การบริหารสัญญาและกรณีศึกษา ของ อ.กฤษฎา บุณยสมิต

Download Report

Transcript การบริหารสัญญาและกรณีศึกษา ของ อ.กฤษฎา บุณยสมิต

การบริหารสั ญญา
และ
กรณีศึกษา
กฤษฎา บุณยสมิต รองอธิบดีอยั การฝ่ ายปรึกษา
สั ญญาต่ าง ๆ เริ่มมีขนึ้ ในสั งคมไทย
เมื่อใด?
ประวัติสัญญาของไทย
พระอายการเบดเสรจ ประกาศใช้ เมื่อศุภมัสดุ ๑๙๐๓
ศุกรสั งวัชฉะระวิสาขมาศกาลปักขตติยดิถรี ะวิวาระ
ปริเฉทกาลกาหนด ในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑
(อู่ทอง)
ครองราชย์ ระหว่ าง พ.ศ. ๑๘๙๓-๑๙๑๒
๔๘ มาตราหนึ่ง ผู้ใดทาหนังสื อสั ญาเอกสารเช่ า
ถือที่ไร่ ที่สวนเรือกสวนจะให้ ทรัพยสิ่ งใดแก่ ท่าน ครั้น
ถึงสั ญามิได้ ให้ แก่ ท่าน ๆ ให้ เรียกหาออกมา ถ้ าต่ อสู้ เจ้ าที่
ไร่ ที่สวนเรือกสวนเมื่อพิจารณาเปนสั จว่ าเช่ าถือที่
เรือกสวนของท่ านจริงมิได้ ให้ แก่ท่านตามสั ญา ท่ านว่ า
ให้ เอาทรัพยซึ่งสั ญาว่ าจะให้ แก่ ท่านนั้นตั้งไหมทวีคูน
ยกค่ าเช่ าให้ แก่ เจ้ าของ เหลือนั้นเปนสี นไหมกึ่งพิไนยกึง่
๘๘ มาตราหนึ่ง ผู้ใดหากาลังมิได้ จ้ างไพร่ ฟ้าข้ า
คนท่ านไปเปนกาลัง... แลจ้ างเปนวันก็ดีเปนเดือนก็ดีเป
นคราวก็ดีเปนปี ก็ดี สั ญาแก่ กนั เปนเงินมากน้ อยเท่ าใด
ครั้นถึงที่มันไม่ จ้างสื บไปก็ดีกลับมาแล้ วก็ดี ให้ คดิ เงิน
ค่ าจ้ างให้ แก่ มันตามสั ญาจงเตมเปนค่ าแรงมัน เมื่อผู้จ้าง
ได้ กาไรมากน้ อยเท่ าใดไม่ ได้ แบ่ งปันให้ แก่ ลูกจ้ าง ครั้น
ขาดทุนให้ ลูกจ้ างช่ วยใช้ น้ันไม่ ได้ เพราะมันเปนแต่
ลูกจ้ าง
๘๕ มาตราหนึ่ง จ้ างท่ านให้ ทาแก้ วแหวนรู ประ
พรรณเรือเกวียนสิ่ งใด ให้ เจ้ าของแลช่ างตีราคารู ประ
พรรณซึ่งทานั้นให้ รู้จักค่ ามากแลน้ อย ถ้ าแลช่ างผู้ทานั้น
ทาให้ รูประพรรณสิ่ งของเกวียนท่ านแตกหักเสี ยหาย
ให้ ใช้ ของท่ านตามมากแลน้ อย บาเหนจ์ น้ันอย่ าให้ เอา
เลย
พระไอยการลักษณกู้หนี้ ประกาศใช้ เมื่อศุภมัศดุ
๑๒๗๘ ชวดนักสั ตวศก เดือนสิ บเบดขึน้ เก้ าคา่ จันทวาร
กาลบริเฉทกาหนด ตรงกับ พ.ศ. ๑๘๙๙ ในรัชสมัย
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (อู่ทอง)
๑ มาตราหนึ่ง ทวยราษฎรกู้หนีถ้ อื สี นแก่ กนั แต่ ๑
ตาลึงขึน้ ไป ให้ มีกรมทันแกงใดเปนสาคัญ
ให้ ผูกดอกเบีย้ เดือนละ ๑ เฟื้ อง ถ้ าหาเอกสาร
สาคัญมิได้ มาร้ องฟ้ อง ท่ านว่ าอย่ าให้ รับไว้ บังคับ
บันชา
๖ มาตราหนึ่ง ผู้ใดเปนเมียเดิมเมียกลางเมียสุ ด
ขายแลกู้แก่ กนั มีบริคนเปนคานับ ถ้ าให้ โดยง่ าย
มีต้นแลดอกมากน้ อยเท่ าใด ให้ เอาแต่ ต้นสี นจงเตม
เพราะว่ าร่ วมสามีกนั ถ้ าให้ โดยยากให้ ทาดอกเบีย้
เปนสองส่ วนเอาส่ วนหนึ่ง ถ้ ามิรับตามหนังสื อ
คานับสื บสวนเปนสั จให้ ทาดอกเบีย้ เปนสามส่ วน
เอาสองส่ วน เพรามันจะประบัดเอาทรัพย์ ท่านไว้
การบริหารสั ญญาควรต้ องพิจารณา
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี
ว่ าด้ วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕
ควบคู่ไปกับ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ระเบียบและและกฎหมายอืน่ ๆ ที่เกีย่ วข้ อง
ด้ วย
รูปแบบของสั ญญา
๑. เต็มรู ป (ข้ อ ๑๓๒)
๑.๑ ทาสั ญญาตามตัวอย่ างที่ กวพ. กาหนด
๑.๒ มีข้อความแตกต่ าง เสี ยเปรียบ/ไม่ รัดกุมส่ ง สนง.อัยการ
สู งสุ ดพิจารณา
๑.๓ ร่ างใหม่
๒. ลดรู ป (ข้ อ ๑๓๓) ข้ อตกลงเป็ นหนังสื อ (ใบสั่ งซื้อ/สั่ งจ้ าง)
๒.๑ ตกลงราคา ๒.๒ ส่ งของภายใน ๕ วันทาการ
๒.๓ กรณีพเิ ศษ ๒.๔ การซื้อ/จ้ างโดยวิธีพเิ ศษ (บางกรณี)
รูปแบบของสั ญญา
๓. ไม่ มรี ู ป (ข้ อ ๑๓๓ วรรคท้ าย)
๓.๑ ไม่ เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท
๓.๒ ตกลงราคา กรณีเร่ งด่ วน ตามข้ อ ๓๙ วรรคสอง
จะไม่ ทาข้ อตกลงเป็ นหนังสื อไว้ ต่อกันก็ได้
โครงสร้ างของสั ญญา
๑. ชื่อสั ญญา พิจารณาดูวตั ถุประสงค์และลักษณะสัญญา
๒. วันที่ และสถานที่ทาสั ญญา
(สถานที่หน่วยงานของรัฐ)
๓. วรรคคู่สัญญา รายละเอียดของคู่สญั ญา
- นิติบุคคลในประเทศ
- นิติบุคคลต่างประเทศ
- กิจการร่ วมค้า
- อานาจผูล้ งนาม
- ภูมิลาเนาคู่สญ
ั ญา
- คาใช้เรี ยกคู่สญ
ั ญา เช่น การรถไฟแห่งประเทศไทย ผูว้ า่ จ้างฝ่ ายหนึ่ง
บริ ษทั ฯ ผูร้ ับจ้างอีกฝ่ ายหนึ่ง
- เอกสารแนบท้ายสัญญา ยืนยันผูม้ ีอานาจลงนาม
(หนังสื อรับรองห้างหุน้ ส่ วนจากัด หรื อบริ ษทั และหนังสื อคาสัง่
หน่วยงานของรัฐซึ่งมอบอานาจให้เจ้าหน้าที่เป็ นผูล้ งนาม)
๔. บทนิยาม
เพื่อความเข้าใจตรงกันหรื อ
เพื่อสะดวกในการไม่ตอ้ งกล่าวซ้ าในสัญญา
๕. วรรคเจตนารมณ์ หรือ วรรค
อารัมภบท
- วรรคแสดงที่มาของสัญญา หรื อที่มาเริ่ มต้น
ของโครงการ
- วรรคที่ใช้ประโยชน์เพื่อการตีความสัญญา
๖. เงือ่ นไขการปฏิบัติตามสั ญญา
- วันที่สัญญามีผลบังคับใช้ เช่ น วันเริ่มทางาน
ตามสั ญญา
- กาหนดสิ ทธิและหน้ าที่ความรับผิดชอบของ
คู่สัญญา
- หลักประกันการปฏิบัตติ ามสั ญญาหรือหนังสื อ
คา้ ประกัน
- การจ่ ายเงิน(งวดเงิน)
- การส่ งมอบ การตรวจรับงานหรือสิ่ งของ
๖. เงือ่ นไขการปฏิบัติตามสั ญญา
- การรับประกันความชารุดบกพร่ อง
- การขยายเวลา
- การปรับ
- การบอกเลิกสั ญญา และการริบหลักประกัน
- การกาหนดเรื่องการเรียกค่ าเสี ยหาย
๗. เงือ่ นไขอืน่ ๆ
- เหตุสุดวิสัย จะต้ องบอกกล่ าวเหตุสุดวิสัยเพือ่ ขอขยายเวลา
- ค่ าภาษีอากร และค่ าใช้ จ่ายอืน่ ๆ
- ภาษาที่ใช้ ในการตีความจะเป็ นภาษาใด
(กรณีที่เป็ นสั ญญาภาษาอังกฤษ)
- การระงับข้ อพิพาท และอนุญาโตตุลาการ
(มักมีอยู่ในสั ญญาตามโครงการทีค่ ู่สัญญาอีกฝ่ ายเป็ น
บุคคลหรือ นิตบิ ุคคลต่ างชาติ)
- การกาหนดเรื่องการประกันภัย
๘. เอกสารแนบท้ าย เอกสารต่ าง ๆ เช่ น ใบเสนอราคา รายละเอียด
แบบรู ป อันเป็ นส่ วนหนึ่งของสั ญญามีอะไรบ้ าง
๙. วรรคท้ ายสั ญญา เป็ นการยา้ เจตนาของคู่สัญญาว่ าเข้ าใจ
ข้ อความต่ างๆ ในสั ญญาดีแล้ ว
๑๐. ช่ องลงนาม มีช่องลงนามคู่สัญญา และลงนามพยาน ของ
แต่ ละฝ่ าย ซึ่งกรณีคู่สัญญาฝ่ ายนิตบิ ุคคลต้ องประทับตรา
นิตบิ ุคคลไว้ ด้วย
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
บรรพ ๒ หนี้
ลักษณะ ๒ สั ญญา
หมวด ๑ ก่ อให้ เกิดสั ญญา
หมวด ๒ ผลแห่ งสั ญญา
หมวด ๓ มัดจาและกาหนดเบีย้ ปรับ
หมวด ๔ เลิกสั ญญา
มาตรา ๓๖๖
-ข้ อความใด ๆ แห่ งสั ญญาอันคู่สัญญาแม้ เพียงฝ่ ายเดียวได้
แสดงไว้ ว่าเป็ นสาระสาคัญอันจะต้ องตกลงกันหมดทุกข้ อ
นั้น
-หากคู่สัญญายังไม่ ตกลงกันได้ หมดทุกข้ ออยู่ตราบใด
-เมือ่ กรณีเป็ นที่สงสั ย ท่ านนับว่ ายังมิได้ มีสัญญาต่ อกัน
มาตรา ๓๖๖
-การทีไ่ ด้ ทาความเข้ าใจกันไว้ เฉพาะบางสิ่ งบางอย่าง
ถึงแม้ ว่าจะได้ จดลงไว้ กห็ าเป็ นการผูกพันไม่
-ถ้ าได้ ตกลงกันว่ าสั ญญาอันมุ่งจะทานั้นจะต้องทาเป็ น
หนังสื อ
-เมือ่ กรณีเป็ นทีส่ งสั ย ท่ านนับว่ ายังมิได้ มสี ั ญญาต่ อกัน
จนกว่ าจะได้ ทาขึน้ เป็ นหนังสื อ
มาตรา ๓๖๘
สั ญญานั้นท่ านให้ ตีความไปตามความประสงค์
ในทางสุ จริต โดยพิเคราะห์ ถงึ ปกติประเพณีด้วย
กรณีศึกษา
ตัวอย่ างที่ ๑
กรณีศึกษาที่ ๑
ส่ วนราชการแห่ งหนึ่งทาการว่ าจ้ างสถานี
วิทยุกระจายเสี ยงของมหาวิทยาลัยของรัฐผลิตรายการ
และกระจายเสี ยงออกอากาศ
คู่สัญญาทั้งสองฝ่ ายต้ องการมอบอานาจให้ ตวั แทนเป็ น
ผู้ลงนาม
เจ้ าหน้ าทีพ่ สั ดุต้องตรวจสอบหลักฐานใดบ้ าง
กรณีศึกษา
-การมอบอานาจให้ ยนื่ ซองประมูลตามประกาศจัดซื้อ
ของทางราชการเป็ นการทานิติกรรมตาม ป.พ.พ.
