ ผ้ คู า้ ประกันสามารถยกข้ อต่ อสู้ของผู้ก้ ูขนึ ้ มาต่ อสู้ได้
- เมื่อยังไม่ ได้ ส่งมอบเงินให้ แก่ ผ้ กู ้ ู ตามสัญญากู้ จึงเป็ นสัญญาที่ไม่ สมบูรณ์ จึง
ไม่ อาจฟ้องเรี ยกเงินกู้จากผู้ก้ หู รื อผู้คา้ ประกันได้ (ฎ. ๕๔๕/๒๕๑๘)
๔. การแสดงเจตนาลวงโดยสมรู้ กัน
- โจทก์ ก้ เู งินจาเลยไป และให้ จาเลยทานาต่ างดอกเบีย้ ระหว่ างนัน้ จาเลยเกรง
ว่ าโจทก์ จะถูกฟ้องยึดที่นา จึงทาสัญญาซือ้ ขายที่ดนิ กันไว้ หลอกๆ สัญญา
ดังกล่ าวจึงตกเป็ นโมฆะ โจทก์ ฟ้องเรี ยกให้ จาเลยคืนที่นาได้ (ฎ. ๗๙๑/๒๕๐๙)
๕. การแสดงเจตนาโดยสาคัญผิดในสาระสาคัญ
- จาเลยเป็ นหลานโจทก์ ตกลงจะเช่ านาจากโจทก์ แต่ ได้ นาใบมอบฉันทะขายที่
นามาหลอกให้ โจทก์ เซ็นต์ โจทก์ หลงเชื่อจึงเซ็นชื่อไป เป็ นกรณีสาคัญผิดใน
สาระสาคัญของนิตกิ รรม ใบมอบฉันทะดังกล่ าวใช้ ไม่ ได้ เพราะตกเป็ นโมฆะ
(ฎ. ๘๒๘/๒๕๐๘)
หนีใ้ นอนาคตหรือหนีม้ ีเงื่อนไขจะประกันไว้ ก็ได้
 ๑. สัญญาคา้ ประกันลูกจ้างเข้าทางาน
- สัญญาคา้ ประกันลูกจ้างเข้าทางานในตาแหน่ งพนักงานรักษาความปลอดภัย
ย่อมเป็ นการคา้ ประกันการทางานในตาแหน่ งรักษาความปลอดภัยเท่านัน้ การ
ที่ลกู จ้างหลอกลวงเอาเงินของลูกค้าไป ย่อมอยู่นอกเหนื อการที่คา้ ประกัน (ฎ.
๕๗๒๐/๒๕๓๓)
- คา้ ประกันการทางานในตาแหน่ งพนักงานขับรถ แต่ลกู จ้างนาใบเสร็จค่า
รักษาพยาบาลปลอมมาขอเบิกเงินและรับเงินจากนายจ้างไป อยู่นอกเหนื อการ
คา้ ประกัน (ฎ. ๑๔๘๓/๒๕๒๗)
- คา้ ประกันลูกจ้าง เมื่อลูกจ้างได้เลื่อนตาแหน่ งขึน้ ไปแล้ว ผูค้ า้ ประกันยังคง
ต้องรับผิดอยู่ (ฎ. ๒๔๔/๒๕๒๖)
แต่เมื่อลูกจ้างได้เลื่อนตาแหน่ งที่มีความเสี่ยงมากขึน้ และมีผคู้ า้ ประกันใหม่ ผู้
คา้ ประกันคนเดิมย่อมหลุดพ้นความรับผิด
- จาเลยคา้ ประกัน ก. เข้าทางานในตาแหน่ งคนงานโรงแรม ต่อมาเมื่อ ก. ได้
เลื่อนเป็ นพนักงานเก็บเงิน ทางโรงแรมจึงได้จดั ให้ ข. เป็ นผูค้ า้ ประกันอีก แสดง
ว่าโรมแรมไม่ประสงค์ที่จะให้จาเลยผูกผันตามสัญญาคา้ ประกันอีกต่อไป จาเลย
จึงไม่ต้องรับผิดอีก (ฎ. ๑๗๒๑/๒๕๒๙)
- ทาสัญญาคา้ ประกันเข้าทางานเป็ นลูกจ้างรายวัน ต่อมาบรรจุและได้รบั การ
แต่งตัง้ เป็ นพนักงานประจา โดยไม่ได้ทาสัญญาคา้ ประกันใหม่อีก จะนาสัญญา
คา้ ประกันในตาแหน่ งเดิมมาเรียกให้ผคู้ า้ ประกันรับผิดไม่ได้ (ฎ. ๓๔๘๙/๒๕๒๗)
- ทาสัญญาคา้ ประกันจาเลยในกรณี เป็ นตัวแทนจาหน่ ายคอมพิวเตอร์ให้โจทก์
ต่อมาจาเลยเปิดโรงเรียนสอนคอมพิวเตอร์เอง แล้วซื้อคอมพิวเตอร์มา แต่ไม่
ชาระราคา กรณี ดงั กล่าวอยู่นอกขอบเขตการคา้ ประกัน (ฎ. ๒๒๕๘/๒๕๓๕)
- ลูกจ้างเข้าทางานกับนายจ้างสองครัง้ โดยทาสัญญาคา้ ประกันในครัง้ แรก แต่
ไม่เกิดความเสียหาย เมื่อลูกจ้างออกจากงานไป สัญญาคา้ ประกันย่อมสิ้นผล
ผูกพัน ต่อมานายจ้างรับลูกจ้างกลับเข้าทางานใหม่ และก่อให้เกิดความเสียหาย
ผูค้ า้ ประกันย่อมไม่ต้องรับผิด แม้ภายหลังผูค้ า้ ประกันจะทาหนังสือรับสภาพหนี้
ไว้ ก็ไม่ผกู พัน เนื่ องจากไม่มีมลู หนี้ ให้รบั สภาพหนี้ ( ฎ. ๖๑๓๙/๒๕๔๐)
(แก้ไขเพิ่มเติมใหม่)
หนี้ ในอนาคตหรือหนี้ มีเงือ่ นไขจะประกันไว้เพื่อเหตุการณ์ ซึ่งหนี้ นัน้
อาจเป็ นผลได้จริงก็ประกันได้ “แต่ต้องระบุ(๑)วัตถุประสงค์ในการก่อ
หนี้ รายที่คา้ ประกัน (๒) ลักษณะของมูลหนี้ (๓) จานวนเงินสูงสุด
ที่คา้ ประกันและ(๔)ระยะเวลาในการก่อหนี้ ที่จะคา้ ประกัน เว้นแต่
เป็ นการคา้ ประกันเพื่อกิจการเนื่ องกันไปหลายคราวตามมาตรา
๖๙๙ จะไม่ระบุระยะเวลาก็ได้
สัญญาคา้ ประกันต้องระบุหนี้ หรือสัญญาที่คา้ ประกันไว้
โดยชัดแจ้ง และผูค้ า้ ประกันย่อมรับผิดเฉพาะหนี้ หรือสัญญาที่
ระบุไว้เท่านัน้ ”
ข้ อตกลงใดที่กาหนดให้ ผ้ ูคา้ ประกันต้ องรับผิดอย่ างเดียวกับ
ลูกหนีร้ ่ วมหรื อในฐานะลูกหนีร้ ่ วม ข้ อตกลงนัน้ เป็ นโมฆะ
(มาตรา ๖๘๑/๑)
เมื่อผูค้ า้ ประกันไม่ต้องรับผิดอย่างเดียวกับลูกหนี้ รว่ ม ทาให้ผคู้ า้ ประกันมีสิทธิ
๑. เมื่อเจ้าหนี้ ทวงให้ผคู้ า้ ประกันชาระหนี้ ผูค้ า้ ประกันจะขอให้ลกู หนี้ ชาระก่อนก็
ได้ เว้นแต่ลกู หนี้ จะถูกศาลพิพากษาให้ล้มละลายหรือไม่ปรากฎว่าลูกหนี้ อยู่แห่ง
ใด (มาตรา ๖๘๘)
- ถ้าเจ้าหนี้ ไม่ทาตามจะบังคับเจ้าหนี้ ได้หรือไม่? ( ถ้าหนี้ ถึงกาหนด ผูค้ า้ ประกัน
อาจชาระหนี้ แก่เจ้าหนี้ เสียทันที แล้วไปไล่เบีย้ เอากับลูกหนี้ ได้ )
