คลิกที่นี่ - กรมปศุสัตว์

Download Report

Transcript คลิกที่นี่ - กรมปศุสัตว์

แผนงาน โครงการ และกิจกรรมต่ างๆ ปี 2556
สานักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสิ นค้ าปศุสัตว์
นายสั ตวแพทย์ สรวิศ ธานีโต
ผู้อานวยการสานักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสิ นค้ าปศุสัตว์
4/13/2015
1
งบประมาณ
งบประมาณ 2555 ทีไ่ ด้ รับ
รวมทั้งสิ้น 274,448,600 บาท
4/13/2015
งบประมาณ 2556 ทีข่ อ
รวมทั้งสิ้น 394,893,600 บาท
2
ประกอบด้ วย 4 กิจกรรมหลัก คือ
1. กิจกรรมตรวจสอบรับรองคุณภาพสิ นค้ าปศุสัตว์
จานวน 367,931,800 บาท
2. กิจกรรมปรับโครงสร้ างสิ นค้ าปศุสัตว์ เพือ่ การส่ งออก
จานวน 11,820,000 บาท
3. กิจกรรมพัฒนาและส่ งเสริมอุตสาหกรรมฮาลาลด้ านปศุสัตว์
จานวน 13,412,800 บาท
4. กิจกรรมการวิจัยและพัฒนาการปศุสัตว์
จานวน 1,729,000 บาท
รวมทั้งสิ้น 394,893,600 บาท
4/13/2015
3
งบประมาณของสานักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสิ นค้ าปศุสัตว์
ประจาปี 2556
1.กิจกรรมตรวจสอบรับรองคุณภาพสิ นค้ าปศุสัตว์
อานวยการ
รวม
193,316,300
ตรวจติดตามมาตรฐานสิ นค้ าปศุสัตว์
1,519,300
ตรวจรับรองมาตรฐานฟาร์ ม
23,288,700
ตรวจรับรองโรงงานอาหารสั ตว์
1,301,600
ตรวจรับรองโรงฆ่ าและแปรรู ปเพือ่ การส่ งออก
612,400
ตรวจรับรองโรงงานผลิตภัณฑ์ ปศุสัตว์ ภายในประเทศ
1,058,200
การรับรองสิ นค้ าปศุสัตว์ (เนือ้ อนามัย)
4,467,900
ตรวจสอบโรงฆ่ าและแปรรู ปเพือ่ การส่ งออก
26,344,200
สิ่ งแวดล้ อม
3,199,400
เฝ้ าระวังฟาร์ มสุ กรแก้ ไขปัญหาลุ่มนา้ วิกฤต
2,930,400
4/13/2015
4
งบประมาณของสานักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสิ นค้ าปศุสัตว์
ประจาปี 2556
1.กิจกรรมตรวจสอบรับรองคุณภาพสิ นค้ าปศุสัตว์
(ต่ อ)
รวม
ควบคุมคุณภาพตาม พ.ร.บ.อาหารสั ตว์
16,639,900
แก้ ไขปัญหาสารเร่ งเนือ้ แดง
29,968,100
เฝ้ าระวังสารตกค้ าง
22,419,900
ติดตามการใช้ ยาสั ตว์ และวัตถุอนั ตราย
6,667,100
ตรวจสอบและออกใบอนุญาตโรงฆ่ าสั ตว์
ภายในประเทศ
12,411,300
พัฒนาโรงฆ่ าสั ตว์ และสถานที่จาหน่ ายเนือ้ สั ตว์
14,656,500
Food education and Rapid Alert
2,000,000
วิเคราะห์ สารไดออกซิน
5,130,600
รวม
4/13/2015
367,931,800
5
งบประมาณของสานักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสิ นค้ าปศุสัตว์
