มาตรา ๒๘๙ ถ้าบุคคลใดชอบที่จะบังคับการชาระหนี้เอาจากทรัพย์สินของลูกหนี้ตาม คาพิพากษาที่เจ้าพนักงานบังคับคดีได้ยดึ ไว้ หรื อชอบที่จะได้เงินที่ขายหรื อจาหน่าย ทรัพย์สินเหล่านั้นได้โดยอาศัยอานาจแห่งการจานองที่อาจบังคับได้กด็ ี หรื ออาศัย อานาจแห่งบุริมสิ ทธิกด็ ี บุคคลนั้นอาจยืน่ คาร้องขอต่อศาลที่ออกหมายบังคับคดีให้เอา เงินที่ได้มานั้นชาระหนี้ตนก่อนเจ้าหนี้อื่น ๆ ตามบทบัญญัติแห่ งประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ชย์ ในกรณี ที่อาจบังคับเอาทรัพย์สินซึ่งจานองหลุด ผูร้

Download Report

Transcript มาตรา ๒๘๙ ถ้าบุคคลใดชอบที่จะบังคับการชาระหนี้เอาจากทรัพย์สินของลูกหนี้ตาม คาพิพากษาที่เจ้าพนักงานบังคับคดีได้ยดึ ไว้ หรื อชอบที่จะได้เงินที่ขายหรื อจาหน่าย ทรัพย์สินเหล่านั้นได้โดยอาศัยอานาจแห่งการจานองที่อาจบังคับได้กด็ ี หรื ออาศัย อานาจแห่งบุริมสิ ทธิกด็ ี บุคคลนั้นอาจยืน่ คาร้องขอต่อศาลที่ออกหมายบังคับคดีให้เอา เงินที่ได้มานั้นชาระหนี้ตนก่อนเจ้าหนี้อื่น ๆ ตามบทบัญญัติแห่ งประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ชย์ ในกรณี ที่อาจบังคับเอาทรัพย์สินซึ่งจานองหลุด ผูร้

มาตรา ๒๘๙
ถ้าบุคคลใดชอบที่จะบังคับการชาระหนี้เอาจากทรัพย์สินของลูกหนี้ตาม
คาพิพากษาที่เจ้าพนักงานบังคับคดีได้ยดึ ไว้ หรื อชอบที่จะได้เงินที่ขายหรื อจาหน่าย
ทรัพย์สินเหล่านั้นได้โดยอาศัยอานาจแห่งการจานองที่อาจบังคับได้กด็ ี หรื ออาศัย
อานาจแห่งบุริมสิ ทธิกด็ ี บุคคลนั้นอาจยืน่ คาร้องขอต่อศาลที่ออกหมายบังคับคดีให้เอา
เงินที่ได้มานั้นชาระหนี้ตนก่อนเจ้าหนี้อื่น ๆ ตามบทบัญญัติแห่ งประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิ ชย์ ในกรณี ที่อาจบังคับเอาทรัพย์สินซึ่งจานองหลุด ผูร้ ับจานองจะมี คาขอ
ดังกล่าวข้างต้นให้เอาทรัพย์สินซึ่งจานองนั้นหลุดก็ได้
ในกรณี จานองอสังหาริ มทรัพย์ หรื อบุริมสิ ทธิเหนืออสังหาริ มทรัพย์อนั ได้ไป