(กรณี ที่ฟ้องผูค้ า้ ประกันเพียงคนเดียว ผูค้ า้ ประกันย่อมขอให้ศาลเรียกลูกหนี้
เข้ามาเป็ นจาเลยร่วมได้ ตาม ป.วิ.พ ม. ๕๗ (๓)
๒. ถ้าผูค้ า้ ประกันพิสจู น์ ได้ว่าลูกหนี้ มีทางที่จะชาระหนี้ ได้ และการที่จะบังคับให้
ลูกหนี้ ชาระหนี้ นัน้ เป็ นการไม่ยาก เจ้าหนี้ ต้องบังคับการชาระหนี้ รายนัน้ เอาจาก
ทรัพย์สินของลูกหนี้ ก่อน (มาตรา ๖๘๙)
- ต้องเป็ นกรณี ที่ฟ้องลูกหนี้ และผูค้ า้ ประกันร่วมกัน ผูค้ า้ ประกันจึงจะใช้สิทธิ
เกี่ยงให้บงั คับชาระหนี้ จากลูกหนี้ ก่อนได้ ถ้าไม่ได้ฟ้องลูกหนี้ ด้วย ผูค้ า้ ประกันจะ
ใช้สิทธิดงั กล่าวไม่ได้
๓. ถ้าเจ้าหนี้ มีทรัพย์ของลูกหนี้ ยึดถือไว้เป็ นประกัน เมื่อผูค้ า้ ประกันจะร้องขอ
เจ้าหนี้ ต้องบังคับเอาจากทรัพย์ซึ่งเป็ นประกันนัน้ ก่อน ( มาตรา ๖๙๐)
- ยึดถือไว้ เช่น ยึดหน่ วง จานา หรือจานอง
- ต้องเป็ นทรัพย์สินของลูกหนี้ เท่านัน้ ถ้าเป็ นของบุคคลอื่นนามาประกันแทน
ผูค้ า้ ประกันจะใช้สิทธิตามมาตรานี้ ไม่ได้
กรณีผ้ ูคา้ ประกันหลายคน
๑. ผูค้ า้ ประกันหลายคนเข้าคา้ ประกันในหนี้ รายเดียวกัน ต้องรับผิดร่วมกัน
(เฉพาะผูค้ า้ ประกันด้วยกัน) อย่างลูกหนี้ ร่วม
- แม้จะทาสัญญากันคนละฉบับก็ตาม ( ฎ. ๖๗/๒๕๓๑)
- ไม่จาต้องทาสัญญาในเวลาเดียวกัน (ฎ. ๒๒๔๓/๒๕๓๖)
- เมื่อผูค้ า้ ประกันคนหนึ่ งชาระหนี้ แก่เจ้าหนี้ จนหมดแล้ว ย่อมช่วงสิทธิมา
เรียกร้องจากผูค้ า้ ประกันอีกคนหนึ่ งได้ เช่น มีผคู้ า้ ประกัน ๒ คน เมื่อผูค้ า้
ประกันคนหนึ่ งชาระหนี้ ให้ลกู หนี้ จนหมดแล้ว ย่อมช่วงสิทธิมาเรียกกับผูค้ า้
ประกันอีกคนหนึ่ งได้กึ่งหนึ่ ง (ฎ ๓๕๙/๒๕๐๙) และมีสิทธิมาไล่เบีย้ เอากับลูกหนี้
ได้ทงั ้ หมด ( ฎ. ๔๕๗๔/๒๕๓๖)
คา้ ประกันจากัดวงเงิน
- ทาสัญญาคา้ ประกันในวงเงิน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท ความรับผิดของผูค้ า้ ประกันจึง
มีเพียงจานวนเงินในวงเงินดังกล่าว แต่หากเป็ นหนี้ เงินต้องรวมดอกเบีย้ ตาม
อัตราที่ต้องจ่าย (ในกรณี หนี้ เงิน) ด้วย (ฎ. ๖๒๕/๒๕๔๒)
- แต่หากเป็ นกรณี ลกู หนี้ หรือผูค้ า้ ประกันผิดนัด เป็ นหนี้ เงินต้องชาระดอกเบีย้ ใน
อัตราร้อยละเจ็ดครึง่ ต่อปี ในระหว่างผิดนัดด้วย ( ๓๓๔๗/๒๕๒๙)
บรรดาข้ อตกลงเกี่ยวกับการคา้ ประกันที่แตกต่ างไปจากมาตรา ๖๘๑
วรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสาม มาตรา๖๙๔ มาตรา ๖๙๘ และ
มาตรา ๖๙๙ เป็ นโมฆะ
มาตรา ๖๘๑
(๑) ต้องเป็ นหนี้ ที่สมบูรณ์
(๒) สัญญาคา้ ประกันต้องระบุหนี้ หรือสัญญาที่คา้ ประกันไว้โดยชัดแจ้ง
ถ้าเป็ นหนี้ ในอนาคตต้องระบุ
(๑) วัตถุประสงค์ในการก่อหนี้ รายที่คา้ ประกัน
(๒) ลักษณะของมูลหนี้
(๓) จานวนเงินสูงสุดที่คา้ ประกัน
(๔) ระยะเวลาในการก่อหนี้ ที่จะคา้ ประกัน เว้นแต่เป็ นการคา้ ประกันเพื่อ
กิจการเนื่ องกันไปหลายคราวตามมาตรา ๖๙๙ จะไม่ระบุระยะเวลาก็ได้

มาตรา ๖๙๔ ข้อตกลงที่ห้ามผูค้ า้ ประกันยกข้อต่อสู้ของผูค้ า้ ประกันหรือข้อต่อสู้
ของลูกหนี้ ที่มีต่อเจ้าหนี้ ขึน้ ต่อสู้เป็ นโมฆะ
กรณี ข้อต่อสู้ของผูค้ า้ ประกัน
- หนี้ ขาดอายุความ (สัญญาคา้ ประกันมีอายุความ ๑๐ ปี นับแต่อาจบังคับสิทธิได้
มิใช่วนั ทาสัญญาคา้ ประกัน เช่น ละเมิด ต้องนับแต่ ๑๐ ปี ที่ร้เู รื่องความผิดและรู้ตวั
ผูก้ ระทาผิด (ฎ. ๔๖๐๗/๓๖), หรือ ๑๐ ปี นับแต่ผิดสัญญา )
- แบบของสัญญาคา้ ประกัน (ไม่ได้ทาเป็ นหนังสือ)
- เจ้าหนี้ ผอ่ นเวลาให้ลกู หนี้
กรณี ข้อต่อสู้ของลูกหนี้
- อายุความของลูกหนี้ ( เช่น เจ้าหนี้ ไม่ได้ฟ้องภายใน ๑ ปี นับแต่เจ้าหนี้ ทราบการ
ตายของลูกหนี้ ผูค้ า้ ประกันยกอายุความดังกล่าวขึน้ ต่อสู้ได้ (ฎ. ๑๐๗๒/๒๕๓๗)
- แบบของสัญญา (เช่น สัญญาเช่าซื้อ, กู้เงินไม่ได้ทาเป็ นหนังสือ)
- วัตถุประสงค์ของสัญญา
ผู้คา้ ประกันย่ อมหลุดพ้ นจากความรับผิดในขณะเมื่อหนีข้ อง
ลูกหนีร้ ะงับสิน้ ไปไม่ ว่าเพราะเหตุใดๆ (มาตรา ๖๙๘)
 หนี้ ของลูกหนี้ ระงับ
- ชาระหนี้ ครบถ้วนแล้ว
- ปลดหนี้
- แปลงหนี้ ใหม่ ( เช่น ลูกหนี้ ผิดสัญญาจ้างทาของ ต่อมาเจ้าหนี้ และลูกหนี้ ตกลงทา
สัญญากู้ยืมเงินแทนจานวนเงินค่าเสียหายจากการผิดสัญญา)
- หักลบกลบหนี้ (เป็ นกรณี เจ้าหนี้ และลูกหนี้ ต่างเป็ นหนี้ ซึ่งกันและกัน และหนี้ นัน้ ถึง
กาหนดแล้ว
- หนี้ เกลื่อนกลืนกัน (สิทธิและความรับผิดในหนี้ ตกแก่บคุ คลคนเดียวกัน เช่น ก.ให้ ข.