ประจาปี 2556
กิจกรรม
บาท
2.กิจกรรมปรับโครงสร้ างอุตสาหกรรมสั ตว์ ปีกและ
ผลิตภัณฑ์
11,820,000
3.กิจกรรมพัฒนาและส่ งเสริมอุตสาหกรรมฮาลาล
ด้ านปศุสัตว์
13,412,800
4.กิจกรรมการวิจัยและพัฒนาการปศุสัตว์
- ศึกษาการตกค้ างของ tau-Fluvalinate และ
Coumafos ในนา้ ผึง้ กับระยะเวลาหยุดใช้ ในการกาจัด
ไรผึง้
1,729,000
รวมทั้งสิ้น
394,893,600
4/13/2015
6
กิจกรรมตรวจสอบรับรองคุณภาพสิ นค้ าปศุสัตว์
กิจกรรม
1.บุคลากร
พ.ศ.2555
พ.ศ.2556
107,406,500 180,476,100
2.ดาเนินงาน 158,863,200 182,038,900
3.ลงทุน
2,762,100
4.รายจ่ ายอืน่
5,416,800
รวม
4/13/2015
0
5,416,800
274,448,600 367,931,800
7
กิจกรรมปรับโครงสร้ างสิ นค้ าปศุสัตว์ เพือ่ การส่ งออก
กิจกรรม
1.บุคลากร
2.ดาเนินงาน
พ.ศ.2556
0
0
4,844,900 11,820,000
3.ลงทุน
0
0
4.รายจ่ ายอืน่
0
0
รวม
4/13/2015
พ.ศ.2555
4,844,900 11,820,000
8
กิจกรรมพัฒนาและส่ งเสริมอุตสาหกรรมฮาลาล
ด้ านปศุสัตว์
กิจกรรม
1.บุคลากร
2.ดาเนินงาน
3.ลงทุน
4.รายจ่ ายอืน่
รวม
4/13/2015
พ.ศ.2555
0
พ.ศ.2556
143,600
366,400 12,845,600
0
101,900
0
423,600
468,300 13,412,800
9
กิจกรรมวิจยั และพัฒนาการปศุสัตว์
กิจกรรม
4/13/2015
พ.ศ.2555
พ.ศ.2556
1.บุคลากร
0
0
2.ดาเนินงาน
0
1,729,000
3.ลงทุน
0
0
4.รายจ่ ายอืน่
0
0
รวม
0
1,729,000
10
ตัวชี้วดั ตามเอกสารงบประมาณ
1.กิจกรรมตรวจสอบรับรองคุณภาพสิ นค้ าปศุสัตว์
4/13/2015
11
กิจกรรมตรวจสอบรับรองคุณภาพสิ นค้ าปศุสัตว์
ตัวชี้วดั
หน่ วยนับ
ปี 2556
ราย
40,353 *
ฟาร์ ม
23,200
ฟาร์ ม
ฟาร์ ม
18,000
5,200
ตัวชี้วดั เชิงปริมาณ :
1.1. จานวนผู้ประกอบการทีไ่ ด้ รับบริการพัฒนาและตรวจสอบ
รับรองคุณภาพสิ นค้ าปศุสัตว์
1) จานวนฟาร์ มที่ได้ รับบริการตรวจประเมินตามเกณฑ์
มาตรฐานทีก่ าหนด
1.1 ตรวจรับรอง ตรวจติดตาม ตรวจต่ ออายุฟาร์ ม
มาตรฐาน
1.2 ตรวจรับรองฟาร์ มสุ กรปลอดสารเร่ งเนือ้ แดง
* คือผลรวมของข้ อ 1) ถึง 7)
4/13/2015
12
กิจกรรมตรวจสอบรับรองคุณภาพสิ นค้ าปศุสัตว์
ตัวชี้วดั
หน่ วยนับ
ปี 2556
2.) จานวนโรงงานทีไ่ ด้ รับบริการตรวจประเมินตามเกณฑ์
มาตรฐานทีก่ าหนด
2.1 โรงงานอาหารสัตว์
2.1.1 ตรวจรับรอง ตรวจติดตาม ตรวจต่ ออายุ GMP
2.1.2 ตรวจรับรอง ตรวจติดตาม ตรวจต่ ออายุ HACCP
โรงงาน
โรงงาน
โรงงาน
โรงงาน
1,903
200
145
55
