แผนบรูณาการสุขภาพสัตว์ปี 2558

Download Report

Transcript แผนบรูณาการสุขภาพสัตว์ปี 2558

การปฏิบตั ิงานด้านส ุขภาพสัตว์
ปีงบประมาณ 2558
www.company.com
นโยบาย :
1. ให้ทางานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเดิม
สาหรับนโยบาย/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมใหม่
ให้รอ อปส.ท่านใหม่
2. ในไตรมาสแรก ให้ใช้งบประมาณให้ได้รอ้ ยละ 32
งบประมาณสาหรับฝึกอบรม ให้ใช้ให้ได้รอ้ ยละ 50
ส่วนสุขภาพสัตว์ สนง.ปศข.6
www.company.com
ส่วนบาบัดโรคสัตว์ :
1. กิจกรรมรักษาพยาบาล/ถ่ายพยาธิ/ฉีดยาค ุม ฯลฯ ผลงานปี
2557 เกินเป้าหมายไปมาก ดังนัน้ ปี 2558 จะมีช่องให้กรอก
รายละเอียดเพิ่มมากขึ้น เช่น กรณีได้รบั การสนับสน ุน
ยาค ุมกาเนิด/วัคซีน จากหน่วยงานอื่น
2. สถานพยาบาลสัตว์ ร่าง พรบ.สถานพยาบาลสัตว์ พ.ศ.......
ผ่านความเห็นชอบจากสภานิติบญ
ั ญัติแล้ว รอลง
พระปรมาภิไธย แล้วประกาศใช้ ซึ่งทางกรมอาจจะจัด
งบประมาณให้ทางเขตจัดประช ุมผูป้ ระกอบการ
สถานพยาบาลสัตว์ต่อไป
ส่วนสุขภาพสัตว์ สนง.ปศข.6
www.company.com
- ข้อสาคัญ ๆ ที่แก้ไข - เช่น
- นิยามต่าง ๆ
- ให้ใช้ พรบ.นี้กบั สถานพยาบาลสัตว์ของรัฐด้วย
- การขอตัง้ สถานพยาบาลสัตว์แห่งใหม่ ต้องเสนอ
แผนงานการจัดตัง้ ฯ ตามเกณฑ์ที่กาหนดในมาตรา
8/1
- ต้องมีป้ายแจ้งอัตราค่าบริการ
- ในสถานพยาบาลสัตว์ จะขายอาหารสัตว์ดว้ ยก็ได้ แต่
ต้องมีพ้ ืนที่รกั ษาสัตว์ไม่นอ้ ยกว่า 20 หรือ 90 ตรม.
ส่วนสุขภาพสัตว์ สนง.ปศข.6
www.company.com
3. ร่าง พรบ.ป้องกันการทาร ุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์
พ.ศ........(ฝากไว้ให้อ่าน)
- ผ่านสภานิติบญ
ั ญัติแล้ว
- รอลงพระปรมาภิไธย และประกาศใช้
ส่วนสุขภาพสัตว์ สนง.ปศข.6
www.company.com
ส่วนโรคสัตว์ปีก :
1. สมุดรับรองสถานที่เลี้ยงสัตว์ปีก จะมีอาย ุ 5 ปี แต่ตอ้ งต่ออาย ุ
ท ุกปี
2. กิจกรรมสารวจไตเตอร์ ND.สคบ.ฝากคาถามถึงจังหวัดว่า
บางแห่งท ุกตัวอย่างมีไตเตอร์เท่ากันหมด หมายความว่า
อย่างไร ?