จดทะเบียนไว้น้ นั ให้ยนื่ คาร้องขอก่อนเอาทรัพย์สินนั้นออกขายทอดตลาด ส่ วนใน
กรณี อื่น ๆ ให้ยนื่ คาร้องขอเสี ยก่อนส่ งคาบอกกล่าวตามที่บญั ญัติไว้ในมาตรา ๓๑๙
ถ้าศาลมีคาสัง่ อนุญาตให้เอาทรัพย์ที่จานองหลุด การยึดทรัพย์ที่จานองนั้นเป็ น
อันเพิกถอนไปในตัว ในกรณี อื่น ๆ ที่ศาลมีคาสัง่ อนุญาตตามคาร้องขอ เจ้าหนี้ตาม
คาพิพากษาชอบที่จะได้รับแต่เงินที่เหลือ ถ้าหากมี ภายหลังที่หกั ชาระค่าธรรมเนียม
การบังคับจานองและชาระหนี้ผรู ้ ับจานอง หรื อเจ้าหนี้บุริมสิ ทธิ แล้ว
การยืน่ คาร้ องตามมาตรา ๒๘๙
• ทำได้ เฉพำะกรณีท่ เี จ้ ำหนีต้ ำมคำพิพำกษำนำยึดทรัพย์ สินเพื่อ
ขำยทอดตลำดเช่ นเดียวกันมำตรำ ๒๘๗ แต่ หำกเป็ นกรณีท่ ี
เจ้ ำของทรัพย์ สินใช้ สิทธิตดิ ตำมเอำทรัพย์ สินของตนเองคืน หรือ
กรณีฟ้องขับไล่ เจ้ ำหนีจ้ ำนองหรือเจ้ ำหนีบ้ ุริมสิทธิจะขอใช้ สิทธิ
ตำมมำตรำ ๒๘๙ ไม่ ได้
• ฎ. ๑๗๖๗/๒๕๒๗
• ฎ. ๑๔๔๕/๒๕๓๙
๑. เป็ นการฟ้องบังคับจานองที่กฎหมายบัญญัติรับรองสิ ทธิไว้ ในฐานะที่
แตกต่ างจากการบังคับจานองตาม ปพพ. มาตรา๗๒๘
ฎ.๙๐๗๕/๒๕๕๑
• ข้ อสั งเกต
๑. ข้อเหมือน
ก. เป็ นคดีมีทุนทรัพย์ เสี ยค่าขึ้นศาลตามตาราง ๑
ข. หนี้ตอ้ งถึงกาหนดแล้ว ฎ.๑๕๙๗/๒๕๔๒, ๓๕๗๕/๒๕๓๔
๒. ข้อแตกต่าง
มาตรา ๗๒๘ ต้องบอกกล่าวบังคับจานอง
มาตรา ๒๘๙ ไม่ตอ้ งบอกกล่าวบังคับจานอง
๒.เมื่อการยืน่ คาร้ องตาม มาตรา ๒๘๙ มีผลเท่ ากับเป็ นการฟ้องบังคับจานอง
ฉะนั้นผู้ใช้ สิทธิตามมาตรา ๒๘๙ จึงไม่ จาต้ องเป็ นเจ้ าหนีจ้ านองตาม
คาพิพากษามาก่อน
ฎ.๒๐๘๖/๒๔๙๗, ๑๙๗๕/๒๕๕๑
ฎ.๔๗๔๐/๒๕๓๘
• ผลอืน่ ๆ ทีต่ ามมา
๑.ในกรณีเป็ นเจ้ าหนีจ้ านองตามคาพิพากษามาก่ อนแม้ ไม่ บังคับคดีภายใน
๑๐ ปี ก็ใช้ สิทธิตามมาตรา ๒๘๙ นีไ้ ด้
ฎ.๑๐๖๕๖/๒๕๕๓, ฎ.๑๘๗๑/๒๕๕๐
๒.ประเด็นเรื่องฟ้องซ้า, ร้ องซ้า
ฎ.๕๕๓๐/๒๕๓๙, ๖๑๗/๒๕๕๑
๓. ค่ าขึน้ ศาล
๓.๑ การเรียกเก็บค่ าขึน้ ศาล
เดิม (ก่อนปี ๒๕๕๑) คิดร้อยละ ๑ ถ้าจาเลยต่อสู ้ คิดร้อยละ ๒.๕