4/13/2015
13
กิจกรรมตรวจสอบรับรองคุณภาพสิ นค้ าปศุสัตว์
ตัวชี้วดั
2.2 โรงงานฆ่ าสัตว์ และแปรรูปเพือ่ การส่ งออก
2.2.1 ตรวจรับรอง ตรวจติดตาม ตรวจต่ ออายุ GMP โรงฆ่ าสั ตว์
เพือ่ การส่ งออก
2.2.2 ตรวจรับรอง ตรวจติดตาม ตรวจต่ ออายุ HACCP
โรงฆ่ าสั ตว์ เพือ่ การส่ งออก
2.2.3 ตรวจรับรอง ตรวจติดตาม ตรวจต่ ออายุ GMP โรงงาน
ผลิตภัณฑ์ สัตว์ เพือ่ การส่ งออก
2.2.4 ตรวจรับรอง ตรวจติดตาม ตรวจต่ ออายุ HACCP โรงงาน
ผลิตภัณฑ์ สัตว์ เพือ่ การส่ งออก
4/13/2015
หน่ วยนับ ปี 2556
โรงงาน
281
โรงงาน
38
โรงงาน
30
โรงงาน
129
โรงงาน
84
14
กิจกรรมตรวจสอบรับรองคุณภาพสิ นค้ าปศุสัตว์
ตัวชี้วดั
หน่ วยนับ ปี 2556
โรงงาน 1,300
2.3 โรงฆ่ าสัตว์ ภายในประเทศ
2.3.2 ตรวจสอบโรงฆ่ าสั ตว์ โรงพักสั ตว์ และการฆ่ าสั ตว์
ทีไ่ ด้ รับใบอนุญาต
โรงงาน 1,300
โรงงาน 122
2.4 สถานประกอบด้ านปศุสัตว์ อื่นๆ
2.4.1 ตรวจรับรอง GMP โรงคัดและบรรจุไข่ (ใหม่ )
โรงงาน
9
2.4.2 ตรวจรับรอง GMP ศูนย์ รวบรวมนา้ นมดิบ
โรงงาน 113
4/13/2015
15
กิจกรรมตรวจสอบรับรองคุณภาพสิ นค้ าปศุสัตว์
ตัวชี้วดั
3.) จานวนร้ านค้ าจาหน่ ายเนือ้ สั ตว์ ทีไ่ ด้ รับบริการตรวจ
ประเมินตามเกณฑ์ มาตรฐานทีก่ าหนด
4.) จานวนโรงงานผลิตอาหารสั ตว์ ทีไ่ ด้ รับบริการออก
ใบอนุญาตผลิตและนาเข้ าอาหารสั ตว์
5.) จานวนร้ านค้ าจาหน่ ายอาหารสั ตว์ ทีไ่ ด้ รับบริการ
ออกใบอนุญาตจาหน่ ายอาหารสั ตว์
4/13/2015
หน่ วยนับ
ร้ านค้ า
ปี 2556
1,900
โรงงาน
619
ร้ านค้ า
12,580
16
กิจกรรมตรวจสอบรับรองคุณภาพสิ นค้ าปศุสัตว์
ตัวชี้วดั
6.) จานวนโรงงาน ทีไ่ ด้ รับบริการออกใบอนุญาตผลิต / นาเข้ า /
ส่ งออกวัตถุอนั ตราย
7.) จานวนผู้ประกอบการทีไ่ ด้ รับการตรวจรับรองระบบการ
รับรองสิ นค้ าปศุสัตว์ ( เนือ้ อนามัย )
4/13/2015
หน่ วยนับ ปี 2556
แห่ ง
100
ราย
51
17
ตัวชี้วดั ตามเอกสารงบประมาณ
2.กิจกรรมปรับโครงสร้ างอุตสาหกรรมสั ตว์ ปีกและผลิตภัณฑ์
4/13/2015
18
กิจกรรมปรับโครงสร้ างอุตสาหกรรมสั ตว์ ปีกและผลิตภัณฑ์
ตัวชี้วดั
หน่ วยนับ
ปี 2556
ตัวชี้วดั เชิงปริมาณ : 1. จานวนคอมพาร์ ทเมนต์ ทไี่ ด้ รับการตรวจประเมินตามเกณฑ์ มาตรฐาน
1. ตรวจรับรอง Compartment สั ตว์ ปีกเนือ้ สั ตว์ ปีกพันธุ์
compartment 21
และสถานทีฟ่ ักไข่ สัตว์ ปีก เบือ้ งต้ น ( ใหม่ )
2. ตรวจรับรอง Compartment โรงงานผลิตอาหารสั ตว์ ( ใหม่ )