เช่าที่ดิน ต่อมาระหว่างสัญญาเช่า ข. ซื้อที่ดินดังกล่าว ทาให้หนี้ สญ
ั ญาเช่าหลังจากนัน้
ระงับสิ้นไป
- หนี้ ของลูกหนี้ ขาดอายุความ
การคา้ ประกันเพื่อกิจการเนื่องกันไปหลายคราวไม่ จากัดเวลา
ผู้คา้ ประกันอาจเลิกเสียเพื่อคราวอันเป็ นอนาคตได้
(มาตรา ๖๙๙)
สัญญาจ้างบุคคลเข้าทางาน
- ข้อตกลงที่ห้ามเลิกการคา้ ประกันการทางาน เป็ นโมฆะ
- หนังสือบอกเลิกการคา้ ประกันการทางานของลูกจ้าง มีผลทันทีที่ผแู้ ทน
นายจ้างได้รบั หนังสือ ไม่จาต้องรอให้ที่ประชุมนายจ้างอนุมตั ิ ก่อน ผูค้ า้ ประกัน
ไม่ต้องรับผิดหลังจากนัน้ (ฎ. ๑๙๔๕/๒๕๓๗)
- แม้นายจ้างจะอ้างว่ายังตรวจสอบทรัพย์สินหรือทางบการเงินยังไม่เสร็จ ผู้
คา้ ประกันก็ไม่ต้องรับผิดในหนี้ ภายหลังบอกเลิก (ฎ. ๑๖๔๑/๒๕๐๘)
มาตรา ๖๘๖ วรรคแรก เมือ่ ลูกหนี้ผดิ นัด ให้เจ้าหนี้
มีหนังสือบอกกล่าวไปยังผูค้ ้าประกันภายใน หกสิบ
วันนับแต่วนั ทีล่ กู หนี้ผดิ นัด และไม่ว่ากรณีจะเป็ น
ประการใดเจ้าหนี้จะเรียกให้ผคู้ า้ ประกันชาระหนี้
ก่อนทีห่ นังสือบอกกล่าวจะไปถึงผูค้ า้ ประกันมิได้
แต่ไม่ตดั สิทธิผคู้ ้าประกันทีจ่ ะชาระหนี้เมือ่ หนี้ถงึ
กาหนดชาระ
ลูกหนีผ้ ิดนัด ( มาตรา ๒๐๔ )
๑. ลูกหนี้ ผิดนัดเพราะเจ้าหนี้ เตือนแล้ว
- หนี้ ถึงกาหนดนัดแล้ว
- เจ้าหนี้ เตือนให้ลกู หนี้ ชาระแล้ว
- ลูกหนี้ ไม่ชาระหนี้
เช่น สัญญากู้เงินที่ไม่มีกาหนดชาระ, สัญญาที่ค่สู ญ
ั ญาไม่ถือว่ากาหนดเวลา
ชาระหนี้ เป็ นสาระสาคัญ
กู้เงินโดยไม่ได้กาหนดระยะเวลาชาระหนี้ การนาคดีมาฟ้ องถือว่าเป็ นการ
เตือนให้ชาระหนี้ ในตัว ถือว่าผิดนัดนับแต่วนั ฟ้ อง (ฎ. ๖๒๗/๒๕๓๒) จึงต้องคิด
ดอกเบีย้ นับแต่วนั ฟ้ อง
๒. ลูกหนี้ ผิดนัดโดยเจ้าหนี้ ไม่ต้องเตือน
๒.๑ กาหนดเวลาชาระหนี้ ตามวันปฎิทิน (กาหนดวันเดือนปี ของปฎิทิน)
- สัญญากู้กาหนดเวลาชาระหนี้ ภายในวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ หากผูก้ ้ ู
ไม่ชาระตามกาหนดย่อมถือว่าผิดนัด
- สัญญาเช่ากาหนดเวลาชาระค่าเช่าภายในวันที่ ๑ ของทุกๆเดือน เป็ น
การกาหนดเวลาตามปี ปฎิทิน
- สัญญาเช่ามีกาหนดเวลา ๓ ปี โดยกาหนดวันเริ่มต้นและสิ้นสุดสัญญาวัน
แห่งปฎิทิน และผูเ้ ช่าต้องชาระค่าเช่าล่วงหน้ าทุกปี ถือว่ามีการกาหนดให้ผเู้ ช่า
ชาระค่าเช่าภายในวันครบรอบปี ถ้าผูเ้ ช่าไม่ชาระตามกาหนดถือว่าผิดนัดโดยไม่
ต้องเตือน (ฎ. ๑๑๖๕/๒๔๙๙)
 ๒.๒ กาหนดเวลาชาระหนี้ โดยคานวณตามปฎิทินจากวันบอกกล่าว
ต้องมีการบอกกล่าวก่อนที่เพื่อให้เวลาลูกหนี้ เตรียมตัวชาระหนี้ เช่น
- กู้เงินโดยมีข้อสัญญาว่าต้องชาระเงินคืนภายใน ๓๐ วัน นับแต่วนั ที่ได้รบั
การบอกกล่าวให้ชาระ
- ตกลงว่าต้องชาระเงินภายใน ๓๐ วันนับแต่ส่งมอบสินค้า ถือว่ามีการ
กาหนดเวลาที่แน่ นอน หากไม่ชาระหนี้ ภายในกาหนดดังกล่าวถือว่าผิดนัด
หนี้ รายเดียวแบ่งกาหนดเวลาชาระหนี้ เป็ นหลายงวด ลูกหนี้ ไม่ชาระหนี้
เพียงงวดเดียว ถือว่าผิดนัดทัง้ หมด
- ตกลงชาระหนี้ สองงวด เมื่อจาเลยไม่ชาระหนี้ เพียงงวดเดียว ย่อมตก
เป็ นผูผ้ ิ ดนัดทัง้ หมด โจทก์ฟ้องเรียกหนี้ งวดที่สองได้ (ฎ. ๒๒๐๘/๒๕๓๓)
- ตกลงชาระหนี้ ภายในวันที่ ๑ ของทุกๆเดือน แม้ไม่มีข้อความว่าผิดนัด
งวดใดงวดหนึ่ งถือว่าผิดนัดทัง้ หมด เมื่อผิดนัดไม่ชาระงวดใดๆ ย่อมตกเป็ นผู้
ผิดนัดทัง้ หมด (ฎ. ๕๒๑/๒๕๑๐)
 ๒.๓ หนี้ เกิดแต่มลู ละเมิด
- หนี้ ละเมิดถือว่าลูกหนี้ ผิดนัดนับแต่เวลาละเมิด ตาม มาตรา ๒๐๖
- นายจ้างซึ่งลูกจ้างทาละเมิดต้องถือว่าผิดนัดนับแต่วนั ละเมิดเช่นเดียวกับ
ลูกจ้าง
- แต่กรณี นายจ้างจ่ายเงินให้ผเู้ สียหายไปแล้ว ไล่เบีย้ เอาแก่ลกู จ้างนัน้ มี
สิทธิคิดดอกเบีย้ นับแต่วนั ที่ได้จ่ายเงินไป ไม่ใช่วนั ทาละเมิด
๓. กรณี ไม่มีหนังสือบอกกล่าวไปยังผูค้ า้ ประกัน ทาให้ยงั ไม่สามารถฟ้ องคดี
ได้ ซึ่งอาจเป็ นเหตุให้ยงั ไม่มีอานาจฟ้ องก็ได้
๔. แม้ลกู หนี้ ยงั ไม่ได้ผิดนัด หรือเจ้าหนี้ จะยังไม่มีหนังสือบอกกล่าว เมื่อหนี้
ถึงกาหนดก็ไม่ตดั สิทธิผคู้ า้ ประกันที่จะชาระหนี้ นัน้ เอง
กรณี ที่ไม่ถือว่าลูกหนี้ ผิดนัด
- การชาระหนี้ ไม่ได้กระทาลงเพราะพฤติการณ์อนั ใดอันหนึ่ งที่ลกู หนี้ ไม่ต้อง
รับผิดชอบ
เช่น ตกลงส่งมอบสินค้าให้ภายในกาหนด แต่รถที่บรรทุกสินค้าถูกรถคัน
อื่นเฉี่ ยวชนทาให้ทรัพย์สินที่ขนส่งมาเสียหายทัง้ หมด หรือ เส้นทางถูกน้าท่วม
ขาด ไม่สามารถมาส่งสินค้าได้ตามกาหนด เช่นนี้ ไม่ถือว่าลูกหนี้ ผิดนัด
หรือบางกรณี เกิดจากเจ้าหนี้ เอง เช่น เจ้าของที่ดินไม่สามารถส่งมอบที่ดิน
ที่จะสร้างตึกให้แก่ผรู้ บั จ้างได้ทนั ตามกาหนด เนื่ องจากเจ้าของที่ดินเดิมไม่ยอม
ออกไป ผูร้ บั จ้างจึงไม่อาจสร้างตึกให้เสร็จภายในระยะเวลา ไม่ถือว่าผูร้ บั จ้างผิด
นัด
- วางปื นประกันการกู้เงิน เมื่อผูก้ ้ขู อชาระหนี้ แต่ผใู้ ห้ก้ไู ม่ยอมคืนปื น ผูก้ ้ไู ม่
ชาระเงิน ยังไม่ถือว่าผิดนัด
- เจ้าของที่ดินแบ่งแยกที่ดินไม่ทนั เนื่ องจากน้าท่วม รังวัดไม่ได้ เช่นนี้
เจ้าของที่ดินยังไม่ผิดนัด

ในกรณี ที่เจ้าหนี้ มิได้มีหนังสือบอกกล่าวภายในกาหนดเวลาตามวรรคหนึ่ ง
ให้ผคู้ า้ ประกันหลุดพ้นจากความรับผิดในดอกเบีย้ และค่าสินไหมทดแทน
ตลอดจนค่าภาระติดพัน อันเป็ นอุปกรณ์แห่งหนี้ รายนัน้ บรรดาที่เกิดขึน้ ภาย