ใหม่ ทุนทรัพย์ไม่เกิน ๕๐ ล้านบาท คิดร้อยละ ๑ ไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท
เกิน ๕๐ ล้านบาท ส่ วนที่เกินคิดร้อยละ ๐.๑ (ไม่สนใจว่าจาเลยต่อสู ้หรื อไม่)
๓.๒ กรณีเป็ นเจ้ าหนีจ้ านองตามคาพิพากษามาแล้ วจึงมาใช้ สิทธิตามมาตรา ๒๘๙
ไม่ตอ้ งเสี ยค่าธรรมเนียม (เดิมเสี ยค่าคาร้อง ๒๐ บาท)
๓.๓ กรณีไม่ เคยเป็ นเจ้ าหนีจ้ านองตามคาพิพากษามาก่ อน (ไม่ เคยฟ้องหรือกรณี
ฟ้องมาแล้ วแต่ ฟ้องในมูลหนีส้ ามัญก็ได้ ) เก็บตามตาราง ๑ ข้ อ ๑ (ค)
ฎ.๗๙๖๖/๒๕๔๗
๓.การใช้ สิทธิตาม มาตรา ๒๘๙
๑.กรณีจานองอสั งหาริมทรัพย์ หรือบุริมสิ ทธิเหนืออสั งหาริมทรัพย์ อนั ได้ จด
ทะเบียนไว้ ต้ องยืน่ ก่อนวันทีข่ ายทอดตลาดจริง
ฎ.๗๕๖๙/๒๕๔๙, ๑๙๙๕/๒๕๓๕
ข้ อสั งเกต จานองสังหาริ มทรัพย์ตอ้ งยืน่ ก่อนเจ้าพนักงานบังคับคดีส่ง
คาบอกกล่าวตามมาตรา ๓๑๙
ฎ.๖๙๘/๒๕๓๒
๒.ผลของการไม่ ใช้ สิทธิในเวลาที่กาหนด
จานองไม่ ระงับไป เพราะไม่ เข้ าเหตุตาม ปพพ.มาตรา ๗๔๔
จานองติดไปกับตัวทรัพย์ ดังนั้นการบังคับคดีจึงไม่ กระทบสิ ทธิของ
เจ้ าหนีจ้ านอง
เจ้ าหนีจ้ านองจึงอาจใช้ สิทธิบังคับเหนือทรัพย์ น้ันได้ และถ้ าขาย
ทอดตลาดไปแบบปลอดจานอง ผู้รับจานองก็มีสิทธิได้ รับชาระหนี้
จานองก่อนเจ้ าหนีอ้ นื่
ฎ.๒๖๙๘/๒๕๔๖, ฎ.๑๗๗๙-๘๐/๒๕๐๙, ฎ.๑๕๕๑/๒๕๔๓
• คาสั่ งศาลทีอ่ นุญาตตามคาร้ องทีย่ นื่ ตามมาตรา ๒๘๙ นั้น ผู้รับจานอง
หรือเจ้ าหนีบ้ ุริมสิ ทธิจะได้ รับชาระหนีใ้ นหนีจ้ านองหรือหนีบ้ ุริมสิ ทธิน้ัน
ก่อน จากนั้นเจ้ าหนีต้ ามคาพิพากษาทีไ่ ด้ นายึดจึงจะได้ รับชาระหนีส้ ่ วนที่
เหลือ
• ข้ อสั งเกต กรณีจานอง หนีจ้ านองซึ่งผู้ร้องมีสิทธิขอให้ เอาชาระหนีต้ น
ก่อนเจ้ าหนีอ้ นื่ ๆ รวมถึงดอกเบีย้ และค่ าฤชาธรรมเนียมในการบังคับ
จานองด้ วย (ดู ปพพ.มาตรา ๗๑๕) ส่ วนค่ าฤชาธรรมเนียมที่ศาลสั่ งให้ ใช้
แทนอีกฝ่ ายหนึ่งนั้น ถือเป็ นหนีส้ ามัญ
• ฎ.๓๒๐๘/๒๕๓๐ , ๑๗๘๕/๒๕๒๐