3. ตรวจรับรอง Compartment โรงฆ่ าสั ตว์ ปีก ( ใหม่ )
4. ตรวจติดตาม ตรวจต่ ออายุ Compartment ทีผ่ ่ านการรับรอง
4/13/2015
ฟาร์ ม/แห่ ง
53
compartment
6
แห่ ง
6
compartment
6
แห่ ง
6
compartment
80
ฟาร์ ม / แห่ ง
359
19
เป้ าหมายการตรวจวิเคราะห์ สินค้ าปศุสัตว์
4/13/2015
20
เป้าหมายการตรวจวิเคราะห์ สินค้ าปศุสัตว์
เป้ าหมาย
ตัวอย่าง
กิจกรรมตรวจรับรองมาตรฐานฟาร์ ม
13,416
กิจกรรมตรวจสอบและออกใบอนุญาตโรงฆ่ าสั ตว์ ภายในประเทศ
5,200
กิจกรรมควบคุมคุณภาพตาม พ.ร.บ. อาหารสั ตว์
6,000
กิจกรรมตรวจรับรองสิ นค้ าปศุสัตว์ ( เนือ้ อนามัย )
1,075
กิจกรรมยาสั ตว์ และวัตถุอนั ตราย
กิจกรรมพัฒนาโรงฆ่ าสั ตว์ และสถานที่จาหน่ ายเนือ้ สั ตว์
520
6,680
4/13/2015
21
เป้าหมายการตรวจวิเคราะห์ สินค้ าปศุสัตว์
เป้ าหมาย
ตัวอย่าง
กิจกรรมตรวจสอบโรงฆ่ าสั ตว์ และแปรรู ปเพือ่ การส่ งออก
28,060
กิจกรรมแก้ไขปัญหาสิ่ งแวดล้อม
1,000
กิจกรรมแก้ ไขปัญหาลุ่มนา้ วิกฤต
กิจกรรมแก้ไขปัญหาสารเร่ งเนือ้ แดง
กิจกรรมเฝ้ าระวังสารตกค้ าง
กิจกรรมเฝ้ าระวังสารไดออกซิน
รวม
2,000
50,000
11,754
300
126,005
4/13/2015
22
งบรายจ่ ายอืน่
4/13/2015
23
งบรายจ่ ายอืน่
กิจกรรม
1. การประชุม Codex Committee on Food hygiene 41 Session (สหรัฐอเมริกา)
2. การประชุม Codex Committee on Food Import and Export Inspection and
Certification Systems 18 Session (ออสเตรเลีย)
3. การประชุมโครงการเจรจาแก้ ไขปัญหาทางการค้ ากับประเทศคู่ค้า (อังกฤษ)
4. การประชุม ASEAN Working Group on Halal Food (อินโดนีเซีย)
5. ปฏิบัติราชการ ณ สานักงานที่ปรึกษาการเกษตรต่ างประเทศ ประจาสหภาพยุโรป
(เบลเยีย่ ม)
4/13/2015
24
งบรายจ่ ายอืน่
กิจกรรม
6. ปฏิบัติราชการ ณ สานักงานที่ปรึกษาการเกษตรต่ างประเทศ ประจากรุงโตเกียว
7. ประชุม Third OIE Global Conference on Animal Welfare (มาเลเซีย)
8. การประชุม The 6th International Feed Regulation Meeting (แอฟริกาใต้ )
9. การประชุมโคเด็กซ์ สาขาอาหารสั ตว์ (Ad-hoc Intergovermenta l Codex Task
Force on Animal Feeding) (สวิสเซอร์ แลนด์ )
4/13/2015
25
งบรายจ่ ายอืน่
กิจกรรม
10. การประชุมโคเด็กซ์ สาขาวัตถุเจือปนอาหาร (Codex Committee on Feed
Additives - CCFA)
11. การตรวจสอบการนาเข้ าวัตถุที่เติมในอาหารสั ตว์ (จีน)