ภายหลังจากพ้นกาหนดเวลาตามวรรคหนึ่ ง ( มาตรา ๖๘๖ วรรคสอง)
- แต่ลกู หนี้ ยงั ต้องรับผิดในดอกเบีย้ และค่าสินไหมทดแทน ตลอดจนค่า
ภาระติดพัน อันเป็ นอุปกรณ์แห่งหนี้ รายนัน้ ตาม มาตรา ๖๘๕ แม้จะเรียกจากผู้
คา้ ประกันไม่ได้

เมื่อเจ้าหนี้ มีสิทธิเรียกให้ผคู้ า้ ประกันชาระหนี้ หรือผูค้ า้ ประกันมีสิทธิชาระ
หนี้ ได้ตามวรรคหนึ่ ง ผูค้ า้ ประกันอาจชาระหนี้ ทงั ้ หมดหรือใช้สิทธิชาระหนี้ ตาม
เงือ่ นไขและวิธีการในการชาระหนี้ ที่ลกู หนี้ มีอยู่กบั เจ้าหนี้ ก่อนการผิดนัดชาระ
หนี้ ทัง้ นี้ เฉพาะในส่วนที่ตนต้องรับผิดก็ได้ และให้นาความในมาตรา ๗๐๑
วรรคสอง มาใช้บงั คับโดยอนุโลม (มาตรา ๖๘๖ วรรคสาม)
- เมื่อได้รบั หนังสือบอกกล่าว หรือหนี้ ถึงกาหนดชาระ ผูค้ า้ ประกันมีสิทธิคือ
- ชาระหนี้ นัน้ ทัง้ หมด
- ใช้สิทธิตามเงือ่ นไขและวิธีการในการชาระหนี้ ที่ลกู หนี้ มีอยู่กบั เจ้าหนี้
ก่อนการผิดนัดชาระหนี้ เช่น สัญญาเช่าซื้อรถผ่อนชาระทุกวันที่ ๑ ของเดือน ๆ
ละ ๑,๐๐๐ บาท จนกว่าจะครบ ๕๐,๐๐๐ บาท โดยโอนเข้าบัญชีเจ้าหนี้ เช่นนี้
เมื่อลูกหนี้ ผิดนัดและผูค้ า้ ประกันได้หนังสือบอกกล่าว ผูค้ า้ ประกันก็สามารถ
ผ่อนชาระหนี้ ตามข้อตกลงดังกล่าวได้ และหากเจ้าหนี้ ไม่ยอมรับชาระหนี้ ตาม
เงือ่ นไขดังกล่าว ผูค้ า้ ประกันย่อมหลุดพ้น
ในระหว่างที่ผคู้ า้ ประกันชาระหนี้ ตามเงือ่ นไขและวิธีการในการชาระหนี้
ของลูกหนี้ ตามวรรคสาม เจ้าหนี้ จะเรียกดอกเบีย้ เพิ่มขึน้ เพราะเหตุที่ลกู หนี้ ผิด
นัดในระหว่างนัน้ มิได้
- กรณี ผคู้ า้ ประกันเลือกชาระหนี้ ตามเงือ่ นไขเดิมที่ลกู หนี้ มีต่อเจ้าหนี้ ใน
ระหว่างนัน้ ยังไม่ถือว่าผูค้ า้ ประกันผิดนัด และจะเรียกดอกเบีย้ กรณี ผิดนัดกับผู้
คา้ ประกันไม่ได้
การชาระหนี้ ของผูค้ า้ ประกันตามมาตรานี้ ไม่กระทบกระเทือนสิทธิของผูค้ า้
ประกันตามมาตรา ๖๙๓ (ไล่เบีย้ จากลูกหนี้ )
- น่ าจะเป็ นกรณี ที่ผคู้ า้ ประกันชาระหนี้ ทงั ้ หมดหรือชาระหนี้ ตามเงื่อนไข
เดิมของลูกหนี้ จนเสร็จสิ้นแล้ว จึงจะมาใช้สิทธิไล่เบีย้ เอากับลูกหนี้ ได้

มาตรา ๖๙๑ ในกรณี ที่เจ้าหนี้ กระทาการใดๆ อันมีผลเป็ นการลดจานวนหนี้
ที่มีการคา้ ประกัน รวมทัง้ ดอกเบีย้ ค่าสินไหมทดแทน หรือภาระติดพันอันเป็ น
อุปกรณ์แห่งหนี้ รายนัน้
(๑) ถ้าลูกหนี้ ได้ชาระหนี้ ตามที่ได้ลดแล้วก็ดี
(๒) ลูกหนี้ ชาระหนี้ ตามที่ได้ลดดังกล่าวไม่ครบถ้วนแต่ผคู้ า้ ประกันได้ชาระ
หนี้ ส่วนที่เหลือนัน้ แล้วก็ดี
(๓) ลูกหนี้ ไม่ชาระหนี้ ตามที่ได้ลดดังกล่าวแต่ผคู้ า้ ประกันได้ชาระหนี้ ตามที่
ได้ลดนัน้ แล้วก็ดี
ทัง้ นี้ ไม่ว่าจะล่วงเลยกาหนดเวลาชาระหนี้ ตามที่ได้ลดดังกล่าวแล้วหรือไม่
ก็ตาม ให้ผคู้ า้ ประกันเป็ นอันหลุดพ้นจากการคา้ ประกัน
ข้อตกลงใดที่มีผลเป็ นการเพิ่มภาระแก่ผคู้ า้ ประกันให้มากกว่าที่บญ
ั ญัติไว้
ในวรรคหนึ่ ง ข้อตกลงนัน้ เป็ นโมฆะ
ตัวอย่าง หนี้ เงินกู้ ซึ่งได้มีการคา้ ประกัน มีจานวน ๑๐,๐๐๐ บาท แต่เจ้าหนี้ ลด
หนี้ ให้ลกู หนี้ เหลือ ๕,๐๐๐ บาท แต่ต้องชาระภายใน ๑ ปี นับแต่ผิดนัด เช่นนี้
(๑) ถ้าลูกหนี้ ชาระ ๕,๐๐๐ บาทแล้ว จะมาเรียกอีก ๕,๐๐๐ บาท จากผูค้ า้
ประกันไม่ได้
(๒) ถ้าลูกหนี้ ชาระ ๓,๐๐๐ บาท ค้างอีก ๒,๐๐๐ บาท ผูค้ า้ ประกันชาระอีก
๒,๐๐๐ บาท จะเรียกส่วนที่เหลืออีก ๕,๐๐๐ บาท จากผูค้ า้ ประกันไม่ได้
(๓) ถ้าลูกหนี้ ไม่ชาระเลย แต่ผคู้ า้ ประกันชาระจานวน ๕,๐๐๐ บาท จะเรียก
อีก ๕,๐๐๐ บาท จากผูค้ า้ ประกันไม่ได้
- แม้ผคู้ า้ ประกันจะชาระหนี้ แทนลูกหนี้ ตาม (๑), (๒) เมื่อพ้นกาหนด
ระยะเวลา ๑ ปี ตามที่ลกู หนี้ ตกลงกับเจ้าหนี้ กต็ าม ผูค้ า้ ประกันย่อมหลุดพ้น
- การทาข้อตกลงให้ผคู้ า้ ประกันรับผิดเกินกว่านัน้ เป็ นโมฆะ

มาตรา ๗๐๐ ถ้าคา้ ประกันหนี้ อนั จะต้องชาระ ณ เวลามีกาหนดแน่ นอน
และเจ้าหนี้ ยอมผ่อนเวลาให้แก่ลกู หนี้ ผูค้ า้ ประกันย่อมหลุดพ้นจากความรับผิด
เว้นแต่ ผูค้ า้ ประกันจะได้ตกลงด้วยในการผ่อนเวลานัน้
(๑) ต้องเป็ นหนี้ ที่มีกาหนดเวลาชาระแน่ นอน
- กู้ยืมเงินโดยไม่ได้กาหนดระยะเวลาชาระ แม้ผใู้ ห้ก้จู ะผ่อนเวลาในการ
ชาระหนี้ แก่ผกู้ ้ ู ก็ตาม แต่เมื่อหนี้ ดงั กล่าวไม่มีกาหนดชาระแน่ นอน ผูค้ า้ ประกัน
ย่อมไม่พ้นความรับผิด (ฎ. ๑๑๒๔/๒๕๑๑)
- หนี้ ละเมิดไม่มีกาหนดเวลาชาระแน่ นอน จึงไม่อาจผ่อนเวลาได้ เช่นผู้
คา้ ประกันการทางานของลูกจ้าง ๆ ทาละเมิดแก่นายจ้าง และนายจ้างให้ผอ่ นใช้
ค่าเสียหาย ไม่ใช่ผอ่ นเวลาอันมีกาหนดแน่ นอนแก่ลกู หนี้ (ฎ . ๕๐๐/๒๕๐๗)

(๒). ต้องเป็ นการตกลงกัน คือมีคาเสนอและคาสนอง โดยตกลงกาหนดเวลา
ใหม่ที่แน่ นอน ซึ่งในระหว่างนัน้ เจ้าหนี้ จะใช้สิทธิเรียกร้องไม่ได้
- สัญญากู้เงินที่คา้ ประกัน มีกาหนด ๑๒ เดือน แต่โจทก์ไม่ได้ใช้สิทธิ
ฟ้ องร้องเสียแต่เนิ่นๆ กลับปล่อยเวลามาถึง ๑ ปี เศษ เมื่อไม่ปรากฏว่ามีการตก
ลงกับลูกหนี้ ในการผ่อนเวลากัน ยังไม่ถือว่าได้มีการผ่อนเวลา ผูค้ า้ ประกันไม่พ้น
ความรับผิด
(ฎ. ๓๗๑/๒๕๐๘)
- โจทก์ไม่ใช้สิทธิฟ้องลูกหนี้ เมื่อผิดนัดไม่ใช้เงินในวันครบกาหนดใช้เงิน
ไม่ใช่การผ่อนเวลา ทัง้ ไม่ทาให้ผคู้ า้ ประกันเสียหาย เพราะเมื่อหนี้ ถึงกาหนด
ชาระ ผูค้ า้ ประกันอาจชาระหนี้ แก่เจ้าหนี้ ได้ทนั ที (ฎ. ๑๒๑๗/๒๔๗๓)