3. เชื้อไวรัส ND. ที่แยกได้ตงั้ แต่ปี 52-57 ยังคงเป็นตัวเดิม
ส่วนสุขภาพสัตว์ สนง.ปศข.6
www.company.com
4. โครงการเพิ่มเติมในปี 2558
- โครงการ x-ray ในไก่ไข่ ทาปีละ 4 ครัง้ (เนื่องจาก
เลี้ยงนาน และเลี้ยงไก่ไข่หลายรนุ่ ในโรงเรือนเดียวกัน)
- โครงการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกในนกอีแอ่นกินรัง
เพื่อการส่งออก (เป็น requirement ของประเทศจีน)
5. ฝากเน้นยา้ จังหวัดให้จ่ายวัคซีนป้องกันโรคสัตว์ปีกให้
เกษตรกรที่รว่ มโครงการของกรมเป็นลาดับแรก
ส่วนสุขภาพสัตว์ สนง.ปศข.6
www.company.com
ส่วนโรคสัตว์เคี้ยวเอื้อง :
1. การลงข้อมูลผลการปฏิบตั ิงานในระบบ ขอให้พิจารณาให้
รอบคอบ เช่น ผลการฉีดวัคซีน
- ถ้าเป็นการฉีดเพื่อป้องกันโรค ให้รายงานในระบบ
e-operation
- ถ้าเป็นการฉีดเพื่อควบค ุมโรค ให้รายงานในระบบ
e-smart surveillance
(ปี 2558 นี้ หากจังหวัดใดลงข้อมูลคลาดเคลื่อนไปแล้ว
ยังสามารถเข้าไปแก้ไขข้อมูลได้)
ส่วนสุขภาพสัตว์ สนง.ปศข.6
www.company.com
2. การรายงานผลการสารวจความช ุกและภ ูมิคม้ ุ กันโรคปาก
และเท้าเปื่อย
- ให้จงั หวัดลงทัง้ ประวัติและผลการตรวจในระบบ
e-smart surveillance โดยบันทึกข้อมูลในไฟล์ excel
แล้ว upload เข้าระบบ
ส่วนสุขภาพสัตว์ สนง.ปศข.6
www.company.com
3. การฉีดวัคซีนในสัตว์เคี้ยวเอื้อง
- ให้บนั ทึกข้อมูลแผนและผลการฉีดวัคซีน ในแบบ
กคร.4 และ 5 ที่ปรับปร ุงใหม่ลา่ ส ุดที่แจ้งเวียนไปแล้ว
- ให้จงั หวัดสร ุปข้อมูลตามตารางส่งเขต/เขตสร ุปส่ง
กรม
- กรณีที่เจ้าของสัตว์ไม่ยนิ ยอมให้ฉีดวัคซีน ให้เกษตรกร
ลงนามในแบบไม่ยนิ ยอมให้ฉีดวัคซีนด้วย
- ให้จงั หวัด และเขต ติดตามผลการฉีดวัคซีน (ตามแบบ)
แล้วรายงานกรมทราบ
ส่วนสุขภาพสัตว์ สนง.ปศข.6
www.company.com
- กรณีพบสัตว์แพ้วคั ซีน รบกวนแจ้ง จนท.สทช.
- ค่าตอบแทนในการฉีดวัคซีน ได้โอนงบประมาณให้ท ุก
จังหวัดแล้ว
4. โครงการทาลายเชื้อโรคในพื้นที่เสี่ยง ให้บรู ณาการคน
อ ุปกรณ์ น้ายาฆ่าเชื้อโรค กับหน่วยงานอื่น ๆ ได้
ส่วนสุขภาพสัตว์ สนง.ปศข.6
www.company.com
5. กิจกรรมตรวจรับรองสถานภาพฟาร์มปลอดโรคบร ูเซลโลซิส
ในแพะ แกะ
- ตัวอย่างที่สง่ ตรวจ ไม่ควรก่อนใบรับรองฯ หมดอาย ุ
2 เดือน
- การแปลผล lab ให้ ศวพ. พิจารณาตามหลักเกณฑ์ใหม่
ดังนัน้ จังหวัดผูส้ ง่ ตัวอย่าง ต้องให้ขอ้ มูลกับ ศวพ. ว่า
ตัวอย่างที่สง่ ตรวจนัน้ เป็นกรณีใด (ไฟล์การแปลผล)
- กรณีตรวจพบบร ูเซลโลซิส ให้จงั หวัดเข้าไปรายงานใน
ระบบ e-smart surveillance
ส่วนสุขภาพสัตว์ สนง.ปศข.6
www.company.com
6. กิจกรรมเฝ้าระวังโรค CAE. ในแพะ แกะ
- ทาในแพะ แกะ พ่อ แม่พนั ธข์ ุ อง ศ ูนย์/สถานี
7. กิจกรรมเฝ้าระวังโรค BSE.