12. การตรวจสอบการนาเข้ าอาหารสั ตว์ เลีย้ งและวัตถุดบิ อาหารสั ตว์(แคนาดา)
13. การตรวจสอบการนาเข้ าเนือ้ และกระดูกป่ นที่มีการสงสั ยว่ ามีการระบาดของโรควัว
บ้ า (สหรัฐอเมริกา)
14. การประชุม Codex committee on residue of veterinary drug in foods
(สหรัฐอเมริกา)
4/13/2015
26
งบรายจ่ ายอืน่
กิจกรรม
15. ประชุม Codex Alimentarious Commision (อิตาลี)
16. ประชุม Codex Committee on Contaminants in Food (เนเธอร์ แลนด์ )
17. ประชุม Sub-Committee on the Global Harmonized System of Classification and
Labelling of Chemical (สวิสเซอร์ แลนด์ )
18. ประชุม OIE Conference on Antimicrobial Resistance (ฝรั่งเศส)
4/13/2015
27
ผลประโยชน์ ทไี่ ด้ รับ
1. เพื่ อ เข้ าร่ วมเจรจาก าหนดมาตรฐานระหว่ างประเทศเพื่ อ ปรั บ ใช้
เป็ นมาตรฐานระหว่ างประเทศ
2. เพือ่ เจรจาแก้ไขปัญหาการค้ าระหว่ างประเทศ
3. เพือ่ ตรวจสอบคุณภาพสิ นค้ าที่จะมีการนาเข้ าจากประเทศต้ นทาง ให้ เป็ นไป
ตารมมาตรฐานของประเทศไทย
4/13/2015
28
การฝึ กอบรม
4/13/2015
29
การฝึ กอบรม
กิจกรรม
ฝึ กอบรมเจ้ าหน้ าที่ 14 หลักสู ตร
1. หลักสู ตรการจัดอบรมเจ้ าหน้ าที่ส่วนภูมิภาค
2. หลักสู ตรผู้ตรวจรับรองมาตรฐานฟาร์ มเลีย้ งสั ตว์
3. หลักสู ตร "ผู้ตรวจรับรองการปฏิบัติที่ดี (GMP) สาหรับโรงฆ่ าสั ตว์
โรงคัดและบรรจุไข่ และศูนย์ รวบรวมน้านมดิบภายในประเทศ"
4. หลักสู ตร พนักงานตรวจเนือ้ สั ตว์ ของกรมปศุสัตว์ (3รุ่น)
5. หลักสู ตร Animal Welfare Training for trainers
6. หลักสู ตร Carbon footprint for livestock product
4/13/2015
จานวน (ราย)
150
200
80
330
20
56
30
การฝึ กอบรม
กิจกรรม
จานวน (ราย)
ฝึ กอบรมเจ้ าหน้ าที่ 14 หลักสู ตร
7. หลักสู ตรฝึ กอบรมเพิม่ ศักยภาพการวิเคราะห์ และประเมินผลการจัดการ
ตัวอย่ างอาหารสั ตว์ และตรวจวิเคราะห์ ทางห้ องปฏิบัติการ
97
8. หลักสู ตรประชุมสั มมนาอาหารสั ตว์ ให้ กบั เจ้ าหน้ าที่
45
9. หลักสู ตรฝึ กอบรมผู้ประกอบการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวตั ถุ
อันตราย พ.ศ. 2535
10. หลักสู ตรอบรมสั มมนาชี้แจงมาตรฐานและกฏกระทรวงที่เกีย่ วข้ องกับ
โรงฆ่ าสั ตว์ ภายในประเทศ
11. หลักสู ตรการฝึ กอบรมเพิม่ สมรรถนะพนักงานตรวจโรคสั ตว์
250
4/13/2015
120
190
31
การฝึ กอบรม
กิจกรรม