- ลูกหนี้ มีหนังสือขอผลัดชาระหนี้ ฝ่ายเดียว โดยเจ้าหนี้ ไม่ได้มีหนังสือตอบ
หรือไม่ได้ว่าอะไร ไม่ถือเป็ นการผ่อนเวลา (ฎ. ๙๖๘/๒๔๗๕)
- การมีหนังสือทวงถามให้ชาระหนี้ เมื่อหนี้ ครบกาหนดแล้ว โดยกาหนดให้
ชาระหนี้ ภายในเวลาที่กาหนดนับแต่ได้รบั หนังสือ เช่น ภายใน ๓๐ วัน เช่นนี้
เป็ นการเตือนว่าลูกหนี้ ผิดนัดแล้ว หาใช่การผ่อนเวลาไม่ (ฎ. ๒๔๖/๒๕๐๖)
- เจ้าหนี้ รบั ผ่อนชาระหนี้ ครัง้ ละงวดๆ ตามแต่จะได้ หาใช่เป็ นการผ่อนเวลา
ตามกฎหมายไม่ เนื่ องจากไม่ผกู มัดเจ้าหนี้ ที่จะรับแต่อย่างใด (ฎ. ๓๐๖/๒๔๗๓)
- หนี้ รายเดียว แต่มีกาหนดชาระเป็ นงวดๆ หากผิดนัดงวดแรก ก็ย่อมผิดนัด
ทัง้ หมด ดังนัน้ เมื่อผ่อนเวลาในงวดแรก ผูค้ า้ ประกันย่อมจะต้องหลุดพ้นจาก
ความรับผิดทัง้ หมด
(๓) ข้อตกลงที่ผคู้ า้ ประกันทาไว้ล่วงหน้ าก่อนเจ้าหนี้ ผอ่ นเวลาอันมีผลเป็ น
การยินยอมให้เจ้าหนี้ ผอ่ นเวลา ข้อตกลงนี้ ใช้บงั คับมิได้
กรณี ผคู้ า้ ประกันตาย
๑. กรณี นี้ของลูกหนี้ ยงั ไม่เกิดขณะที่ผคู้ า้ ประกันตาย สัญญาคา้ ประกันเป็ นอัน
ระงับ
- ผูป้ ระกันตัวผูต้ ้องหาตายก่อนที่ยงั ไม่มีการผิดสัญญาประกัน และยังไม่มี
หนี้ ค่าปรับตามสัญญาเกิดขึน้ สัญญาประกันย่อมระงับ ทายาทผูค้ า้ ประกันไม่
ต้องรับผิด (ฎ. ๒๔๓๘/๒๕๒๒)
๒. กรณี หนี้ ของลูกหนี้ เกิดขึน้ แล้วในขณะผูค้ า้ ประกันตาย กองทรัพย์มรดกของ
ผูค้ า้ ประกันต้องรับผิด
- ผูค้ า้ ประกันตายหลังจากหนี้ ถึงกาหนดแล้ว สิทธิหน้ าที่ย่อมตกแก่กอง
ทรัพย์มรดก แต่โจทก์ต้องฟ้ องทายาทของผูค้ า้ ประกันภายใน ๑ ปี นับแต่ร้หู รือ
ควรรู้ว่าผูค้ า้ ประกันตาย (ฎ. ๑๓๔๓/๒๕๒๐)
อายุความฟ้องผู้คา้ ประกัน
-กรณี คา้ ประกันการทางานของลูกจ้าง และลูกจ้างกระทาผิดอาญา เช่น ยักยอก
ทรัพย์หรือลักทรัพย์,ปลอมเอกสาร แม้ผคู้ า้ ประกันจะยกอายุความของลูกหนี้ ขนึ้
ต่อสู้ได้ แต่กรณี ดงั กล่าวเป็ นมูลละเมิดที่มีความผิดโทษตามกฎหมายอาญา ต้อง
ใช้อายุความตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๕ แม้จะฟ้ องผูค้ า้ ประกัน
เกิน ๑ ปี ก็ไม่ขาดอายุความ (ฎ. ๘๕๖/๒๕๓๖)
- กรณี คา้ ประกันการทางานของลูกจ้าง และลูกจ้างก่อให้เกิดความเสียหายซึ่งมิใช่
ความผิดทางอาญา ถือว่าลูกจ้างกระทาผิดสัญญาจ้าง มีอายุความ ๑๐ ปี
สามารถฟ้ องผูค้ า้ ประกันได้ภายใน ๑๐ ปี นับแต่ละเมิด (ฎ. ๔๖๐๗/๒๕๓๖)
- สัญญาคา้ ประกัน มีอายุความ ๑๐ ปี นับแต่เวลาอาจใช้สิทธิได้
ความระงับของสัญญาคา้ ประกัน (เพิ่มเติม)
- การทาสัญญาประนี ประนอมยอมความกันนอกศาล ทาให้หนี้ เดิมระงับ หากผู้
คา้ ประกันไม่ได้ตกลงด้วย ย่อมทาให้สญ
ั ญาคา้ ประกันระงับ (ฎ. ๖๓๔๓/๒๕๓๘)
- แต่การทาสัญญาประนี ประนอมยอมความกันในศาล เป็ นการยอมความตาม
ป.วิ แพ่ง มาตรา ๑๓๘ เพื่อบังคับหนี้ ตามที่ฟ้อง หนี้ เดิมไม่ระงับ ผูค้ า้ ประกันต้อง
รับผิดอยู่
(ฎ. ๒๔๐๖/๒๕๒๔)
- ลูกหนี้ ล้มละลาย แม้เจ้าหนี้ ไม่ได้ขอรับชาระหนี้ ในกาหนด ทาให้หมดสิทธิ
เรียกร้องจากลูกหนี้ เจ้าหนี้ ยงั สามารถเรียกจากผูค้ า้ ประกันได้ (ฎ. ๓๖๒๐/
๒๕๓๐)
- เจ้าหนี้ คืนสัญญาคา้ ประกันแก่ผคู้ า้ ประกันโดยสาคัญผิด ไม่ใช่การระงับหนี้ ผู้
คา้ ประกันไม่หลุดพ้น (ฎ. ๔๐๔/๒๕๓๖)
จานอง
มาตรา ๗๐๒ จานองคือสัญญาซึ่งบุคคลหนึ่ งเรียกว่าผูจ้ านอง เอาทรัพย์สินตรา
ไว้แก่บคุ คลอีกคนหนึ่ ง เรียกว่า ผูร้ บั จานอง เป็ นประกันการชาระหนี้ โดยไม่ต้อง
ส่งมอบทรัพย์สินนัน้ แก่ผรู้ บั จานอง
- จานองจะประกันหนี้ ของผูจ้ านองเองหรือของบุคคลอื่นก็ได้ แต่ที่สาคัญผูร้ บั
จานองต้องเป็ นเจ้าหนี้ ในหนี้ ที่จานองคา้ ประกันด้วย
- ก เป็ นกรรมการบริษทั ข. จาเลยที่ ๒ กู้เงินบริษทั ข. แต่จาเลยที่ ๒ กลับ
จานองที่ดินประกันหนี้ ไว้แก่ ก. เมื่อ ก. ผูร้ บั จานองยังไม่ได้อยู่ในฐานะเจ้าหนี้
สัญญาจานองจึงไม่มีหนี้ ที่ผจู้ านองจะต้องรับผิด (ฎ.๘๑๗/๒๕๒๑)
- จาเลย ๒ จานองที่ดินประกันหนี้ เงินกู้ของจาเลยที่ ๑ เมื่อฟังว่า จาเลยที่ ๑
ไม่ได้ก้เู งินโจทก์ สัญญาจานองไม่ผกู พันจาเลยที่ ๒ (ฎ. ๑๑๔๙/๒๕๓๗)
การจานองทรัพย์สินที่เป็ นสินสมรส
- ถ้าทรัพย์ที่จานองเป็ นสินสมรสระหว่างสามีภรรยา คู่สมรสฝ่ ายหนึ่ งจะ
จานองต้องจานองร่วมกับหรือได้รบั ความยินยอมจากอีกฝ่ ายหนึ่ งก่อน ตาม
มาตรา ๑๔๗๖ (๑)
- ถ้าคู่สมรสฝ่ ายเดียวจานองสินสมรสไปโดยไม่ได้รบั ความยินยอมจากอีก
ฝ่ ายหนึ่ ง ๆ อาจฟ้ องขอให้เพิกถอนนิติกรรมจานองได้ ตามมาตรา ๑๔๘๐
- อย่างไรก็ตามหากไม่มีการฟ้ องขอให้เพิกถอน สัญญาจานองย่อมมีผล
ผูกพันตามกฎหมาย ผูร้ บั จานองมีสิทธิบงั คับจานองในทรัพย์สินที่จานองนัน้
ทัง้ หมด (ฎ. ๖๘๘๙/๒๕๔๐)
เจ้าของทรัพย์เท่านัน้ ที่จะจานองได้ (ม.๗๐๕)
- จาเลยนาที่ดินมือเปล่าของผูร้ ้องไปออก น.ส. ๓ เป็ นชื่อตน แล้วนาไปจานอง
กับโจทก์ เมื่อศาลได้พิพากษาให้เพิกถอน น.ส. ๓ โดยฟังว่าเป็ นที่ดินของผูร้ ้อง
(คดีระหว่างผูร้ อ้ งกับจาเลย) แม้ศาลมิได้พิพากษาให้เพิกถอนการจานองและ
โจทก์รบั จานองโดยสุจริต โจทก์กไ็ ม่มีสิทธิบงั คับจานอง (ฎ. ๓๒๕/๒๕๑๔)
- ที่ดินพิพาท(มือเปล่า)เป็ นของผูร้ อ้ ง แต่บิดาจาเลยนาไปออก น.ส. ๓ แล้วจด
ทะเบียนยกให้จาเลย ๆ นาไปจานองแก่โจทก์ เมื่อฟังว่าผูร้ ้องเป็ นเจ้าของที่ดิน