หรือไม่
-บริษทั ฯ ผู้เสนอราคามอบอานาจให้ ผู้เยาว์ เป็ นตัวแทน
ยืน่ ซองประมูลตามประกาศจัดซื้อได้ หรือไม่
(ห.๔๒/๒๕๕๑)
การมอบอานาจ (ข้ อ ๙)
หลักทัว่ ไป
ผู้มอี านาจทาการมอบอานาจได้ เสมอ
แต่ ผู้ได้ รับมอบอานาจ จะมอบต่ ออีกไม่ ได้
ข้ อยกเว้ น
๑. เจ้ าของอานาจมอบให้ ผู้ว่าฯ ผู้ว่าฯ มอบต่ อได้ เฉพาะ
(๑) มอบให้ รองผู้ว่าฯ หรือผู้ช่วยผู้ว่าฯ /ปลัดจังหวัด /หัวหน้ า
ส่ วนราชการประจาจังหวัด โดยให้ รายงานเจ้ าของอานาจ
ทราบด้ วย
(๒) หากผู้ว่าฯ มอบต่ อให้ ผู้อนื่ ให้ ขอความเห็นชอบเจ้ าของอานาจ
๒. การมอบอานาจ/การมอบอานาจต่ อ ตามระเบียบกระทรวง
กลาโหม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
บรรพ ๑ หลักทัว่ ไป
ลักษณะ ๔ นิติกรรม
บรรพ ๓ เอกเทศสั ญญา
ลักษณะ ๑๕ ตัวแทน
มาตรา ๑๔๙ นิติกรรม หมายความว่ า การใดๆ อันทาลง
โดยชอบด้ วยกฎหมายและด้ วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่ อ
การผูกนิตสิ ั มพันธ์ ขนึ้ ระหว่ างบุคคล เพือ่ จะก่ อ
เปลีย่ นแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิ ทธิ
มาตรา ๗๙๗ อันว่ าสั ญญาตัวแทนนั้น คือสั ญญาซึ่งให้
บุคคลคนหนึ่งเรียกว่ าตัวแทน มีอานาจทาการแทน
บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่ าตัวการ และตกลงจะทาการดั่ง
นั้น
อันความเป็ นตัวแทนนั้นจะเป็ นโดยตั้งแต่ ง
แสดงออกชัดหรือโดยปริยายก็ย่อมได้
มาตร ๗๙๘ กิจการอันใดท่ านบังคับไว้ โดยกฎหมายว่ า
ต้ องทาเป็ นหนังสื อ การตั้งตัวแทนเพือ่ กิจการอันนั้นก็
ต้ องทาเป็ นหนังสื อด้ วย
กิจการอันใดท่ านบังคับไว้ ว่าต้ องมีหลักฐาน
เป็ นหนังสื อ การตั้งตัวแทนเพือ่ กิจการอันนั้นก็ต้องมี
หลักฐานเป็ นหนังสื อด้ วย
มาตรา ๗๙๙ ตัวการคนใดใช้ บุคคลผู้ไร้ ความสามารถ
เป็ นตัวแทน ท่ านว่ าตัวการคนนั้นย่ อมต้ องผูกพันใน
กิจการที่ตวั แทนกระทา
สั ญญาการประกวดราคามีผลผูกพันคู่กรณีอย่ างไร
คาพิพากษาฎีกาที่ 1131/2520 การรถไฟแห่ งประเทศไทย โจทก์
นายฉลอง สุ วรรณมงคล จาเลย ป.พ.พ. มาตรา 215, 222, 354, 368
จาเลยทราบข้ อสั ญญาการประกวดราคาตาม
ประกาศเรียกประกวดราคาของโจทก์ แล้ ว จึงยืน่ ซอง
จาเลยประมูลทาการก่ อสร้ างได้ แล้ วไม่ ยอมทาสั ญญาก่ อสร้ าง
เมือ่ กรณีนีต้ ามสั ญญาประกวดราคาระบุให้ จาเลยผู้ประกวด
ราคาต้ องรับผิดชดใช้ ค่าเสี ยหายในการที่โจทก์ ต้องจ้ างผู้อนื่
ทางานนีใ้ นราคาสู งกว่ าทีจ่ าเลยเสนอราคา จาเลยจึงต้ องรับ
ผิดตามสั ญญา
การกาหนดอัตราค่ าปรับในสั ญญา (ข้ อ๑๓๔)
กรณีซื้อ /จ้ าง
๑. ไม่ ต้องการผลสาเร็ จของงานพร้ อมกัน
ค่าปรับรายวัน อัตราตายตัว ระหว่างร้อยละ ๐.๐๑ – ๐.๒๐
ของราคาพัสดุที่ยงั ไม่ได้รับมอบ
กรณีงานจ้ างก่ อสร้ าง
๒. ที่ต้องการผลสาเร็ จของงานพร้ อมกัน
ค่าปรับรายวัน เป็ นจานวนเงินตายตัว อัตราร้อยละ ๐.๐๑ – ๐.๑๐
ของราคางานจ้าง แต่ตอ้ งไม่ต่ากว่าวันละ ๑๐๐ บาท
 การจ้ างที่ปรึ กษา
ปรับรายวันในอัตรา/จานวนตายตัว ร้อยละ ๐.๐๑ – ๐.๑๐
การคิดค่ าปรับตามสั ญญา
 เมือ
่ ครบกาหนดสั ญญา / ยังไม่ มกี ารส่ งมอบต้ องแจ้ งการปรับ
 คิดค่ าปรับนับถัดจากวันครบกาหนดสั ญญา/ข้ อตกลง
 สงวนสิ ทธิปรับ เมือ
่ ส่ งมอบของ/งาน เกินกาหนดตามสั ญญา
ต้ องสงวนสิ ทธิปรับ
 เงือ
่ นไขสั ญญาซื้อเป็ นชุด ให้ ปรับทั้งชุด
 สิ่ งของราคารวมติดตั้ง/ทดลอง/ปรับตามราคาของทั้งหมด
การงด ลดค่ าปรับ หรือการขยายเวลา
ทาการตามสั ญญา (ข้ อ ๑๓๙)
อานาจอนุมัติ
• หัวหน้ าส่ วนราชการ
สาเหตุ
(๑) เหตุเกิดจากความผิด ความบกพร่ องของราชการ
(๒) เหตุสุดวิสัย
(๓) เหตุเกิดจากพฤติการณ์ ทีค่ ู่สัญญาไม่ ต้องรับผิด
การงด ลดค่ าปรับ หรือการขยายเวลา
ทาการตามสั ญญา (ข้ อ ๑๓๙)
วิธีการ
- คู่สัญญาต้ องแจ้ งเหตุให้ ส่วนราชการทราบภายใน ๑๕ วัน
นับแต่ เหตุน้ันได้ สิ้นสุ ดลง หากไม่ แจ้ งตามทีก่ าหนด จะยก
มากล่ าวอ้ างเพือ่ ขอลดหรืองดค่ าปรับ หรือขยายเวลามิได้
เว้ นแต่ กรณีความผิดความบกพร่ องของส่ วนราชการ ซึ่งมี
หลักฐานชัดแจ้ งหรือส่ วนราชการทราบดีอยู่แล้ วตั้งแต่ ต้น
- พิจารณาได้ ตามจานวนวันทีม่ ีเหตุเกิดขึน้ จริง
การแก้ ไขเปลีย่ นแปลงสั ญญา (๑๓๖)
หลัก
• ห้ ามแก้ไข เปลีย่ นแปลง
ข้ อยกเว้ น
• กรณีจาเป็ น ไม่ ทาให้ ราชการเสี ยประโยชน์
• กรณีแก้ไขเพือ่ ประโยชน์ ของทางราชการ
การแก้ ไขเปลีย่ นแปลงสั ญญา (ต่อ)
อานาจอนุมตั แิ ก้ไขเปลีย่ นแปลงสั ญญา
• หัวหน้ าส่ วนราชการ
** หลักการแก้ไขฯ **
การแก้ไขนั้นจะเป็ นความจาเป็ นโดยไม่ ทา
ให้ ทางราชการต้ องเสียประโยชน์ หรือเป็ น
การแก้ไขเพือ่ ประโยชน์ แก่ทางราชการ
การแก้ ไขเปลีย่ นแปลงสั ญญา(ต่อ)
** หลักการแก้ไขฯ **
การแก้ ไขเปลีย่ นแปลงสั ญญา สามารถทีจ่ ะ
พิจารณาดาเนินการแก้ ไขเปลีย่ นแปลงสั ญญาใน
ช่ วงเวลาใดก็ได้ แม้ จะล่ วงเลยกาหนดระยะเวลาแล้ ว
เสร็จตามสั ญญาก็ตาม แต่ อย่ างช้ าจะต้ องดาเนินการ
แก้ ไขเปลีย่ นแปลงก่ อนทีค่ ณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/
ตรวจการจ้ าง ได้ ทาการตรวจรับพัสดุหรืองานจ้ างไว้
ใช้
หลักประกัน (ข้ อ ๑๔๑)
หลักประกันซองหรื อหลักประกันสัญญาให้ใช้ หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใด
หลักประกันสั ญญา
•เงินสด
•เช็คทีธ่ นาคารสั่ งจ่ าย
•หนังสื อคา้ ประกัน ธ
•หนังสื อคา้ ประกัน บ
•พันธบัตรรัฐบาล
หลักประกันซอง
•หลักประกันที่ใช้ กบั สั ญญา
•หนังสื อคา้ ประกันธนาคาร
ต่ างประเทศ (กรณีประกวด
ราคานานาชาติ)
มูลค่ าหลักประกัน
ร้ อยละ ๕ ของวงเงิน / ราคาพัสดุ ทีจ่ ัดหาในครั้งนั้น
 เว้ นแต่ การจัดหาทีส
่ าคัญพิเศษ กาหนดสู งกว่ าร้ อยละ ๕
แต่ ไม่ เกินร้ อยละ ๑๐
* กรณีส่วนราชการ / รัฐวิสาหกิจ เป็ นคู่สัญญา / ผู้เสนอราคา
ไม่ ต้องวางหลักประกัน (ข้ อ ๑๔๓)

การคืนหลักประกัน (ข้ อ ๑๔๔)
ซอง คืนภายใน ๑๕ วัน นับแต่ วนั พิจารณาเบือ้ งต้ นเรียบร้ อยแล้ว
สั ญญา คืนโดยเร็ว / อย่ างช้ าไม่ เกิน ๑๕ วัน นับแต่ วนั ทีค่ ู่สัญญา
พ้นข้ อผูกพันแล้ว
กรณีหลักประกัน
- ข้ อกาหนดสั ญญากาหนดให้ คนื หลักประกันสั ญญา
เมื่อสิ้นข้ อผูกพันตามสั ญญาแล้ ว
(ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยการพัสดุฯ ข้ อ 144)
- หลักประกันสั ญญาลดน้ อยลงระหว่ างบริหาร
สั ญญา เช่ น นาไปหักใช้ หนีห้ รือค่ าเสี ยหาย
ควรเรียกให้ เพิม่ หลักประกันเท่ าหลักประกันเดิม
การพิจารณา
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี
ว่ าด้ วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕
ควบคู่ไปกับ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
หมวด ๓