- สคบ.ได้โอนงบประมาณค่าเก็บตัวอย่างให้จงั หวัดแล้ว
(600 บาท/ตัวอย่าง)
8. การทาลายสัตว์ที่ป่วยด้วยโรคระบาด ให้ปฏิบตั ิตาม พรบ.
โรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2499 และที่แก้ไขฯ อย่างเคร่งครัด
ส่วนสุขภาพสัตว์ สนง.ปศข.6
www.company.com
ส่วนโรคสัตว์กระเพาะเดี่ยว :
1. เรือ่ งการถ่ายโอนภารกิจป้องกันโรคพิษส ุนัขบ้าให้ อปท.
- กรมขอร้องว่าตอนนี้อย่าเพิ่งพูดถึงประเด็นนี้กบั อปท.
ให้รอมติ ครม.ก่อน เพราะกรมได้ให้ขอ้ มูลกับ
คณะอน ุกรรมการกระจายอานาจแล้ว ซึ่งในแผน
การกระจายอานาจของ อปท. จะกาหนดให้ อปท.
จัดซื้อวัคซีนป้องกันโรคพิษส ุนัขบ้า/ฉีด/และควบค ุม
สัตว์พาหะนาโรคด้วย
ส่วนสุขภาพสัตว์ สนง.ปศข.6
www.company.com
2. กิจกรรมเฝ้าระวังโรค EIA. และ Dourine
- เดิมที่เคยเก็บตัวอย่างเดือน พ.ค.-มิ.ย. ให้เลื่อนขึ้นมา
เป็นเดือน มี.ค.ถึง เม.ย.แทน
3. การจัดสรรวัคซีนป้องกันโรคพิษส ุนัขบ้า
ส่วนสุขภาพสัตว์ สนง.ปศข.6
www.company.com
3. การจัดสรรวัคซีนป้องกันโรคพิษส ุนัขบ้า
ส่วนส ุขภาพสัตว์จดั ซื้อวัคซีนป้องกันโรคพิษส ุนัขบ้า
จานวน 46,875 โด๊ส โดยกรมกาหนดให้จดั สรร ดังนี้
3.1 เพื่อใช้ในการควบค ุมโรครอบจุดเกิดโรค ร้อยละ 60
3.2 เพื่อใช้ป้องกันโรคในพื้นที่ที่เคยเกิดโรคใน 1 ปีที่ผา่ นมา
ร้อยละ 30
3.3 เพื่อใช้ออกหน่วยบริการทางสัตวแพทย์ ร้อยละ 10
ส่วนสุขภาพสัตว์ สนง.ปศข.6
www.company.com
ตัวชี้วดั ผลการปฏิบตั ิงานของ ปศจ.ด้านส ุขภาพสัตว์ :
บังคับ
1. ร้อยละของจานวนปศ ุสัตว์ที่ได้รบั การป้องกัน ควบค ุมโรค
ระบาดสัตว์เปรียบเทียบกับจานวนปศ ุสัตว์ในพื้นที่เสี่ยง
2. ร้อยละของจานวนเกษตรกรเลี้ยงไก่พ้ ืนเมืองทัว่ ไปที่มีการ
ปรับระบบการป้องกันโรค (ร้อยละ 60)
3. ระดับความสาเร็จในการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษส ุนัขบ้า
ของ อปท.
4. การรายงานสอบสวนและควบค ุมโรคระบาดสัตว์
5. DHHU.
ส่วนสุขภาพสัตว์ สนง.ปศข.6
www.company.com
จังหวัดที่ไม่มี DHHU. อาจจะต้องเลือกอีก 1 ตัวชี้วดั เช่น
- ร้อยละของจานวนเกษตรกรเลี้ยงไก่พ้ ืนเมืองรอบฟาร์ม
คอมพาร์ตเม้นท์ ที่มีการปรับระบบการป้องกันโรค
- ร้อยละของจานวนกลมุ่ เกษตรกรเลี้ยงไก่พ้ ืนเมืองที่มีการ
ปรับระบบการป้องกันโรค (ของ สสส.)
- การปรับระบบการเลี้ยงส ุกรเพื่อการป้องกันโรคฯ PRRS.
- หรืออาจจะเป็นตัวชี้วดั อื่น สคบ.จะแจ้งรายละเอียดให้ทราบ
ต่อไป
ส่วนสุขภาพสัตว์ สนง.ปศข.6
www.company.com
www.company.com