พิพาท การที่จาเลยซึ่งไม่ใช่เจ้าของที่ดินนาไปจานองแก่โจทก์ แม้โจทก์จะสุจริต
ก็ไม่มีสิทธิที่จะบังคับเอากับที่ดินที่จานอง (ฎ. ๒๔๔๕/๒๕๓๙)
- จาเลยขายที่ดินพิพาทซึ่งเป็ น น.ส. ๓ ให้แก่ผรู้ อ้ ง โดยไม่ได้ทาเป็ นหนังสือและ
จดทะเบียน แต่การที่ผรู้ ้องได้ครอบครองที่ดินแล้ว ย่อมได้ไปซึ่งสิทธิครอบครอง
เมื่อจาเลยไม่ใช่เจ้าของที่ดินนาที่ดินไปจานอง จึงต้องห้าม ตามมาตรา ๗๐๕
จานองจึงไม่มีผล ไม่ว่าโจทก์จะสุจริตหรือไม่ (ฎ. ๗๑๔๙/๒๕๓๘)
- มีคนร้ายลักโฉนดที่ดินพิพาทของ ส. ไป แล้วปลอมลายพิมพ์นิ้วมือ ส.ใน
หนังสือมอบอานาจ แล้วใช้หนังสือมอบอานาจปลอมไปจดทะเบียนโอนขาย
ที่ดินเป็ นทอดๆ และได้มีการนาไปจดทะเบียนจานองกับโจทก์ด้วย เมื่อ ส.ฟ้ อง
เพิกถอนการโอนทุกทอดจนศาลฏีกาได้พิพากษาเพิกถอนแล้ว ต้องถือว่าที่ดิน
เป็ นของ ส.มาโดยตลอด แม้ธนาคารจาเลยจะรับจานองโดยสุจริต การจานอง
ย่อมไม่ผกู พัน ส. (ฎ. ๓๔๓๐/๒๕๓๖)
- การที่เจ้าของที่ดินลงชื่อในหนังสือมอบอานาจโดยไม่กรอกข้อความ เป็ นการ
กระทาที่ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง แม้จะมีผกู้ รอกหนังสือมอบอานาจแล้วน
ไปโอนขายที่ดินให้แก่ตนเอง ต่อมาได้มีการโอนขายให้บคุ คลอื่น และมีการ
นามาจานองกับผูร้ บั จานอง สัญญาจานองหาตกเป็ นโมฆะไม่ (ฎ. ๒๑๒/๒๕๑๗)
กรณี ที่ที่ดินมีเจ้าของรวมหลายคน
- ถ้าโฉนดที่ดินมีชื่อเจ้าของรวมทุกคน ถ้าจะจานองทัง้ หมดต้องลงชื่อทุกคน
- ถ้าเจ้าของรวมมีชื่อในโฉนดเพียงบางคน แล้วผูท
้ ี่มีชื่อนาไปจานอง
- จาเลยและผูร้ อ้ งเป็ นผูร้ บั มรดกที่ดินมีโฉนดร่วมกัน แต่จาเลยนาไปขอโอนรับ
มรดกและใส่ชื่อตนเพียงคนเดียว แล้วนาที่ดินไปจานองแก่ธนาคารโจทก์ ซึ่งรับ
จานองโดยสุจริตและเสียค่าตอบแทน ดังนัน้ นิติกรรมจานองระหว่างโจทก์กบั
จาเลยจึงมีผลสมบูรณ์ ธนาคารโจทก์มีสิทธิบงั คับจานองได้เต็มตามสัญญา (ฎ.
๘๑/๒๕๑๔)
- แม้ผรู้ ้องจะได้ที่ดินและตึกแถวที่โจทก์นายึดโดยการครอบครองปรปักษ์ เมื่อ
ยังไม่ได้จดทะเบียนสิทธิของตนไว้ จึงไม่อาจทาให้มีการเปลี่ยนแปลงทาง
ทะเบียน ทัง้ ห้ามมิให้ยกขึน้ ต่อสู้โจทก์ ซึ่งเป็ นผูร้ บั จานองที่ดินโดยสุจริตและเสีย
ค่าตอบแทนได้ ( ฎ.๕๕๗๐/๒๕๓๓)
มาตรา ๗๐๗ ให้นาบทบัญญัติมาตรา ๖๘๑ ว่าด้วยการคา้ ประกันนัน้ ให้ใช้
ในการจานองโดยอนุโลม
๑. จานองเพื่อประกันหนี้ ที่สมบูรณ์เท่านัน้
- แม้ฟังได้ว่าจาเลยที่ ๑ กู้ยืมเงินจากโจทก์ไป แต่ขาดหลักฐานการกูย้ ืมเงินตาม
กฎหมาย ห้ามมิให้ฟ้องร้องบังคับคดีเอากับจาเลยที่ ๑ เท่านัน้ แต่หนี้ ดงั กล่าว
ย่อมจานองเอาเป็ นประกันได้ เมื่อโจทก์ยงั ไม่ได้รบั ชาระหนี้ ตามสัญญากู้ยืม
ย่อมบังคับจานองเอากับจาเลยที่ ๒ ผูจ้ านองได้ (ฎ. ๑๖๐๔/๒๕๓๖)
- ที่ดินพิพาทเป็ นที่ดินที่มีกาหนดข้อห้ามโอน ๑๐ ปี ตามกฎหมายที่ดิน การที่
โจทก์และจาเลยทาสัญญาจะซื้อจะขายกันเพื่อโอนที่พิพาทภายในเวลาห้ามโอน
ย่อมขัดต่อกฎหมาย สัญญาจะซื้อจะขายย่อมตกเป็ นโมฆะ ดังนัน้ สัญญาจานอง
เพื่อเป็ นประกันหนี้ ตามสัญญาจะซื้อจะขายดังกล่าวจึงไม่อาจบังคับได้ เพราะ
จานองจะมีได้เฉพาะหนี้ ที่สมบูรณ์เท่านัน้ (ฎ. ๙๐๙๑/๒๕๓๘)
๒. หนี้ ในอนาคตหรือหนี้ มีเงือ่ นไขจะประกันไว้เพื่อเหตุการณ์ ซึ่งหนี้ นัน้
อาจเป็ นผลได้จริงก็ประกันได้ “แต่ต้องระบุ
(๑) วัตถุประสงค์ในการก่อหนี้ รายที่จานอง
(๒) ลักษณะของมูลหนี้
(๓) จานวนเงินสูงสุดที่จานอง
และ(๔)ระยะเวลาในการก่อหนี้ ที่จะจานอง เว้นแต่เป็ นการจานองเพื่อ
กิจการเนื่ องกันไปหลายคราวตามมาตรา ๖๙๙ จะไม่ระบุระยะเวลาก็ได้
สัญญาจานองต้องระบุหนี้ หรือสัญญาที่จานองไว้โดยชัดแจ้ง และผู้
จานองย่อมรับผิดเฉพาะหนี้ หรือสัญญาที่ระบุไว้เท่านัน้ ”
มาตรา ๗๒๗ ให้ นาบทบัญญัตมิ าตรา ๖๙๑, มาตรา ๖๙๗, มาตรา ๗๐๐, มาตรา
๗๐๑ มาใช้ บังคับกรณีท่ ีบุคคลจานองทรั พย์ สินเพื่อประกันหนีอ้ ันบุคคลอื่น
จะต้ องชาระโดยอนุโลม
 มาตรา ๖๙๑ ในกรณี ที่เจ้าหนี้ กระทาการใดๆ อันมีผลเป็ นการลดจานวนหนี้ ที่มีการ
จานองเป็ นประกัน รวมทัง้ ดอกเบีย้ ค่าสินไหมทดแทน หรือภาระติดพันอันเป็ นอุปกรณ์
แห่งหนี้ รายนัน้
(๑) ถ้าลูกหนี้ ได้ชาระหนี้ ตามที่ได้ลดแล้วก็ดี
(๒) ลูกหนี้ ชาระหนี้ ตามที่ได้ลดดังกล่าวไม่ครบถ้วนแต่ผจ้ ู านองได้ชาระหนี้ ส่วนที่
เหลือนัน้ แล้วก็ดี
(๓) ลูกหนี้ ไม่ชาระหนี้ ตามที่ได้ลดดังกล่าวแต่ผจ้ ู านองได้ชาระหนี้ ตามที่ได้ลดนัน้
แล้วก็ดี
ทัง้ นี้ ไม่ว่าจะล่วงเลยกาหนดเวลาชาระหนี้ ตามที่ได้ลดดังกล่าวแล้วหรือไม่กต็ าม
ให้ผจู้ านองเป็ นอันหลุดพ้นจากการจานอง
ข้อตกลงใดที่มีผลเป็ นการเพิ่มภาระแก่ผจ้ ู านองให้มากกว่าที่บญ
ั ญัติไว้ในวรรค
หนึ่ ง ข้อตกลงนัน้ เป็ นโมฆะ
 มาตรา ๖๙๗ ผูจ้ านองหลุดพ้นจากความรับผิด เพราะเจ้าหนี้ ทาให้ผจู้ านองเข้า
รับช่วงสิทธิ (จานอง, จานา,หรือบุริมสิทธิ)ไม่ได้ เช่น
หนี้ เงินกู้ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ลูกหนี้ จานาแหวนเพชร ราคา ๓๐,๐๐๐ บาท
และมีบคุ คลอื่นจานองประกันเงินกู้เต็มจานวน หากต่อมาเจ้าหนี้ คืนแหวนเพชร
แก่ลกู หนี้ ไป ทาให้ผจู้ านองเสียหายไม่อาจรับช่วงสิทธิจานาได้ เช่นนี้ ผจู้ านอง
หลุดพ้นจากหนี้ ๓๐,๐๐๐ บาท คงรับผิดเพียง ๗๐,๐๐๐ บาท
เพราะตามมาตรา ๗๒๔ กาหนดให้ผจู้ านองซึ่งจานองทรัพย์ของตนเพื่อ