มัดจาและกาหนดเบีย้ ปรับ
มาตรา ๓๗๗ เมือ่ เข้ าทาสั ญญา ถ้ าได้ ให้ สิ่งใดไว้ เป็ นมัดจา
-การทีใ่ ห้ มดั จานั้นย่ อมเป็ นพยานหลักฐานว่ าสั ญญานั้น
ได้ ทากันขึน้ แล้ ว
-มัดจานีย้ ่ อมเป็ นประกันการทีจ่ ะปฏิบัติตามสั ญญา
นั้นด้ วย
มาตรา ๓๗๙ ถ้ าลูกหนีส้ ั ญญาแก่ เจ้ าหนีว้ ่ าจะใช้ เงินจานวน
หนึ่งเป็ นเบีย้ ปรับเมือ่ ตนไม่ ชาระหนีก้ ด็ ี หรือไม่ ชาระหนีใ้ ห้
ถูกต้ องสมควรก็ดี
-เมือ่ ลูกหนีผ้ ดิ นัดก็ให้ ริบเบีย้ ปรับ
-ถ้ าการชาระหนีอ้ นั จะพึงทานั้นได้ แก่ งดเว้ นการอัน
ใดอันหนึ่ง หากทาการอันนั้นฝ่ าฝื นมูลหนีเ้ มือ่ ใด ก็ให้ ริบเบีย้
ปรับเมือ่ นั้น
มาตรา ๓๘๐ วรรคแรก
๑. ถ้ าลูกหนีไ้ ด้ สัญญาไว้ ว่าจะให้ เบีย้ ปรับเมือ่ ตนไม่
ชาระหนี้
๒. เจ้ าหนีจ้ ะเรียกเอาเบีย้ ปรับอันจะพึงริบนั้นแทน
การชาระหนีก้ ไ็ ด้
๓. ถ้ าเจ้ าหนีแ้ สดงต่ อลูกหนีว้ ่ าจะเรียกเอาเบีย้ ปรับแล้ ว
เป็ นอันขาดสิ ทธิเรียกร้ องชาระหนีอ้ กี ต่ อไป
มาตรา ๓๘๐วรรคสอง
๑. ถ้ าเจ้ าหนีม้ ีสิทธิเรียกร้ องค่ าสิ นไหมทดแทนเพือ่ การไม่ ชาระ
หนีจ้ ะเรียกเอาเบีย้ ปรับอันจะพึงริบนั้นในฐานเป็ นจานวนน้ อยทีส่ ุ ด
แห่ งค่ าเสี ยหายก็ได้
๒. ถ้ ามีค่าเสี ยหายมากกว่ านั้น ก็พสิ ู จน์ ได้
มาตรา ๓๘๑ วรรคแรก
ถ้ าลูกหนีไ้ ด้ สัญญาไว้ ว่าจะให้ เบีย้ ปรับเมื่อตนไม่ ชาระหนีใ้ ห้
ถูกต้ องสมควร (เช่ นชาระหนีไ้ ม่ ตรงตามเวลา)
๑. เจ้ าหนีม้ ีสิทธิเรียกให้ ชาระหนี้
๒. เรียกเอาเบีย้ ปรับอันจะพึงริบนั้นด้ วยก็ได้
๓. ถ้ าเจ้ าหนีม้ ีสิทธิเรียกร้ องค่ าสิ นไหมทดแทนในมูลชาระ
หนีไ้ ม่ ถูกต้ องสมควร ให้ บังคับตามมาตรา ๓๘๐ วรรค ๒
มาตรา ๓๘๑ วรรคสอง
ถ้ าเจ้ าหนีย้ อมรับชาระหนีแ้ ล้ ว จะเรียกเอาเบีย้ ปรับได้ ต่อเมื่อ
ได้ บอกสงวนสิ ทธิไว้ เช่ นนั้นในเวลารับชาระหนี้
มาตรา ๓๘๓ ถ้ าเบีย้ ปรับทีร่ ิบนั้นสู งเกินส่ วน ศาลจะ
ลดลงเป็ นจานวนพอสมควรก็ได้ ในการที่จะวินิจฉัยว่ า
สมควรเพียงใดนั้น ท่ านให้ พเิ คราะห์ ถึงทางได้ เสี ยของ
เจ้ าหนีท้ ุกอย่ างอันชอบด้ วยกฎหมาย...
กรณีศึกษา
ตัวอย่ างที่ ๒
สั ญญาซื้อขาย
๑. เมื่อปี ๒๕๔๐ หน่ วยงานทาสั ญญาซื้อขายเครื่อง
คอมพิวเตอร์ สาหรับประมวลผลทั่วไป ๒๐
เครื่องพร้ อมเครื่องพิมพ์ เครื่องควบคุม และเครื่อง
สารองไฟ พร้ อมค่ าติดตั้ง ๑.๑ ล้ านบาทเศษ
๒. วางหลักประกันเป็ น หนังสื อคา้ ประกันของ
ธนาคาร.... จานวนเงิน ๑.๑ แสนบาทเศษ
๓. สั ญญาข้ อ ๘ วรรคแรก กาหนดให้
-ผู้ขายรับประกันความชารุดบกพร่ อง หรือ
ขัดข้ องของการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็ นเวลา ๑
ปี นับแต่ วนั รับมอบ
-ภายในระยะเวลา ๑ ปี หากการติดตั้งชารุดบกพร่ อง
หรือใช้ งานเครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่ ได้ โดยมิใช่ ความผิด
ของผู้ซื้อ
-ผู้ขายต้ องรีบซ่ อมแซมแก้ไขให้ ใช้ การได้ ดดี งั เดิม
ภายใน ๓๐ วัน นับแต่ วนั รับแจ้ ง
-หากไม่ ทาผู้ซื้อมิสิทธิจ้างบุคคลภายนอกซ่ อมแซม
แก้ ไขโดยผู้ขายต้ องออกค่ าใช้ จ่าย
๔. สั ญญาข้ อ ๘ วรรคสอง กาหนดให้
-ผู้ขายมีหน้ าทีบ่ ารุงรักษาและซ่ อมแซมแก้ ไข
เครื่องคอมพิวเตอร์ ให้ อยู่ในสภาพใช้ งานได้ ดอี ยู่
เสมอในระยะเวลารับประกัน ๑ ปี โดยให้ มีเวลา
เครื่องคอมพิวเตอร์ ขัดข้ องได้ ไม่ เกินเดือนละ
๗๒ ชั่วโมง
-หากมีเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใดขัดข้ องเกิน
เดือนละ ๗๒ ชั่วโมง ต้ องถูกปรับในช่ วงเวลาที่
ไม่ สามารถใช้ เครื่องฯ ได้ ในส่ วนที่เกิน ชั่วโมงละ
๑๐๐ บาท/เครื่อง
๕. สั ญญาข้ อ ๘ วรรคสาม กาหนดให้
-ต้ องชาระค่ าปรับภายใน ๓๐ วัน นับแต่ วนั รับ
แจ้ ง
หมายเหตุ ต.ย.สั ญญา ที่ กวพ.กาหนด กรณีเครื่อง
ขัดข้ องภายในรับประกัน มีว่า
“...ให้ มีเวลาคอมพิวเตอร์ ขดั ข้ องรวมตามเกณฑ์ คานวณ
นับได้ ไม่ เกินเดือนละ .... ชั่วโมง หรื อร้ อยละ ....ของ
เวลาใช้ งานทั้งหมดของคอมพิวเตอร์ ในเดือนนั้น
แล้ วแต่ ตัวเลขใดจะมากกว่ า......”
ปัญหาระหว่ างบริหารสั ญญา
๑. เครื่องเสี ยใช้ งานไม่ ได้ ระหว่ างรับประกัน ๘ เครื่อง
๒. ผู้ขายรับไปซ่ อมแล้วส่ งคืนล่ าช้ า แต่ ละเครื่องล่ าช้ า
ไปประมาณ ๓๓๐ – ๔๐๐ วัน รวมค่ าปรับ
๒,๕๐๐วัน
๓. เกณฑ์ คานวณค่ าปรับตามสั ญญากาหนดเองไม่
ตรงกับ ต.ย.สั ญญาฯ ของ กวพ.
๔. หน่ วยงานจึงคานวณค่ าปรับแต่ ละเครื่อง โดยใช้
จานวนวันที่ซ่อมแต่ ละเดือน x ๒๔ ช.ม. – ๗๒
ช.ม. x ๑๐๐
รวม๘ เครื่องเป็ นค่ าปรับ ๖ ล้ านบาทเศษ
๕. เรื่องล่ าช้ าอยู่ระหว่ างพิจารณา จนถึงปลายปี
๒๕๔๓ ผู้ขายมีหนังสื อขอรับหนังสื อคา้ ประกันคืน
๖. ผู้ซื้อแจ้ งสงวนสิ ทธิเรียกค่ าปรับ และสาเนาแจ้ ง
ธนาคารทราบ
๗. กลางปี ๒๕๔๔ ผู้ซื้อแจ้ งให้ ธนาคารนาเงิน
หลักประกันตามสั ญญามาชาระให้ ผู้ซื้อ
๘. ธนาคารนาเงินมาชาระ ผู้ซื้อขอชะลอการรับชาระ
พร้ อมหารือภายในหน่ วยงานว่ าสามารถเรียก
ค่ าปรับได้ หรือไม่ ธนาคารขอหนังสื อคา้ ประกันคืน
หากหมดภาระหนีแ้ ล้ ว
๙. หน่ วยงานทางกฎหมายของผู้ซื้อเห็นว่ าปรับไม่ ได้
เนื่องจาก เมือ่ ผู้ขายไม่ รีบซ่ อมแซมแก้ ไขให้ ใช้
การได้ ดดี งั เดิมภายใน ๓๐ วัน นับแต่ วนั รับแจ้ ง ผู้ซื้อ
ไม่ ได้ ใช้ สิทธิจ้างบุคคลภายนอกซ่ อมแซมแก้ ไข กลับ
ปล่ อยให้ ผ้ ูขายซ่ อมแซมจนเสร็จ จึงไม่ มคี ่ าใช้ จ่ายในการ
จ้ างบุคคลภายนอกซ่ อมแซม และกรณีไม่ ไช่ การไม่ มา
บารุงรักษาตามสั ญญาข้ อ ๘ วรรคสอง ไม่ อาจเรียก
ค่ าปรับได้
๑๐. ผู้ซื้อหารือ กวพ. ว่ า
- ผู้ขายยังมีภาระหนีห้ รือไม่ ?
- คืนหนังสื อคา้ ประกันแก่ธนาคารฯ ได้
หรือไม่ ?
๑๑. กวพ. ไม่ รับหารือเนื่องจากสั ญญาข้ อ ๘ มิได้ ทา
ตามแบบของ กวพ.
๑๒. ผู้ซื้อจึงหารือสานักงานอัยการสู งสุ ด
กรณีการปรับ
-เมื่อเครื่องเกิดเหตุขดั ข้ องใช้ การไม่ ได้ ผู้ขายรับไป
ซ่ อมแซม ถือเป็ นเหตุขดั ข้ องตามสั ญญาข้ อ ๘
-เมื่อเป็ นเหตุขดั ข้ อง ก็มีสิทธิปรับในอัตรา ช.ม.ละ
๑๐๐ บาท ต่ อ เครื่อง สาหรับเวลาที่เกิน ๗๒ ช.ม.
ในเดือนนั้น
การคานวณค่ าปรับโดยใช้
จานวนวันที่ซ่อม x ๒๔ ช.ม. – ๗๒ ช.ม.x ๑๐๐
อาจไม่ ถูกต้ อง เมื่อคานึงถึงเจตนารมณ์ ของ
สั ญญาและความเป็ นธรรม ทีถ่ ูกควรเป็ น
คานวณจาก ช.ม ทาการแต่ ละเดือน – ๗๒ ช.ม.x
๑๐๐ เท่ านั้น
กรณีการคืนหนังสื อคา้ ประกัน
-เมือ่ มีเหตุชารุดบกพร่ องใน ๑ ปี แล้ วผู้ขายยังมีหนีท้ ี่
ต้ องชาระแก่ ผ้ ูซื้อ ผู้ซื้อย่ อมมีสิทธิยดึ หนังสื อคา้ ประกันไว้ ได้
-เมือ่ ผู้ซื้อเรียกร้ องให้ ธนาคารชาระหนีแ้ ทนผู้ขายจน
เต็มวงเงินคา้ ประกันแล้ ว ความรับผิดของผู้คา้ ประกันจึง
สิ้นสุ ดลง ผู้ซื้อสามารถคืนหนังสื อคา้ ประกันให้ ธนาคารได้ .
กรณีศึกษา
ตัวอย่ างที่ ๓
กรณีศึกษา ที่ ๓ (ห.๑๘/๒๕๔๓)
-ตามเงื่อนไขในเอกสารประกวดราคากาหนดให้ คดิ ตามอัตราร้ อย
ละ ๐.๑๐ ของค่ าจ้ างทั้งหมด
-ในชั้นทาสั ญญาจ้ างข้ อ ๑๗ ค่ าปรับ ผู้ว่าจ้ างได้ กาหนดค่ าปรับใน
อัตราวันละ ๑,๓๓๓,๔๐๒.๖๙ บาท หรือคิดในอัตราร้ อยละ ๐.๒๕
ของอัตราค่ าจ้ างทั้งหมด
-ผู้รับจ้ างอ้ างว่ าสั ญญาจ้ างได้ กาหนดอัตราค่ าปรับผิดพลาด
ขอแก้ ไขให้ เป็ นอัตราร้ อยละ ๐.๑๐ ของค่ าจ้ างทั้งหมดได้ หรือไม่
เมื่อเทศบาลนคร ข. ผู้ว่าจ้ าง ได้ ลงนามในสั ญญากับ
บริษัท ท. ผู้รับจ้ างแล้ ว โดยไม่ ปรากฏว่ าการกาหนด
ค่ าปรับในอัตราร้ อยละ ๐.๒๕ ของราคางานจ้ าง ได้
กระทาโดยผิดหลงแต่ อย่างใด แสดงว่ าคู่สัญญาไม่
ประสงค์ จะใช้ กาหนดค่ าปรับตามเงื่อนไขเอกสาร
ประกวดราคาในอัตราร้ อยละ ๐.๑๐ ตามระเบียบฯ
การทีผ่ ู้รับจ้ างจะขอแก้ ไขเปลีย่ นแปลงสั ญญาจ้ าง ข้ อ
๑๗ ค่ าปรับภายหลังจากที่ได้ ทาสั ญญากันเป็ นหนังสื อ
แล้ ว ต้ องเป็ นกรณีจาเป็ นและเพือ่ ประโยชน์ ของ
ราชการ ตามระเบียบฯ ดังนั้น เทศบาลนคร ข. จึงคง
อัตราค่ าปรับในอัตราร้ อยละ ๐.๒๕ ตามสั ญญาจ้ างได้
กรณีศึกษา
ตัวอย่ างที่ ๔
กรณีศึกษาที่ ๔ (ห.๑๔๙/๒๕๔๓)
- ตามสัญญาเกีย่ วกับการเคลือ่ นย้ายระบบสาธารณูปโภคให้
เป็ นหน้ าทีข่ องผู้ว่าจ้ าง โดยผู้รับจ้ างรับผิดชอบค่ าการ
เคลือ่ นย้ ายสาธารณูปโภค
-ผู้รับจ้ างก่ อสร้ างงานล่ าช้ าไม่ ทนั ในกาหนด สาเหตุจากการ
เคลือ่ นย้ ายระบบสาธารณูปโภคไม่ เรียบร้ อย
-ผู้ว่าจ้ างปรับผู้รับจ้ างได้ หรือไม่
ตามเอกสารสั ญญาจ้ างมิได้ กาหนดให้ ผู้รับจ้ าง
ต้ องเป็ นผู้รับผิดชอบดาเนินการในการเคลือ่ นย้าย
สาธารณูปโภค คงระบุเพียงแต่ เป็ นผู้รับผิดชอบค่ าการ
เคลือ่ นย้ ายสาธารณูปโภคเท่ านั้น
จึงเป็ นหน้ าที่ของเทศบาลฯ ที่จะต้ องรับผิดชอบ
ในการดาเนินการดังกล่ าว
ตามรายงานของผู้ควบคุมงานของเทศบาลฯ ระหว่ างวันที่
๑๒ – ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๔๒ ฟังได้ ว่าบริษัท (ผู้รับจ้ าง)
ก่ อสร้ างงานแล้ วเสร็จล่ าช้ าไมทันภายในกาหนดตามสั ญญา
เนื่องจากไม่ สามารถยกคานสะพานขึน้ ติดตั้งกับเสาตอม่ อได้
เพราะรอการเคลือ่ นย้ ายเสาไฟฟ้านับตั้งแต่ วนั ที่ ๑๖
กรกฎาคม จนถึงวันที่ ๑๗ สิ งหาคม ๑๕๔๒ ซึ่งเป็ นวันที่
สานักงานการไฟฟ้ าระแหงเคลือ่ นย้ ายเสาไฟฟ้ าและ
สายไฟฟ้าแล้ วเสร็จ
จึงเป็ นพฤติการณ์ อนั ใดอันหนึ่งที่บริษัท จ ไม่ ต้อง
รับผิดชอบตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๒๐๕ เทศบาลฯ จึงไม่ อาจนาช่ วงระยะเวลา
ดังกล่ าวมาคานวณเพือ่ คิดค่ าปรับจากบริษัท จ. ได้
ทั้งนี้ อยู่ในดุลยพินิจของเทศบาลฯ ทีจ่ ะพิจารณา
ระยะเวลาดังกล่ าวตามที่เกิดขึน้ จริง
กรณีศึกษา
ตัวอย่ างที่ ๕
กรม ป. ได้ ว่าจ้ างองค์ การ ส. ให้ ตัดเย็บเครื่องแต่ ง
กายชุด ชรบ. (ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน)
สั ญญาไม่ ได้ ระบุรายละเอียดจานวนแต่ ละขนาด (size)
ของชุด ชรบ. เพือ่ ใช้ เป็ นข้ อมูลในการตัดเย็บ โดยได้ ตก
ลงกันไว้ ด้วยวาจาว่ าจะส่ งให้ ภายหลัง
กรม ป. ส่ งขนาดเครื่องแต่ งกายให้ ล่าช้ า องค์ การ ส. จึง
ส่ งมอบของเกินกาหนดเวลาไปมาก
กรม ป. จึงหารือว่ าสามารถขยายระยะเวลาส่ งมอบตาม
สั ญญาออกไปได้ หรือไม่
จานวนวันที่กรม ป.เห็นว่ าควรขยายให้ ถูกต้ องหรือไม่
เมื่อการส่ งมอบงานจ้ างเกินกว่ ากาหนดในสั ญญามีเหตุ
เกิดจากความผิดหรือความบกพร่ องของส่ วนราชการผู้
ว่ าจ้ าง จึงเป็ นกรณีที่การชาระหนีน้ ้ันยังมิได้ กระทาลง
เพราะพฤติการณ์ อนั ใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนีไ้ ม่ ต้อง
รับผิดชอบ ตราบนั้นลูกหนีย้ งั หาได้ ชื่อว่ าผิดนัดไม่
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๒๐๕ และเงื่อนไขในสั ญญา ข้ อ
๑๒ แล้ ว
หัวหน้ าส่ วนราชการผู้ว่าจ้ างย่ อมมีอานาจทีจ่ ะพิจารณา
ขยายเวลาทาการตามสั ญญาได้ ตามจานวนวันที่มีเหตุ
เกิดขึน้ จริง ตามนัยระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วย
การพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ ข้ อ ๑๓๙ ได้
ส่ วนในประเด็นที่ว่าในแต่ ละสั ญญาจะขยายระยะเวลา
ออกไปได้ เป็ นจานวนเท่ าใดนั้น กรมการปกครองชอบที่
จะตรวจสอบและทาการนับจานวนวันไปตาม
ข้ อเท็จจริงที่เกิดขึน้ จริงในแต่ ละกรณี
กรณีศึกษา
ตัวอย่ างที่ ๖
สั ญญาที่ไม่ ได้ ทาเป็ นหนังสื อ, การบอกเลิกสั ญญา
๑. ปี ๒๕๔๐ห้ างฯ ก. ยืน่ ขอเสนอต่ อหน่ วยงาน ว่ าจะ
จัดหาทีต่ ้งั สถานีวทิ ยุกระจายเสี ยงแห่ งใหม่ ให้ โดย
-ซื้อที่ดินให้ ๒.๕ ล้ านบาท
-สร้ างอาคารสถานีใหม่ บนทีด่ นิ มูลค่ า ๒.๕ ล้ านบาท
-ขอใช้ สิทธิจัดทารายการประกอบการโฆษณาฯ ต่ อไป
อีก ๘ ปี โดยมอบค่ าบารุงเดือนละ๗ หมื่นบาทใน ๔
ปี แรก และเดือนละ ๘ หมื่นบาทใน ๔ ปี หลัง
-ดูแลรักษาเครื่องพร้ อมอุปกรณ์ ให้ ใช้ งานได้ ดีตลอด
ระยะเวลาที่ได้ สิทธิ
๒. หน่ วยงานตอบตกลงและให้ ห้าง ก.ดาเนินการซื้อ
ที่ดิน และสร้ างอาคารสถานีใหม่ บนที่ดินให้ พร้ อม
ออกอากาศกระจายเสี ยงได้ ภายใน ๑๘ เดือน นับ
แต่ ได้ รับแจ้ ง
๓. ห้ างฯ ตอบยืนยันปฏิบัติตามเงื่อนไขทีห่ น่ วยงาน
เสนอ
๔. ต่ อมาเกิดวิกฤติทางเศรษฐกิจ ห้ างฯ ไม่ อาจดาเนินการ
ตามสั ญญาได้ ในปี ๒๕๔๔ ห้ างฯมีหนังสื อขอเลิก
สั ญญา
๕. หน่ วยงานแจ้ งตอบยินยอมให้ ห้างฯ ยกเลิกสั ญญา แต่ ให้
ชาระหนีท้ ตี่ ้ องลงทุนซื้อทีด่ นิ ฯลฯ จานวน ๒.๕ ล้ าน
บาท แต่ หน่ วยงานพิจารณาลดให้ เหลือ ๑.๘ ล้ านบาท
๕ ดังนี้ คู่กรณีท้งั สองฝ่ ายต่ างมีสิทธิและหน้ าทีอ่ ย่ างใด
หมวด ๒
ผลแห่ งสั ญญา
มาตรา ๓๖๙ ในสั ญญาต่ างตอบแทนนั้น
๑. คู่สัญญาฝ่ ายหนึ่งจะไม่ ยอมชาระหนีจ้ นกว่ าอีกฝ่ าย
หนึ่งจะชาระหนี้ หรือขอปฏิบัติการชาระหนี้กไ็ ด้
๒. แต่ ความข้ อนีท้ ่ านมิให้ ใช้ บังคับถ้ าหนี้ของคู่สัญญา
อีกฝ่ ายหนึ่งยังไม่ ถึงกาหนด
การบอกเลิก / ตกลงกันเลิกสั ญญาหรือข้ อตกลง
การบอกเลิก
หลัก ๑) มีเหตุเชื่อได้ ว่า ผู้รับจ้ างไม่ สามารถทางานให้ แล้ วเสร็จ
ภายในเวลาทีก่ าหนด (๑๓๗ วรรคหนึ่ง)
๒) ไม่ ปฏิบัตติ ามสั ญญา/ข้ อตกลง และค่ าปรับจะเกิน ๑๐ %
ของวงเงินทั้งสั ญญา เว้ นแต่ จะยินยอมเสี ยค่ าปรับ ก็ให้
ผ่ อนปรนได้ เท่ าที่จาเป็ น (๑๓๘)
การตกลงเลิกสัญญาต่ อกัน ทาได้ เฉพาะเป็ นประโยชน์ /หรือเพือ่ แก้ ไข
ข้ อเสี ยเปรียบของราชการหากปฏิบัติตามสั ญญา/ข้ อตกลงต่ อไป
(๑๓๗ วรรคสอง)
หมวด ๔
เลิกสั ญญา
มาตรา ๓๘๖ ถ้ าคู่สัญญาฝ่ ายหนึ่งมีสิทธิเลิกสั ญญาโดยข้ อ
สั ญญาหรือโดยบทบัญญัติแห่ งกฎหมาย การเลิกสั ญญา
เช่ นนั้นย่ อมทาด้ วยแสดงเจตนาแก่ อกี ฝ่ ายหนึ่ง
แสดงเจตนาดังกล่ าวมาในวรรคก่ อนนั้น ท่ านว่ าหาอาจจะ
ถอนได้ ไม่
มาตรา ๓๘๗ ถ้ าคู่สัญญาฝ่ ายหนึ่งไม่ ชาระหนี้ อีกฝ่ าย
หนึ่งจะกาหนดระยะเวลาพอสมควร แล้ วบอกกล่ าวให้
ฝ่ ายนั้นชาระหนีภ้ ายในระยะเวลานั้นก็ได้ ถ้ าและฝ่ าย
นั้นไม่ ชาระหนีภ้ ายในระยะเวลาที่กาหนดให้ ไซร้ อีก
ฝ่ ายหนึ่งจะเลิกสั ญญาเสี ยก็ได้
หมวด ๔
เลิกสั ญญา
มาตรา ๓๙๑ เมือ่ คู่สัญญาฝ่ ายหนึ่งได้ ใช้ สิทธิเลิกสั ญญาแล้ ว
คู่สัญญาแต่ ละฝ่ ายจาต้ องให้ อกี ฝ่ ายหนึ่งได้ กลับคืนสู่ ฐานะ
ดังทีเ่ ป็ นอยู่เดิม แต่ ท้งั นีจ้ ะให้ เป็ นทีเ่ สื่ อมเสี ยแก่ สิทธิของ
บุคคลภายนอกหาได้ ไม่
.................