ประกันหนี้ ของบุคคลอื่นจะต้องชาระแล้วและได้เข้าชาระหนี้ นัน้ เสียเอง ชอบที่
จะได้เงินคืนจากลูกหนี้ ตามจานวนที่ตนชาระไป หรือถ้ามีการบังคับจานอง ก็
ชอบที่จะได้รบั เงินตามจานวนที่ผจู้ านองได้รบั ใช้หนี้ จากการบังคับจานอง
 มาตรา ๗๐๐ ถ้าจานองประกันหนี้ อนั จะต้องชาระ ณ เวลามีกาหนดแน่ นอน
และเจ้าหนี้ ยอมผ่อนเวลาให้แกลูกหนี้ ผูจ้ านองย่อมหลุดพ้นจากความรับผิด เว้น
แต่ ผูจ้ านองจะได้ตกลงด้วยในการผ่อนเวลานัน้
(๑) ต้องเป็ นหนี้ ที่มีกาหนดเวลาชาระแน่ นอน
(๒). ต้องเป็ นการตกลงกัน คือมีคาเสนอและคาสนอง โดยตกลง
กาหนดเวลาใหม่ที่แน่ นอน ซึ่งในระหว่างนัน้ เจ้าหนี้ จะใช้สิทธิเรียกร้องไม่ได้
(๓) ข้อตกลงที่ผจู้ านองทาไว้ล่วงหน้ าก่อนเจ้าหนี้ ผอ่ นเวลาอันมีผลเป็ นการ
ยินยอมให้เจ้าหนี้ ผอ่ นเวลา ข้อตกลงนี้ ใช้บงั คับมิได้
 มาตรา ๗๐๑ ผูจ้ านองจะขอชาระหนี้ แก่เจ้าหนี้ ตงั ้ แต่เมื่อถึงกาหนดชาระหนี้ ก็
ได้ ถ้าเจ้าหนี้ ไม่ยอมรับชาระหนี้ ผูจ้ านองหลุดพ้นจากความรับผิด
 มาตรา ๗๒๗/๑ ผูจ้ านองซึ่งจานองทรัพย์สินของตนไว้เพื่อประกันหนี้ อนั บุคคล
อื่นจะต้องชาระ ไม่ต้องรับผิดในหนี้ นัน้ เกินราคาทรัพย์สินที่จานองในเวลาที่
บังคับจานองหรือเอาทรัพย์จานองหลุด
- มาตรานี้ เฉพาะบุคคลอื่นนาทรัพย์สินมาจานองประกันหนี้ ของลูกหนี้ เท่านัน้
- ข้อตกลงที่มีผลให้ผจู้ านองรับผิดเกินกว่านี้ เป็ นโมฆะ
-ข้อตกลงให้ผจู้ านองรับผิดอย่างผูค้ า้ ประกัน เป็ นโมฆะ
- ไม่ว่าจะระบุในสัญญาจานองหรือทาสัญญาแยกต่างหาก
มาตรา ๗๒๗/๑ ทาสัญญาหรือข้อตกลงยกเว้นมาตรานี้ ไม่ได้
แต่กรณี ลกู หนี้ จานองทรัพย์ของตนเพื่อประกันหนี้ ของตน กรณี เอาทรัพย์
จานองหลุดแล้วราคาทรัพย์ตา่ กว่าหนี้ ที่ค้างหรือขายทอดตลาดได้เงินน้ อยกว่าที่
ค้างกัน เงินขาดเท่าใดลูกหนี้ ไม่ต้องรับผิด ตามมาตรา ๗๓๓ คู่สญ
ั ญาสามารถ
ทาข้อตกลงยกเว้นมาตรานี้ ได้ (ฎ. ๑๕๐๗/๒๕๓๘, ฎ.๑๖๘/๒๕๑๘)
การบอกกล่าวบังคับจานอง (มาตรา ๗๒๘)
 กรณี ลูกหนี้ จานองทรัพย์ของตนเพื่อประกันหนี้ ของตน
๑. มีหนังสือบอกกล่าวให้ลกู หนี้ ชาระหนี้ ภายในเวลาไม่น้อยกว่า ๖๐ วันนับแต่
วันได้รบั คาบอกกล่าว
๒. ถ้าลูกหนี้ ละเลยไม่ชาระหนี้ ภายในเวลาที่บอกกล่าวจึงจะฟ้ องศาลได้
 กรณี มีบคุ คลอื่นจานองทรัพย์เพื่อประกันหนี้ ที่ลกู หนี้ จะต้องชาระ
๑. มีหนังสือบอกกล่าวให้ลกู หนี้ ชาระหนี้ ภายในเวลาไม่น้อยกว่า ๖๐ วันนับแต่
วันได้รบั คาบอกกล่าว
๒. ภายใน ๑๕ วันนับแต่วนั ส่งหนังสือแจ้งลูกหนี้ ตามข้อ ๑. ให้ส่งหนังสือบอก
กล่าวไปยังผูจ้ านองให้ชาระหนี้ ภายในเวลาไม่น้อยกว่า ๖๐ วันนับแต่วนั ได้รบั คา
บอกกล่าว
๓. ถ้าลูกหนี้ และผูจ้ านองละเลยไม่ชาระหนี้ ภายในเวลาที่บอกกล่าวจึงจะ
ฟ้ องศาลได้
 ถ้าผูร้ บั จานองไม่ได้ดาเนินการบอกกล่าวไปยังผูจ้ านอง(ซึ่งจานองทรัพย์สินของ
ตนเพื่อประกันหนี้ ของบุคคลอื่น)
๑. ให้ผจู้ านองหลุดพ้นจากความรับผิดในดอกเบีย้ และค่าสินไหมทดแทน
ตลอดจนค่าภาระติดพัน อันเป็ นอุปกรณ์แห่งหนี้ รายนัน้ นับแต่วนั ที่พ้น
กาหนดเวลา ๑๕ วันดังกล่าว ( มาตรา ๗๒๘ วรรคสอง)
๒. แต่ลกู หนี้ ยงั ต้องรับผิดในดอกเบีย้ และค่าสินไหมทดแทน ตลอดจนค่าภาระ
ติดพัน อันเป็ นอุปกรณ์แห่งหนี้ รายนัน้ ตาม มาตรา ๗๑๕ แม้จะเรียกจากผูค้ า้
ประกันไม่ได้
การเอาทรัพย์จานองหลุด (มาตรา ๗๒๙)
๑. ไม่มีการจานองรายอื่นในทรัพย์อนั เดียวกัน
๒. ไม่มีบรุ ิ มสิทธิอื่น อันได้จดทะเบียนไว้เหนื อทรัพย์นัน้ เช่น บุริมสิทธิในมูล
รักษาอสังหาริมทรัพย์ หรือบุริมสิทธิจ้างทาของเป็ นการงานทาขึน้ บน
อสังหาริมทรัพย์ (มาตรา ๒๘๕, ๒๘๖) ที่จดทะเบียนแล้ว ซึ่งใช้ได้ก่อนสิทธิ
จานอง (มาตรา ๒๘๗)
๓. ลูกหนี้ ขาดส่งดอกเบีย้ มาแล้วเป็ นเวลาห้าปี
๔. ผูร้ บั จานองมีหน้ าที่แสดงให้เป็ นที่พอใจแก่ศาลว่า ราคาทรัพย์นัน้ น้ อยกว่า
จานวนเงินค้างชาระ ( มาตรา ๗๒๙ (เดิม) กาหนดเป็ นหน้ าที่ผจู้ านองต้องแสดง
ให้ศาลเห็นว่าราคาทรัพย์นัน้ มากกว่าจานวนเงินที่ค้างชาระ)
มาตรการพิเศษในการขายทอดตลอดทรัพย์ที่จานอง
โดยไม่ต้องฟ้องคดีตอ่ ศาล (มาตรา ๗๒๙/๑)
๑. หนี้ ถึงกาหนดชาระ
๒. ไม่มีการจานองรายอื่นในทรัพย์อนั เดียวกัน
๓. ไม่มีบรุ ิ มสิทธิอื่น อันได้จดทะเบียนไว้เหนื อทรัพย์นัน้
๔. ผูจ้ านอง (ทัง้ จานองประกันหนี้ ของตนหรือจานองประกันหนี้ ของผู้อื่น) มี
หนังสือแจ้งไปยังผูร้ บั จานองให้ผรู้ บั จานองดาเนินการขายทอดตลาดทรัพย์ที่
จานอง โดยไม่ต้องฟ้ องศาล
๕. ผูร้ บั จานองต้องดาเนินการภายในหนึ่ งปี นับแต่ได้รบั หนังสือแจ้ง
 ผลของกรณี ที่ผรู้ บั จานองไม่ดาเนินการขายทอดตลาดตามกาหนด
- ให้ผจู้ านอง (ทัง้ จานองประกันหนี้ ของตนหรือจานองประกันหนี้ ของผูอ้ ื่น)
หลุดพ้นจากความรับผิดในดอกเบีย้ และค่าสินไหมทดแทน ตลอดจนค่าภาระติด
พัน อันเป็ นอุปกรณ์แห่งหนี้ รายนัน้ นับแต่วนั ที่พ้นกาหนดเวลาหนึ่ งปี นับแต่
ได้รบั หนังสือแจ้ง ( มาตรา ๗๒๙/๑ วรรคสอง)
 เมื่อมีการขายทอดตลาดทรัพย์ที่จานองแล้ว
๑. ให้ผรู้ บั จานองจัดสรรชาระหนี้ และอุปกรณ์
๒. ถ้าเงินเหลือส่งคืนแก่ผจู้ านอง
๓. ถ้าได้เงินน้ อยกว่าจานวนหนี้ ขาดอีกเท่าใดผูจ้ านอง (กรณี จานองประกันหนี้
ของตน) ไม่ต้องรับผิด ตามมาตรา ๗๓๓ (สามารถทาสัญญายกเว้นได้)