การใช้ สิทธิเลิกสั ญญานั้นหากระทบกระทัง่ ถึงสิ ทธิ
เรียกร้ องค่ าเสี ยหายไม่
แนววินิจฉัย
๑. เรื่องนีเ้ ป็ นกรณีคาเสนอ และคาสนองตรงกันและเกิดเป็ น
สั ญญาเมือ่ คาบอกกล่ าวสนองไปถึงผู้เสนอ ตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๓๖๑ และคู่กรณีมไิ ด้ ม่ ุงทาสั ญญาเป็ นหนังสื อด่ อ
กัน
๒. สั ญญานีเ้ ป็ นสั ญญาต่ างตอบแทนตาม มาตรา ๓๖๙ แต่
เนื่องจากมิได้ ทาเป็ นหนังสื อจึงมิได้ มขี ้ อกาหนดว่ า ถ้ า
คู่สัญญาฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งปฎิบัตผิ ดิ สั ญญา อีกฝ่ ายหนึ่งจะ
มีสิทธิปรับหรือบังคับสั ญญาอย่ างใดและมีสิทธิอย่ าง
ใดบ้ าง
๓. โดยปกติ หากฝ่ ายหนึ่งไม่ ปฏิบัตผิ ดิ สั ญญา อีกฝ่ ายหนึ่ง
ไม่ มสี ิ ทธิบอกเลิกสั ญญาก่ อนครบกาหนดเวลา แต่ กรณีนี้
ก่ อนครบกาหนดเวลาห้ างฯของเลิกสั ญญา และ
หน่ วยงานยินยอม ต้ องถือว่ าสั ญญาระงับไปโดยผลแห่ ง
การตกลงเลิกสั ญญา เมือ่ สั ญญาทีเ่ ป็ นบ่ อเกิดแห่ งหนีไ้ ม่ มี
อยู่ต่อไป หนีท้ เี่ คยเกิดจากสั ญญาย่ อมระงับสิ้นไปด้ วย
หน่ วยงานจึงไม่ อาจอาศัยสิ ทธิตามสั ญญาเรียกร้ องหรือ
บังคับเอาหนีห้ รือค่ าเสี ยหายจากการที่ห้างฯไม่ ชาระหนี้
ตามสั ญญาได้ อกี แต่ หน่ วยงานมีสิทธิตามกฎหมายในอัน
ทีจ่ ะคืนสู่ ฐานะเดิมดัง่ ทีเ่ ป็ นอยู่เดิมโดยใช้ สิทธิเรียกร้ องอัน
เกิดจากการใช้ สิทธิบอกเลิกสั ญญา ตาม มาตรา ๓๙๑
วรรคท้ าย
๔. ค่ าเสี ยหายจะกาหนดเป็ นจานวนทีเ่ หมาะสมอย่ างใด
เป็ นดุลพินิจของหน่ วยงาน.
กรณีศึกษา
ตัวอย่ างที่ ๗
การตีตวามรูปแบบของสั ญญา
กรณีศึกษา
ตัวอย่ างที่ ๗
ผู้ให้ เช่ ารถยนต์ แก่หน่ วยราชการอ้าง
พระราชบัญญัตวิ ่ าด้ วยข้ อสั ญญาที่ไม่ เป็ นธรรม
พ.ศ. 2540
ในการทาสั ญญากับหน่ วยราชการได้ หรือไม่
(ห. ๑๐๒/๕๑)
ข้ อสั ญญาที่ไม่ เป็ นธรรม ได้ แก่
ข้ อตกลงในสั ญญาระหว่ างผู้บริโภคกับผู้ประกอบธุรกิจ
การค้ า หรือวิชาชีพ หรือในสั ญญาสาเร็จรู ป หรือในสั ญญา
ขายฝากทีท่ าให้ ผ้ ูประกอบธุรกิจการค้ า หรือวิชาชีพ หรือผู้
กาหนดสั ญญาสาเร็จรู ป หรือผู้ซื้อฝากได้ เปรียบคู่สัญญาอีก
ฝ่ ายหนึ่งเกินสมควร
ข้ อตกลงทีม่ ลี กั ษณะหรือมีผลให้ คู่สัญญาอีกฝ่ ายหนึ่ง
ปฏิบัตหิ รือรับภาระเกินกว่ าทีว่ ญ
ิ ญูชนจะพึงคาดหมายได้
ตามปรกติ เป็ นข้ อตกลงทีอ่ าจถือได้ ว่าทาให้ ได้ เปรียบ
คู่สัญญาอีกฝ่ ายหนึ่ง เช่ น
(๑) ข้ อตกลงยกเว้ นหรือจากัดความรับผิดทีเ่ กิดจาก
การผิดสั ญญา
(๒) ข้ อตกลงให้ ต้องรับผิดหรือรับภาระมากกว่ าที่
กฎหมายกาหนด
(๓) ข้ อตกลงให้ สัญญาสิ้นสุ ดลงโดยไม่ มเี หตุผลอัน
สมควร หรือให้ สิทธิบอกเลิกสั ญญาได้ โดยอีกฝ่ ายหนึ่งมิได้
ผิดสั ญญาในข้ อสาระสาคัญ
ฯลฯ
"ผู้บริโภค" หมายความว่ า ผู้เข้ าทาสั ญญาในฐานะผู้ซื้อ ผู้
เช่ า ผู้เช่ าซื้อ ผู้ก้ ู ผู้เอาประกันภัย หรือผู้เข้ าทาสั ญญาอืน่ ใด
เพือ่ ให้ ได้ มา ซึ่งทรัพย์ สิน บริการ หรือประโยชน์ อนื่ ใดโดยมี
ค่ าตอบแทน ทั้งนี้ การเข้ าทาสั ญญานีต้ ้ องเป็ นไปโดยมิใช่ เพือ่
การค้ า ทรัพย์ สิน บริการ หรือประโยชน์ อนื่ ใดนั้น
และให้ หมายความรวมถึงผู้เข้ าทาสั ญญาในฐานะผู้คา้ ประกัน
ของบุคคลดังกล่ าวซึ่งมิได้ กระทาเพือ่ การค้ าด้ วย
"ผู้ประกอบธุรกิจการค้ าหรือวิชาชีพ" หมายความว่ า
ผู้เข้ าทาสั ญญาในฐานะผู้ขาย ผู้ให้ เช่ า ผู้ให้ เช่ าซื้อ ผู้ให้ ก้ ู
ผู้รับประกันภัยหรือผู้เข้ าทาสั ญญาอืน่ ใดเพือ่ จัดให้ ซึ่ง
ทรัพย์ สิน บริการ หรือประโยชน์ อนื่ ใด ทั้งนี้ การเข้ าทา
สั ญญานั้นต้ องเป็ นไปเพือ่ การค้ าทรัพย์ สิน บริการ หรือ
ประโยชน์ อนื่ ใดนั้นเป็ นทางค้ าปกติของตน
"สั ญญาสาเร็จรูป" หมายความว่ า สั ญญาที่ทาเป็ นลาย
ลักษณ์ อกั ษรโดยมีการกาหนดข้ อสั ญญาที่เป็ น
สาระสาคัญไว้ ล่วงหน้ า ไม่ ว่าจะทาในรูปแบบใด ซึ่ง
คู่สัญญาฝ่ ายหนึ่งฝ่ ายใดนามาใช้ ในการประกอบกิจการ
ของตน
เหตุผลในการประกาศใช้ พระราชบัญญัตฉิ บับนี้ คือ
เนื่องจากหลักกฎหมายเกีย่ วกับนิติกรรมหรือสั ญญาทีใ่ ช้
บังคับอยู่มพี นื้ ฐานมาจากเสรีภาพของบุคคล ตามหลักของ
ความศักดิ์สิทธิ์ของการแสดงเจตนา รัฐจะไม่ เข้ าแทรกแซง
แม้ ว่าคู่สัญญาฝ่ ายหนึ่งได้ เปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ ายหนึ่ง เว้ นแต่
จะเป็ นการต้ องห้ ามชัดแจ้ งโดยกฎหมายหรือขัดต่ อความ
สงบเรียบร้ อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
แต่ ในปัจจุบันสภาพสั งคมเปลีย่ นแปลงไป ทาให้ ผ้ ูซึ่งมี
อานาจต่ อรองทางเศรษฐกิจเหนือกว่ าถือโอกาสอาศัยหลัก
ดังกล่ าวเอาเปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ ายหนึ่ง ซึ่งมีอานาจต่ อรอง
ทางเศรษฐกิจด้ อยกว่ าอย่ างมาก ซึ่งทาให้ เกิดความไม่ เป็ น
ธรรมและไม่ สงบสุ ขในสั งคม
กรณีศึกษา
ตัวอย่ างที่ ๘
(ร ๗๓/๒๕๕๓ )
การจ้ างเหมาบริการโดยการจ่ ายค่ าใช้ จ่ายในการ
ขายและการตลาดให้ ผู้รับจ้ างเพิม่ เติมเพือ่ เป็ นแรงจูงใจ
ในการปฏิบัติงานให้ เกิดประโยชน์ สูงสุ ดกับ
บริษัท ท่ าอากาศยานไทย จากัด (มหาชน) ว่ าจะต้ อง
ดาเนินการตามพระราชบัญญัติว่าด้ วยการให้ เอกชนเข้ า
ร่ วมงานหรือดาเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. ๒๕๓๕
หรือไม่
พระราชบัญญัติว่าด้ วยการให้ เอกชนเข้ าร่ วมงาน
หรือดาเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา
๕ บัญญัติว่า “ร่ วมงานหรือดาเนินการ” หมายความ
ว่ า ร่ วมลงทุนกับเอกชนไม่ ว่าโดยวิธีใด หรือมอบให้
เอกชนลงทุนแต่ ฝ่ายเดียวโดยวิธีอนุญาต หรือให้
สั มปทาน หรือให้ สิทธิไม่ ว่าในลักษณะใด
ข้ อเท็จจริงปรากฏว่ าการจ้ างบริหารและจัดการด้ านการ
ขนส่ งสิ นค้ าภายในเขตปลอดอากร ณ ท่ าอากาศยานสุ วรรณ
ภูมิ เป็ นการจ้ างให้ เอกชนมาบริหาร โดยเอกชนจะรับค่าจ้ าง
เป็ นการตอบแทนเท่ านั้น และแม้ ค่าจ้ างดังกล่ าวจะมีบางส่ วน
กาหนดโดยคิดจากค่ าใช้ จ่ายในการขายและการตลาดในอัตรา
ร้ อยละตามช่ วงของยอดรายได้ ทไี่ ด้ จากการดาเนินงานซึ่ง
ทอท. จะจ่ ายเมือ่ รายได้ สูงกว่ าค่ าใช้ จ่ายก็ตามเป็ นเพียงการ
เพิม่ เติมวงเงินค่ าจ้ างเพือ่ ให้ เกิดแรงจูงใจในการปฏิบัติงานให้
เกิดประโยชน์ สูงสุ ดต่ อ ทอท.