๔. ถ้าขายทรัพย์สินที่จานองได้เงินน้ อยกว่าจานวนหนี้ ผูจ้ านอง(ประกันหนี้ ของ
บุคคลอื่น)ไม่ต้องรับผิดเกินกว่าราคาทรัพย์สิน
๕. กรณี นี้ถือว่าการจานองย่อมระงับตาม มาตรา ๗๔๔ (๕)
 การบอกกล่าวจานองไปยังผูร้ บั โอนทรัพย์สินที่จานอง (มาตรา
๗๓๕)
- ต้องมีจดหมายบอกกล่าวแก่ผรู้ บั โอนทรัพย์สินล่วงหน้ าไม่น้อยกว่า ๖๐ วัน
ก่อน จึงจะบังคับจานองได้ ( เดิมกาหนดล่วงหน้ า ๑ เดือนก่อนบังคับจานอง)
 การไถ่จานองของผูร้ บั โอน (มาตรา ๗๓๗)
- ผูร้ บั โอนจะไถ่จานองเมื่อใดก็ได้
- แต่ถ้าได้รบั การบอกกล่าวบังคับจานอง ต้องไถ่จานองภายใน ๖๐ วัน นับแต่
วันได้รบั คาบอกกล่าว (เดิมกาหนดต้องไถ่ภายใน ๑ เดือนนับแต่ได้รบั คาบอก
กล่าว)
การบังคับใช้ กฎหมายค ้าประกันและจานองที่แก้ ไข
ใหม่
 กฎหมายใหม่กาหนดใช้บงั คับเมื่อวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
 หลักเกณฑ์กฎหมายใหม่ไม่ใช้กบั สัญญาที่ทาก่อนวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
ยกเว้น
๑. แม้จะทาสัญญาคา้ ประกันมาก่อน แต่หากลูกหนี้ ผิดนัดนับแต่วนั ที่ ๑๑
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ เป็ นต้นไป ให้นามาตรา ๖๘๖ ที่แก้ไขใหม่มาบังคับ คือ
เมื่อลูกหนี้ ผิดนัด ให้เจ้าหนี้ มีหนังสือบอกกล่าวไปยังผูค้ า้ ประกันภายใน หกสิบ
วันนับแต่วนั ที่ลกู หนี้ ผิดนัด และไม่ว่ากรณี จะเป็ นประการใดเจ้าหนี้ จะเรียกให้ผค้ ู า้
ประกันชาระหนี้ ก่อนที่หนังสือบอกกล่าวจะไปถึงผูค้ า้ ประกันมิได้ แต่ไม่ตดั สิทธิผคู้ า้
ประกันที่จะชาระหนี้ เมื่อหนี้ ถึงกาหนดชาระ ( มาตรา ๖๘๖ วรรคหนึ่ ง)
ในกรณี ที่เจ้าหนี้ มิได้มีหนังสือบอกกล่าวภายในกาหนดเวลาตามวรรคหนึ่ ง
ให้ผคู้ า้ ประกันหลุดพ้นจากความรับผิดในดอกเบีย้ และค่าสินไหมทดแทน
ตลอดจนค่าภาระติดพัน อันเป็ นอุปกรณ์แห่งหนี้ รายนัน้ บรรดาที่เกิดขึน้ ภาย
ภายหลังจากพ้นกาหนดเวลาตามวรรคหนึ่ ง ( มาตรา ๖๘๖ วรรคสอง)
เมื่อเจ้าหนี้ มีสิทธิเรียกให้ผคู้ า้ ประกันชาระหนี้ หรือผูค้ า้ ประกันมีสิทธิชาระ
หนี้ ได้ตามวรรคหนึ่ ง ผูค้ า้ ประกันอาจชาระหนี้ ทงั ้ หมดหรือใช้สิทธิชาระหนี้ ตาม
เงือ่ นไขและวิธีการในการชาระหนี้ ที่ลกู หนี้ มีอยู่กบั เจ้าหนี้ ก่อนการผิดนัดชาระ
หนี้ ทัง้ นี้ เฉพาะในส่วนที่ตนต้องรับผิดก็ได้ และให้นาความในมาตรา ๗๐๑
วรรคสอง มาใช้บงั คับโดยอนุโลม (มาตรา ๖๘๖ วรรคสาม)
ในระหว่างที่ผคู้ า้ ประกันชาระหนี้ ตามเงือ่ นไขและวิธีการในการชาระหนี้
ของลูกหนี้ ตามวรรคสาม เจ้าหนี้ จะเรียกดอกเบีย้ เพิ่มขึน้ เพราะเหตุที่ลกู หนี้ ผิด
นัดในระหว่างนัน้ มิได้ (มาตรา ๖๘๖ วรรคสี่)

๒. นับแต่วนั ที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ เป็ นต้นไป หากเจ้าหนี้ ลดจานวน
หนี้ ที่มีการคา้ ประกัน รวมทัง้ ดอกเบีย้ ค่าสินไหมทดแทน หรือภาระติดพันอัน
เป็ นอุปกรณ์แห่งหนี้ รายนัน้
(๑) ถ้าลูกหนี้ ได้ชาระหนี้ ตามที่ได้ลดแล้วก็ดี
(๒) ลูกหนี้ ชาระหนี้ ตามที่ได้ลดดังกล่าวไม่ครบถ้วนแต่ผคู้ า้ ประกันได้ชาระ
หนี้ ส่วนที่เหลือนัน้ แล้วก็ดี
(๓) ลูกหนี้ ไม่ชาระหนี้ ตามที่ได้ลดดังกล่าวแต่ผคู้ า้ ประกันได้ชาระหนี้ ตามที่
ได้ลดนัน้ แล้วก็ดี
ทัง้ นี้ ไม่ว่าจะล่วงเลยกาหนดเวลาชาระหนี้ ตามที่ได้ลดดังกล่าวแล้วหรือไม่
ก็ตาม ให้ผคู้ า้ ประกันเป็ นอันหลุดพ้นจากการคา้ ประกัน (มาตรา ๖๙๑ วรรค
หนึ่ ง)
๓. สัญญาจานองแม้จะทาก่อนวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ แต่มีผลบังคับอยู่
ในวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ให้นามาตรา ๗๒๗ ที่แก้ไขใหม่มาบังคับด้วย(มาตรา
๗๒๗ ให้นาบทบัญญัติมาตรา ๖๙๑, มาตรา ๖๙๗, มาตรา ๗๐๐, มาตรา ๗๐๑ มาใช้
บังคับกรณี ที่บคุ คลจานองทรัพย์สินเพื่อประกันหนี้ อนั บุคคลอื่นจะต้องชาระโดย
อนุโลม)
๔. สัญญาจานองแม้จะทาก่อนวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ แต่หากจะบังคับจานอง
หรือบังคับจานองเอาแก่ผรู้ บั โอนทรัพย์ซึ่งจานอง ให้นา มาตรา ๗๒๘ ที่แก้ไขใหม่ มาใช้
ในการบอกกล่าวบังคับจานองด้วย คือ
๔.๑ กรณี ลกู หนี้ จานองทรัพย์ของตนเพื่อประกันหนี้ ของตน
๑. มีหนังสือบอกกล่าวให้ลกู หนี้ ชาระหนี้ ภายในเวลาไม่น้อยกว่า ๖๐ วันนับ
แต่วนั ได้รบั คาบอกกล่าว
๒. ถ้าลูกหนี้ ละเลยไม่ชาระหนี้ ภายในเวลาที่บอกกล่าวจึงจะฟ้ องศาลได้
๔.๒ กรณี มีบคุ คลอื่นจานองทรัพย์เพื่อประกันหนี้ ที่ลกู หนี้ จะต้องชาระ
๑. มีหนังสือบอกกล่าวให้ลกู หนี้ ชาระหนี้ ภายในเวลาไม่น้อยกว่า ๖๐ วันนับแต่
วันได้รบั คาบอกกล่าว
๒. ภายใน ๑๕ วันนับแต่วนั ส่งหนังสือแจ้งลูกหนี้ ตามข้อ ๑. ให้ส่งหนังสือบอก
กล่าวไปยังผูจ้ านองให้ชาระหนี้ ภายในเวลาไม่น้อยกว่า ๖๐ วันนับแต่วนั ได้รบั คา
บอกกล่าว
และนามาตรา ๗๓๕ ที่แก้ไขใหม่ มาบังคับใช้กบั การบอกกล่าวไปยัง
ผูร้ บั โอนทรัพย์ที่จานองด้วยคือ
- ต้องมีจดหมายบอกกล่าวแก่ผรู้ บั โอนทรัพย์สินล่วงหน้ าไม่น้อยกว่า
๖๐ วัน ก่อน จึงจะบังคับจานองได้
๕. สัญญาจานองแม้จะทาก่อนวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ แต่หากผูร้ บั โอน
ทรัพย์ซึ่งจานองจะไถ่ทรัพย์ที่โอน ต้องไถ่จานองภายใน ๖๐ วัน นับแต่วนั รับคาบอก
กล่าวบังคับจานอง