หากไม่ ปรากฏข้ อเท็จจริงว่ าเอกชนได้ รับ
ค่ าตอบแทนอืน่ ใดอีกนอกจากค่ าจ้ างเหมาบริการหรือ
ต้ องร่ วมรับผลกาไรหรือขาดทุนไม่ ว่าทางตรงหรือ
ทางอ้ อมด้ วยแล้ ว การจ้ างเหมาบริการดังกล่ าวจึงมิใช่
เป็ นการร่ วมลงทุนกับเอกชน การจ้ างบริการดังกล่ าวจึง
ไม่ เป็ นการ “ร่ วมงานหรือดาเนินการ” ในกิจการของ
รัฐ ตามบทนิยามในมาตรา ๕
กรณีศึกษา
ตัวอย่ างที่ ๙
หารือการตีความ
เอกสารประกวดราคาจ้ างเหมา
สานักงานประปา ส. ดาเนินการโครงการวางท่ อ
ประปาขยายเขตจ่ ายน้าประปาเพือ่ แก้ ไขปัญหาขาด
แคลนนา้ เพือ่ อุปโภคบริโภคของจังหวัด จานวน ๙
โครงการ งบประมาณ ๑๔๗,๘๔๑,๐๐๐ บาท โดย
สานักงานประปา เขต... เป็ นผู้ดาเนินการ
กาหนดให้ บางโครงการมีการติดตั้งอุปกรณ์
สาหรับ District Metering Area (DMA) เพือ่ เป็ น
อุปกรณ์ ควบคุมนา้ สู ญเสี ย โดยมีประกาศประกวดราคา
เชิญชวนเอกชนเข้ าร่ วมประกวดราคาแยกเป็ น ๙
โครงการ โดยวิธีประมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
เฉพาะโครงการทีจ่ ะต้ องติดตั้งอุปกรณ์ DMA
ได้ กาหนดคุณสมบัตขิ องผู้เสนอราคาในข้ อ ๒.๙ ว่ า ผู้
เสนอราคาต้ องมีผลงานการจัดหาติดตั้งอุปกรณ์ DMA
ในงานของการประปาส่ วนภูมิภาคหรือการประปานคร
หลวงในลักษณะงานเดียวกันหรือคล้ ายคลึงกันกับงาน
ที่จะจ้ างนี้ และเป็ นคู่สัญญาโดยตรงกับหน่ วยงาน
ดังกล่ าวหรือหน่ วยงานอืน่ ที่เกีย่ วข้ องในช่ วงเวลา ๓ ปี
ที่ผ่านมา
มีกลุ่มนิตบิ ุคคลร้ องเรียนขอให้ ทบทวนเงื่อนไข
การประมูลงานว่ า การระบุคุณสมบัตผิ ู้เสนอราคาในข้ อ
๒.๙ ดังกล่ าวเป็ นการกีดกันไม่ ให้ ผู้อนื่ เข้ าร่ วมประมูล
งาน จังหวัด ส. จึงขอหารือดังนี้
๑. การกาหนดคุณสมบัตใิ นข้ อ ๙ (ประกาศ
จังหวัด ส.) หรือข้ อ ๒.๙ (เอกสารประมูลฯ) ทีร่ ะบุว่า
ต้ องมีผลงานการจัดหาติดตั้งอุปกรณ์ DMA ถือว่ าเป็ น
การกีดกันไม่ ให้ ผู้อนื่ ผู้ใดเข้ าร่ วมการประมูลงาน
หรือไม่
๒. การปฏิบัติตามความเห็นของสานักงาน
ประปาเขต... ถูกต้ องหรือไม่ อย่ างไร
คาวินิจฉัย
๑. การจัดจ้ างครั้งนี้ โดยทีส่ านักงานประปาประสงค์ จะให้ มี
การติดตั้งอุปกรณ์ DMA ซึ่งเป็ นอุปกรณ์ อเิ ล็กทรอนิคส์ ใน
การป้อนส่ งข้ อมูลเป็ นสั ญญาณแบบไร้ สายใช้ สาหรับ
ตรวจจับการใช้ นา้ หรือท่ อจ่ ายนา้ ทีผ่ ดิ ปกติ เป็ นเทคโนโลยี
ชั้นสู ง ต้ องมีการเชื่อมต่ อกับระบบการวิเคราะห์ ทาง
คอมพิวเตอร์ และผู้รับจ้ างต้ องดูแลระบบดังกล่ าวใน
ระยะเวลาการรับประกันความชารุดบกพร่ อง
ดังนั้น การทีเ่ อกสารการประมูลได้ กาหนด
คุณสมบัตวิ ่ าจะต้ อง มีผลงานการจัดหาติดตั้งอุปกรณ์
DMA ในช่ วงเวลา ๓ ปี ที่ผ่านมากับการประปา โดย
ไม่ ได้ กาหนด วงเงินและจานวนของผลงานที่ผ่าน
มา ถือได้ ว่าเป็ นการกาหนดคุณสมบัตทิ วั่ ไปที่ประสงค์
จะได้ ผู้รับจ้ างทีม่ ีประสบการณ์ เข้ ามาแข่ งขัน
ประกอบกับสานักงานประปาเขต... ยังได้ แจ้ ง
ยืนยันความจาเป็ นในการกาหนดคุณสมบัตดิ ้ าน
ประสบการณ์ การติดตั้งอุปกรณ์ DMA โดยมีผู้รับจ้ าง
หลายรายที่ทางานนีไ้ ด้ และมีหลายจังหวัดที่ได้ ติดตั้ง
อุปกรณ์ DMA แล้ ว
ทั้งแจ้ งยืนยันว่ ามีผู้รับจ้ างทีส่ ามารถติดตั้ง
อุปกรณ์ DMA ได้ มากกว่ า ๑๐ ราย การกาหนด
คุณสมบัตดิ งั กล่ าว จึงสอดคล้ องกับระเบียบสานัก
นายกรัฐมนตรีว่าด้ วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ ข้ อ
๓๐,๓๑,๓๓ ทวิ และระเบียบข้ อบังคับที่เกีย่ วข้ องของ
การประปาฯ โดยยังไม่ อาจถือว่ าเข้ ากรณีเป็ นการกีดกัน
ไม่ ให้ ผู้อนื่ เข้ าร่ วมประมูลงาน
๒. การปฏิบัติตามความเห็นของสานักงาน
ประปาเขต... จะถูกต้ อง หรือไม่ อย่ างไรนั้น เป็ นปัญหา
ข้ อเท็จจริงในทางเทคนิคซึ่งจังหวัด ส. จะต้ องใช้
ดุลพินิจวินิจฉัยเอง
กรณีศึกษา
ตัวอย่ างที่ ๑๐
หารือการแสดงเจตนาเกีย่ วกับ
ราคาค่ าจ้ าง
ผิดพลาด
องค์ การบริหารส่ วนตาบล ด. ได้ ดาเนินการ
จัดหาผู้รับจ้ างขุดลอกคลองในหมู่บ้าน ตาบล ด. โดยวิธี
สอบราคา มีผู้เสนอราคาหลายราย ซึ่งห้ างหุ้นส่ วน
จากัด ศ. เป็ นผู้เสนอราคาตา่ สุ ดในราคา ๒๔๙,๐๐๐ บาท
ในการทาสั ญญาจ้ างกลับมีการกาหนดราคาจ้าง
ผิดพลาดโดยกาหนดสู งกว่ าราคาทีห่ ้ างหุ้นส่ วนจากัด
ศ. ผู้รับจ้ างเสนอไว้ โดยกาหนดเป็ นเงิน ๔๒๘,๕๐๐
บาท และไม่ มีการวางหลักประกันการปฏิบัติตาม
สั ญญา และมิได้ มีการอ้ างเอกสารใบเสนอราคาของผู้
รับจ้ างเป็ นเอกสารแนบท้ ายสั ญญา
จังหวัด น. จึงหารือว่ าในกรณีเช่ นนีจ้ ะถือว่ าใบ
เสนอราคาเป็ นส่ วนหนึ่งของสั ญญาจ้ างหรือไม่ และ
ผู้ว่าจ้ างจะต้ องจ่ ายเงินให้ กบั ผู้รับจ้ างเต็มวงเงินตาม
สั ญญาจ้ างหรือไม่ อย่ างไร
คาวินิจฉัย
แม้ ใบเสนอราคาของผู้รับจ้ างจะไม่ ใช่ ส่วนหนึ่ง
ของสั ญญาจ้ างแต่ กรณีนีเ้ ป็ นเรื่อง ผู้ว่าจ้ าง แสดงเจตนา
ผิดพลาดไปโดยคู่กรณีคอื ผู้รับจ้ างรู้อยู่แล้ว ผลจากการ
นี้ การแสดงเจตนาจึงเป็ นโมฆะ ตาม ประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๔ ประกอบมาตรา ๑๗๑
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๕๔ การแสดงเจตนาใดแม้ ในใจจริงผู้แสดงจะ
มิได้ เจตนาให้ ตนต้ องผูกพันตามทีไ่ ด้ แสดงออกมาก็
ตาม หาเป็ นมูลเหตุให้ การแสดงเจตนานั้นเป็ นโมฆะไม่
เว้ นแต่ คู่กรณีอกี ฝ่ ายหนึ่งจะได้ รู้ถงึ เจตนาอันซ่ อนอยู่ใน
ใจของผู้แสดงนั้น
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๗๑ ในการตีความการแสดงเจตนานั้น ให้
เพ่งเล็งถึงเจตนาอันแท้ จริงยิง่ กว่ าถ้ อยคาสานวนหรือ
ตัวอักษร
และคาพิพากษาฎีกาที่ ๕๒๗/๒๕๐๖ สั ญญา
ย่ อมมีผลบังคับใช้ ตามเจตนาที่แท้ จริงได้ องค์ การ
บริหารส่ วนตาบล ด. ไม่ ต้องเบิกจ่ ายเงินให้ แก่ ผู้รับจ้ าง
เต็มตามสั ญญาจ้ าง
กรณีศึกษา
ตัวอย่ างที่ ๑๑
หารือข้ อกาหนดตามประกาศ
ประกวดราคาจ้ างก่ อสร้ างอาคาร ด้ วยวิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกส์
จังหวัด ต.ได้ ออกประกาศเรื่องประกวดราคาจ้ าง
ก่ อสร้ างอาคาร ด้ วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยเป็ น
การก่ อสร้ างอาคารผ่ าตัด ผู้ป่วยนอก และอุบัตเิ หตุ
อาคาร ค.ส.ล. ๗ ชั้น จานวน ๑ หลัง
ข้ อ ๒.๕ ของประกาศฯดังกล่ าวได้ กาหนดให้ “ผู้
เสนอราคาต้ องเป็ นนิตบิ ุคคล และมีผลงานก่ อสร้ าง
ประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคาจ้ างด้ วยวิธีการ
ทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีผลงานก่ อสร้ างอาคาร ค.ส.ล.
ไม่ น้อยกว่ า ๕ ชั้น ในสั ญญาเดียวกันและเป็ นอาคาร
เดียวกัน ในวงเงิน ๘๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยมีระบบต่ างๆ
ภายในอาคารชนิดเดียวกันกับอาคารที่ประกวดราคา
จ้ างก่ อสร้ างในครั้งนี้ คือ...”
ข้ อหารือ
๑) ตามข้ อกาหนดข้ อ ๒.๕ ของประกาศฯดังกล่ าว จะ
หมายถึงผู้เสนอราคาจะต้ องมีผลงานการก่ อสร้ างฯทั้งหมด
และจะรวมถึงผลงานการก่ อสร้ างฯเฉพาะแต่ บางส่ วนด้ วยได้
หรือไม่ อย่ างไร
๒) กรณีผ้ ูเสนอราคาได้ นาหนังสื อรับรองผลงานการ
ก่ อสร้ างทีไ่ ด้ ดาเนินการก่ อสร้ างอาคารเฉพาะบางส่ วนมาเป็ น
ผลงานเพือ่ จะเข้ าประกวดราคาในครั้งนี้ หนังสื อรั บรอง
ดังกล่ าวจะเข้ าหลักเกณฑ์ ตามประกาศฯหรือไม่
ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยการ
พัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ข้ อ ๕
ประกอบด้ วยระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยการ
พัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ ข้ อ ๔๔
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยการพัสดุด้วย
วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ข้ อ ๕
“ ความสั มพันธ กับระเบียบอืน่
นอกจากทีก่ าหนดไว แล วในระเบียบนี้ ให การ
พัสดุด วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส ดาเนินการตาม
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว าด วยการพัสดุ หรือ
ระเบียบอืน่ ของหน วยงานนั้น ๆ ควบคู ไปด วย เว
นแต คณะกรรมการการพัสดุ
ว าด วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส จะกาหนดหรือ
วินิจฉัย
เป นประการอืน่
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยการพัสดุ
พ.ศ. ๒๕๓๕ ข้ อ ๔๔
ให้ เจ้ าหน้ าทีพ่ สั ดุจัดทาเอกสารประกวดราคา ตาม
ตัวอย่ างที่ กวพ. กาหนดหรือตามแบบที่ผ่านการตรวจ
พิจารณาของสานักงานอัยการสู งสุ ดแล้ ว
การจัดทาเอกสารประกวดราคารายใดจาเป็ นต้ องมี
ข้ อความหรือรายการแตกต่ างไปจากที่ กวพ. กาหนดหรือ
แบบทีผ่ ่ านการตรวจพิจารณาของสานักงานอัยการสู งสุ ด
โดยมีสาระสาคัญตามทีก่ าหนดไว้ ในตัวอย่ างหรือแบบ
ดังกล่ าว และไม่ ทาให้ ทางราชการเสี ยเปรียบก็ให้ กระทาได้
เว้ นแต่ หัวหน้ าส่ วนราชการเห็นว่ าจะมีปัญหาในทาง
เสี ยเปรียบหรือไม่ รัดกุมพอ ก็ให้ ส่งร่ างเอกสารประกวด
ราคาไปให้ สานักงานอัยการสู งสุ ดตรวจพิจารณาก่ อน
ตรวจพิจารณาข้ อความตามเอกสารประกวด
ราคาข้ อ ๒.๕ แล้ ว เห็นว่ าเป็ นไปตามตัวอย่างที่ กวพ.
กาหนดทุกประการ
๑) ประกวดราคาจ้ างก่ อสร้ างอาคารผ่ าตัด ผู้ป่วย
นอกและอุบัตเิ หตุ ด้ วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เลขที่
๕/๒๕๕๓ ตามประกาศจังหวัด ต. ลงวันที่ ๒ ตุลาคม
๒๕๕๒ เป็ นเอกสารที่ออกโดยจังหวัด ต. ดังนั้นหาก
โรงพยาบาล ส. มีปัญหาในการตีความประการใด ย่ อม
ชอบที่จะเสนอเรื่องต่ อจังหวัด ต. เพือ่ พิจารณาวินิจฉัย
๒) เอกสารประกวดราคาจ้ างดังกล่ าวจังหวัดตาก
ได้ จัดทาตามแนวทางของระเบียบ
สานัก
นายกรัฐมนตรีว่าด้ วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ หาก
จังหวัดตากพิจารณาแล้ วเห็นว่ ายังมีปัญหา
ใน
การตีความ ย่ อมชอบที่จะหารือคณะกรรมการว่ าด้ วย
การพัสดุผู้มีอานาจหน้ าทีใ่ นการตีความและวินิจฉัย
ปัญหาเกีย่ วกับการปฏิบัติตามระเบียบฯ ดังกล่ าวต่ อไป
กรณีศึกษา
ตัวอย่ างที่ ๑๒
หารือการรับประกันความชารุดบกพร่ อง
ตามสั ญญาซื้อขาย
จังหวัด ส. (โรงพยาบาล ส.) ทาสั ญญาซื้อขาย
เครื่องนึ่งฆ่ าเชื้ออัตโนมัติด้วยระบบไอน้า ขนาดไม่ น้อย
กว่ า ๑,๒๐๐ ลิตร ยีห่ ้ อ SHV รุ่น XYZ จานวน 1 เครื่อง
ราคา ๒,๔๘๐,๐๐๐ บาท จากห้ างหุ้นส่ วนจากัด อ.
ระยะเวลารับประกันความชารุดบกพร่ องตาม
สั ญญาซื้อขาย ข้ อ ๗ กาหนดให้ ผู้ขายรับประกันความ
ชารุดบกพร่ องมีกาหนด ๒ ปี นับแต่ วนั ทีผ่ ู้ซื้อได้ รับ
มอบ
โรงพยาบาล ส. ใช้ งานเครื่องนึ่งฆ่ าเชื้อดังกล่ าว
ไปได้ ประมาณ ๕ เดือน เครื่องดังกล่ าวเกิดชารุดไม่
สามารถใช้ งานได้ ตามปกติ และยังอยู่ภายในระยะเวลา
รับประกันตามสั ญญา จังหวัด ส. จึงแจ้ งให้ ห้างฯผู้ขาย
ซ่ อมแซมแก้ไขเครื่องนึ่งฆ่ าเชื้อดังกล่ าว แต่ หลังจากที่
ผู้ขายได้ เข้ ามาซ่ อมแซมแก้ ไขแล้ ว เครื่องดังกล่ าวก็ยงั
เกิดปัญหาขัดข้ องอยู่อกี
บริษัท ส. ผู้ขาย เจ้ าของลิขสิ ทธิ์เครื่องนึ่งฆ่ าเชื้อ
อัตโนมัติ เข้ ามาตรวจเยีย่ มโรงพยาบาล ส. และ
เสนอแนะรายละเอียดเพือ่ ทีโ่ รงพยาบาล ส. จะได้ แจ้ ง
ห้ าง ผู้ขายจะได้ ดาเนินการแก้ ไขให้ ถูกต้ อง
โรงพยาบาล ส. แจ้ งให้ ห้าง ผู้ขายมาดาเนินการ
แก้ ไขซ่ อมแซมเครื่องให้ ใช้ งานได้ ถูกต้ องตามสั ญญาอีก
ครั้ง ผู้ขายเพิกเฉย
ต่ อมาห้ างฯ ผู้ขาย แจ้ งขอยกเลิกการรับประกันโดย
อ้ างเหตุผลว่ า โรงพยาบาล ส. ได้ ตดิ ต่ อหรืออนุญาตให้ ผ้ ูหนึ่ง
ผู้ใดทีม่ ใิ ช่ เจ้ าหน้ าทีห่ รือพนักงานของห้ างฯ หรือไม่ ได้ รับ
การยินยอมจากทางห้ างฯให้ เข้ าทาการตรวจเช็คซ่ อมแซม
หรือเข้ าไปกระทาการใดๆทีเ่ กีย่ วข้ องกับเครื่องนึ่งดังกล่ าว จึง
ถือว่ าเป็ นการสิ้นสุ ดการรับประกันตามสั ญญา และขอเบิก
เงินจานวน ๑๒๔,๐๐๐ บาท ซึ่งวางไว้ ตามสั ญญาข้ อ ๘ เพือ่
เป็ นการประกันการปฏิบัติตามสั ญญาคืน
จังหวัด ส. (โรงพยาบาล ส.) จึงหารือว่ า
๑. ห้ างหุ้นส่ วนจากัด อ. ผู้ขายสามารถกล่ าวอ้ าง
ตามสั ญญาข้ อ ๗ เพือ่ ไม่ ดาเนินการซ่ อมแซมแก้ ไข
เครื่องนึ่งดังกล่ าวในระหว่ างอายุประกัน ได้ หรือไม่
๒. หากห้ างฯ ผู้ขายไม่ เข้ าดาเนินการซ่ อมแซม
แก้ ไขเครื่องนึ่งฆ่ าเชื้อดังกล่าวให้ ใช้ งานได้ ดีดังเดิม
ภายในกาหนด จังหวัด ส. (โรงพยาบาล ส.) สามารถใช้
เงินจากหลักประกันสั ญญาจ้ างบุคคลภายนอกเข้ ามา
ดาเนินการแทนได้ หรือไม่ และค่ าใช้ จ่ายที่เกิดขึน้ ฝ่ าย
ใดจะเป็ นผู้รับผิดชอบประการใด
ข้ อเท็จจริงเพิม่ ได้ ความว่ าต่ อมาบริษัท ส.
เจ้ าของลิขสิ ทธิ์เครื่องนึ่งฆ่ าเชื้ออัตโนมัติ (ซึ่งไม่ ใช่
ผู้รับประกัน) ทราบเหตุจึงเข้ าทาการซ่ อมแซมเพือ่ เป็ น
การรักษาชื่อเสี ยงของสิ นค้ า โดยทาการซ่ อมแซมจน
สามารถใช้ การได้ โดยไม่ คดิ ค่ าใช้ จ่าย
คาตอบข้ อหารือที่ ๑
สั ญญาซื้อขาย กาหนดไว้ โดยชัดเจนในข้ อ ๗ ว่ า ใน
ระหว่ างระยะเวลารับประกันความชารุดบกพร่ อง
ผู้ขายจะต้ องจัดการซ่ อมแซมหรือแก้ไขให้ อยู่ในสภาพ
ที่ใช้ การได้ ดีดังเดิมภายใน ๗ วัน นับแต่ วนั ที่ได้ รับแจ้ ง
จากผู้ซื้อ โดยไม่ คดิ ค่ าใช้ จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น
โดยมิได้ กาหนดไว้ ณ ที่ใดว่ า หากบุคคลภายนอก
เข้ าซ่ อมแซมแก้ ไขแล้วจะทาให้ หน้ าที่ และความรับ
ผิดในการรับประกันความชารุดบกพร่ องของผู้ขาย
สิ้นสุ ดลง ดังนั้น ผู้ขายจึงไม่ อาจ
อ้ างเหตุ
ดังกล่ าวเพือ่ ไม่ เข้ าซ่ อมแซมแก้ ไขความ
ชารุดบกพร่ อง
คาตอบข้ อหารือที่ ๒
เมื่อบริษัท ส. จากัด ผู้เป็ นเจ้ าของสิ ทธิในผลิตภัณฑ์
ยีห่ ้ อ SHV ในประเทศไทย ได้ เข้ าทาการแก้ ไขซ่ อมแซม
จนใช้ การได้ ดี เพือ่ เป็ นการรักษาชื่อเสี ยง ของ
ผลิตภัณฑ์ โดยไม่ คดิ ค่ าใช้ จ่ายใดๆ ดังนั้นจึงไม่ มีกรณีที่
จังหวัด ส. จะเรียกร้ องค่ าใช้ จ่ายในการซ่ อมแซมจาก
ผู้ขาย
แต่ หากในช่ วงเวลาทีผ่ ู้ขายไม่ เข้ าซ่ อมแซมนี้ ได้
ก่ อให้ เกิดความเสี ยหายประการใด จังหวัด ส. ย่ อมชอบ
ที่จะใช้ สิทธิเรียกร้ องค่ าเสี ยหายได้ ตามนัยสั ญญาข้ อ ๑๑
โดยมีสิทธิหักเอาจากเงินประกันสั ญญาตามข้ อ ๘
สั ญญาข้ อ ๑๑. การรับผิดชอบชดใช้ ค่าเสี ยหาย
ถ้ าผู้ขาย ไม่ ปฏิบัตติ ามสั ญญา ข้ อหนึ่งข้ อใดด้ วย
เหตุใดๆ ก็ตาม จนเป็ นเหตุให้ เกิดความเสี ยหายแก่ ผู้ซื้อ
แล้ ว ผู้ขายต้ องชดใช้ ค่าเสี ยหาย ให้ แก่ ผู้ซื้อโดยสิ้นเชิง
ภายในกาหนด ๓๐ วัน นับตั้งแต่ วนั ที่ ได้ รับแจ้ งจากผู้
ซื้อ
สั ญญาข้ อ ๘. หลักประกันการปฏิบัติตามสั ญญา
ในขณะทาสั ญญานี้ ผู้ขายได้ นาหลักประกันเป็ น
เงินสด จานวนเงินเท่ ากับร้ อยละ ๕ % ของราคา
ทั้งหมด ตามสั ญญา มามอบให้ แก่ ผู้ซื้อ เพือ่ เป็ น
หลักการปฏิบัติ ตามสั ญญานี้
หลักประกัน ทีผ่ ู้ขายนามามอบไว้ ตามวรรคหนึ่ง
ผู้ซื้อจะคืน ให้ เมื่อผู้ขายพ้น จากข้ อผูกผันตามสั ญญานี้
แล้ ว
กรณีศึกษาที่ ๑๓ คาวินิจฉัยที่ 135/2550
การที่เทศบาล ส.ผู้ว่าจ้ างไม่ สามารถส่ ง
มอบพืน้ ทีก่ ่ อสร้ างให้ ผู้รับจ้ างเพือ่ ก่ อสร้ างตามสั ญญา
และมีคาสั่ งให้ ระงับการก่ อสร้ างไว้ จนล่ วงเลย
กาหนดเวลาแล้ วเสร็จของงานตามสั ญญาจ้ าง เป็ น
พฤติการณ์ อนั ผู้รับจ้ างซึ่งเป็ นลูกหนีไ้ ม่ ต้องรับผิดชอบ
หรือไม่
แนวคาวินิจฉัย
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
......................................................................................
กรณีศึกษาที่ ๑๔ คาวินิจฉัยที่ 133/2541
สั ญญาจ้ างก่ อสร้ างกาหนดว่ า “กรณีต้อง
แก้ ไข หรือเปลีย่ นแปลงเสาเข็มและฐานราก การแก้ ไข
นีถ้ อื เป็ นส่ วนหนึ่งของสั ญญา ผู้รับจ้ างจะถือเป็ น
ข้ ออ้ างเรียกร้ องเงินและเวลาเพิม่ ไม่ ได้ ” ผู้ว่าจ้ างสั่ ง
เปลีย่ นแปลงขนาดของเสาเข็มและฐานรากให้ ใหญ่ ขึน้
ทาให้ ผู้รับจ้ างต้ องใช้ ระยะเวลาในการก่ อสร้ างในส่ วน
ของเสาเข็มและฐานรากเพิม่ ขึน้
ผู้รับจ้ างยังมีสิทธิขอขยายระยะเวลาในส่ วนนีไ้ ด้
หรือไม่ และมีสิทธิขอขยายระยะเวลาในกรณีที่ต้อง
หยุดงานเพือ่ รอการอนุมัตเิ ปลีย่ นแปลงเสาเข็มและ
รอผลการเจาะสารวจดินได้ หรือไม่
แนวคาวินิจฉัย
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
......................................................................................
กรณีศึกษาที่ ๑๕ คาวินิจฉัยที่ 18/2543
ผู้ว่าจ้ างได้ ทาสั ญญาจ้ างกาหนดค่ าปรับกรณีที่
ผู้รับจ้ างไม่ สามารถทางานให้ แล้ วเสร็จตามสั ญญาในอัตรา
ค่ าปรับเป็ นรายวันในอัตราร้ อยละ ๐.๒๕ ของราคางานจ้ าง
นั้น =วันละ 1,333,402.69 บาท ถูกต้ องชอบด้ วยระเบียบว่ า
ด้ วยการพัสดุฯ แล้ ว ผู้รับจ้ างขอให้ แก้ ไขสั ญญาดังกล่ าว โดย
อ้ างว่ าเงือ่ นไขในเอกสารประกวดราคากาหนดให้ ปรับใน
อัตราค่ าปรับเป็ นรายวันในอัตราร้ อยละ ๐.๑๐ = วันละ
533,361.08 บาทได้ หรือไม่
แนวคาวินิจฉัย
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
......................................................................................
กรณีศึกษาที่ ๑๖ คาวินิจฉัยที่ 128/2543
การทีผ่ ู้รับจ้ างแสดงเจตนาโดยมีหนังสื อ
บริจาคการปลูกหญ้ า จานวน ๑๓ ไร่ โดยไม่ คดิ มูลค่ า
หรือมีเงือ่ นไขใดๆ โดยความสมัครใจและได้ ปลูกหญ้ า
เสร็จทั้ง ๑๓ ไร่ แล้ ว ผู้รับจ้ างจะเปลีย่ นใจเรียกร้ องค่ า
หญ้ าจากผู้ว่าจ้ างได้ หรือไม่
มาตรา ๑๔๔ ส่ วนควบของทรัพย์ หมายความว่ า ส่ วน
ซึ่งโดยสภาพแห่ งทรัพย์ หรือโดยจารีตประเพณีแห่ ง
ท้ องถิน่ เป็ นสาระสาคัญในความเป็ นอยู่ของทรัพย์ น้ัน
และไม่ อาจแยกจากกันได้ นอกจากจะทาลาย ทาให้ บบุ
สลาย หรือทาให้ ทรัพย์ น้ันเปลีย่ นแปลงรูปทรงหรือ
สภาพไป
เจ้ าของทรัพย์ ย่อมมีกรรมสิ ทธิ์ในส่ วนควบ
ของทรัพย์ น้ัน
กรณีศึกษาที่ ๑๖(ต่ อ) ข้ ออ้ างของผู้รับจ้ างที่ขอขยาย
ระยะเวลาก่ อสร้ างเพราะเหตุปัญหาในพืน้ ทีก่ ่ อสร้ างขัด
กับคายืนยันของคณะกรรมการตรวจการจ้ างที่ว่า
ปัญหาในพืน้ ที่ก่อสร้ างไม่ ส่งผลกระทบต่ อการก่ อสร้ าง
ของผู้รับจ้ าง ผู้รับจ้ างสามารถยกเหตุตามสั ญญามาขอ
ขยายระยะเวลาก่ อสร้ างได้ อกี หรือไม่
แนวคาวินิจฉัย
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
......................................................................................
กรณีศึกษาที่ ๑๗ คาวินิจฉัยที่ 149/2543
สั ญญากาหนดให้ ผู้ว่าจ้ างมีหน้ าทีเ่ กีย่ วกับ
การเคลือ่ นย้ ายระบบสาธารณูปโภค เมื่อผู้รับจ้ าง
ก่ อสร้ างงานล่ าช้ าไม่ ทนั ในกาหนดสาเหตุการ
เคลือ่ นย้ ายระบบสาธารณูปโภคไม่ เรียบร้ อย
ผู้ว่าจ้ างสามารถนาช่ วงระยะเวลาใน
ระหว่ างการเคลือ่ นย้ ายไม่ เรียบร้ อยมาคานวณคิด
ค่ าปรับจากบริษทั ผู้รับจ้ างได้ หรือไม่
แนวคาวินิจฉัย
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
......................................................................................
กรณีศึกษาที่ ๑๘ คาวินิจฉัยที่ 22/2544
เมื่อฝนตกตามฤดูกาล เกิดนา้ ท่ วมใน
บริเวณอืน่ ไม่ ท่วมบริเวณที่ก่อสร้ างซึ่งเป็ นทีด่ อน ผู้รับ
จ้ างสามารถทางานให้ แล้ วเสร็จตามสั ญญาได้ ผู้รับจ้ าง
สามารถยกเหตุดงั กล่ าวขอขยายเวลาก่ อสร้ างออกไปได้
หรือไม่
แนวคาวินิจฉัย
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
......................................................................................
กรณีศึกษาที่ ๑๙ คาวินิจฉัยที่ 46/2544
๑. ปัญหาด้ านเทคนิคในการก่ อสร้ างซึ่งไม่ อาจ
คาดหมายได้ ถือเป็ นเหตุทจี่ ะทาให้ ผู้รับจ้ างมีสิทธิ
ได้ รับการขยายระยะเวลาก่ อสร้ างได้ หรือไม่ เพราะเหตุ
ใด
ป.พ.พ. มาตรา ๒๐๕ ตราบใดการชาระหนีน้ ้ันยังมิได้
กระทาลงเพราะพฤติการณ์ อนั ใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนีไ้ ม่
ต้ องรับผิดชอบ ตราบนั้นลูกหนีย้ งั หาได้ ชื่อว่ าผิดนัดไม่
แนวคาวินิจฉัย
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
......................................................................................
กรณีศึกษาที่ ๒๐ คาวินิจฉัยที่ 100/2544
สั ญญาจ้ างทีป่ รึกษาควบคุมงานเป็ นสั ญญาจ้ าง
ทาของหรือไม่
ตามสั ญญาได้ กาหนดค่ าจ้ างไว้ เป็ นจานวนที่
แน่ นอนโดยคานวณจากระยะเวลาตามสั ญญาก่ อสร้ าง
ถ้ ามีการขยายระยะเวลาทางานตามสั ญญาก่ อสร้ าง
ออกไปเกินกว่ าที่กาหนดไว้ ในสั ญญาก่ อสร้ างขณะที่ลง
นามสั ญญาจ้ างทีป่ รึกษาควบคุมงานฯ ทีป่ รึกษามีสิทธิ
ได้ รับค่ าจ้ างเพิม่ เติมหรือไม่ อย่างไร
แนวคาวินิจฉัย
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
......................................................................................
กรณีศึกษาที่ ๒๑ คาวินิจฉัยที่ 215/2544
การทีผ่ ู้ขายส่ งมอบสิ่ งของล่ าช้ า เป็ นเพราะ
เทศบาลฯ จะต้ องดาเนินการให้ กรมการปกครองทา
เรื่องรับรองการนาเข้ าเครื่องรับ – ส่ งวิทยุสื่อสาร และ
ต้ องขออนุญาตการนาเข้ าจากกรมไปรษณีย์โทรเลข
ให้ กบั ผู้ขาย ผู้ขายมีสิทธิขอขยายระยะเวลาส่ งมอบ
สิ่ งของตามสั ญญาซื้อขายได้ หรือไม่
แนวคาวินิจฉัย
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
......................................................................................
กรณีศึกษาที่ ๒๒ คาวินิจฉัยที่ 308/2545
ผู้รับจ้ างมีหน้ าทีจ่ ่ ายเงินค่ าธรรมเนียมในการ
ซ่ อมแซมถนนและทางเท้ า และดาเนินการล่ าช้ าทาให้
การเข้ าขุดวางท่ อจ่ ายนา้ เกิดความล่ าช้ าไปด้ วย ผู้รับจ้ าง
ขอให้ การประปา ผู้ว่าจ้ าง พิจารณาขยายเวลาให้ แก่
ผู้รับจ้ างได้ หรือไม่
แนวคาวินิจฉัย
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
......................................................................................
กรณีศึกษาที่ ๒๓ คาวินิจฉัยที่ 168/2546
ผู้ว่าจ้ างมีคาสั่ งเปลีย่ นแปลงงาน และต่ อมาผู้
ว่ าจ้ างได้ ขยายระยะเวลา งดหรือลดค่ าปรับให้ โดย
ผู้รับจ้ างไม่ มีการขอขยายระยะเวลาตามสั ญญา งดหรือ
ลดค่ าปรับ ต่ อมาผู้รับจ้ างได้ อ้างเหตุดงั กล่ าวเพือ่ ให้ ผู้
ว่ าจ้ างพิจารณาลดค่ าปรับให้ ผู้รับจ้ างเพิม่ เติมอีกได้
หรือไม่
แนวคาวินิจฉัย
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
......................................................................................
กรณีศึกษาที่ ๒๔ คาวินิจฉัยที่ 231/2546
การทีบ่ ริษทั ผู้ผลิตได้ ขายกิจการและตั้งบริษัท
ใหม่ ทาให้ กระบวนการผลิตสิ นค้ าหยุดชะงักไป ผู้ขาย
จะกล่ าวอ้ างเป็ นเหตุสุดวิสัยหรือเป็ นพฤติการณ์ ทผี่ ู้ขาย
ไม่ ต้องรับผิดชอบ เพือ่ ขอขยายระยะเวลาตามสั ญญา
ได้ หรือไม่ และต้ องถือว่ าเหตุสุดวิสัยดังกล่ าวสิ้นสุ ดลง
เมื่อใด
แนวคาวินิจฉัย
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
......................................................................................
กรณีศึกษาที่ ๒๕ คาวินิจฉัยที่ 20/2547
การทีผ่ ู้รับจ้ างไม่ สามารถตอกเสาเข็มให้ ลกึ
ตามกาหนดได้ เพราะบริเวณพืน้ ที่ก่อสร้ างมีอาคารเก่ าที่
จะต้ องรื้อถอนออกไป มีเขื่อนหรือคานใต้ ดินที่เป็ นฐาน
รากเดิมฝังอยู่ ถือเป็ นสภาพปัญหาทีเ่ ป็ นเหตุสุดวิสัย
หรือเหตุใดๆ อันเป็ นความผิดของฝ่ ายผู้ว่าจ้ างได้
หรือไม่
แนวคาวินิจฉัย
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
......................................................................................
ตั้งแต่ กรณีศึกษาที่ ๑๓ - ๒๕
ผู้เข้ าฟังการบรรยายจะได้ แสดงความคิดเห็นและ
ร่ วมวินิจฉัยปัญหาไปด้ วยกันในวันบรรยาย
จบการบรรยาย