จานวน (ราย)
ฝึ กอบรมเจ้ าหน้ าที่ 14 หลักสู ตร
12. หลักสู ตร การฝึ กอบรมผู้ตรวจรับรองคอมพาร์ ทเมนต์
200
13. หลักสู ตร..อบรมผู้ตรวจรับรองมาตรฐานตามหลักการฮาลาล
100
14. หลักสู ตร..อบรมเจ้ าหน้ าที่ห้องปฏิบัตกิ ารตรวจวิเคราะห์
ด้ านอาหารฮาลาล
50
รวมทั้งสิ้น
4/13/2015
1,888 ราย
32
การฝึ กอบรม
กิจกรรม
จานวน (ราย)
ฝึ กอบรมเกษตรกร 14 หลักสู ตร
1. หลักสู ตรสั ตวแพทย์ ผู้ควบคุมฟาร์ มมาตรฐาน (3รุ่น)
300
2. หลักสู ตรผู้ประกอบการฟาร์ มเลีย้ งสั ตว์
3,500
3. หลักสู ตร.HACCP ขั้นพืน้ ฐานให้ แก่ ผู้ประกอบการอาหารสั ตว์
4. อบรม GMP ผู้ประกอบการโรงฆ่ าและแปรรู ปเพือ่ การส่ งออก
20
100
5. หลักสู ตร "การปฏิบัติที่ดใี นโรงฆ่ าสั ตว์ (GMP) สาหรับผู้ประกอบการ "
80
6. อบรมสั มมนาทางวิชาการ เรื่อง "เนือ้ สั ตว์ อนามัย“ (3 รุ่น)
240
4/13/2015
33
การฝึ กอบรม
กิจกรรม
จานวน (ราย)
ฝึ กอบรมเกษตรกร 14 หลักสู ตร
7. หลักสู ตร โครงการอบรมการทาระบบก๊ าซชีวภาพแบบ Tubular
Biodigester
8. หลักสู ตรชี้แจงกฎหมายและกฎระเบียบที่เกีย่ วกับอาหารสั ตว์ ให้ แก่
ผู้ประกอบการอาหารสั ตว์
9. หลักสู ตร.."พนักงานตรวจโรคสั ตว์ ประจาโรงฆ่ าสั ตว์ ส่ วนท้ องถิ่น" ..
4/13/2015
270
420
30
34
การฝึ กอบรม
กิจกรรม
จานวน (ราย)
ฝึ กอบรมเกษตรกร 14 หลักสู ตร
10. หลักสู ตร การฝึ กอบรมผู้จัดการคอมพาร์ ทเมนต์ ในประเทศ
120
11. หลักสู ตร การฝึ กอบรมผู้ประกอบการคอมพาร์ ทเมนต์ ในประเทศ
600
12. หลักสู ตร การอบรมผู้เชือดสั ตว์ ตามหลักการฮาลาล..
480
13. หลักสู ตร การอบรมผู้ประกอบการโรงฆ่ าสั ตว์ ตามหลักการฮาลาล..
100
14. หลักสู ตร การอบรมผู้ประกอบการสถานที่จาหน่ ายเนือ้ สั ตว์ ..
100
รวมทั้งสิ้น
4/13/2015
6,360 ราย
35
กิจกรรมใหม่ ในปี งบประมาณ 2556
•
•
•
•
1. กิจกรรมพัฒนาและส่ งเสริมอุตสาหกรรมฮาลาลด้ านปศุสัตว์
2. โครงการระบบตรวจสอบย้ อนกลับอุตสาหกรรมสุ กรและโคเนือ้
3. แนวทางดาเนินการเกีย่ วกับ Ractopamine
4. ระบบก๊าซชีวภาพชนิด Tubular bio - digester
4/13/2015
36
1. กิจกรรมพัฒนาและส่ งเสริมอุตสาหกรรม
ฮาลาลด้ านปศุสัตว์
• เพื่อพัฒนาการเชือดสั ตว์ ให้ เป็ นไปตามหลักการฮาลาล และเกิด
การยอมรับจากประเทศคู่ค้า
• ร่ วมกาหนดมาตรฐานอาหารฮาลาลของประเทศในกลุ่มภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
4/13/2015
37
การพัฒนาและส่ งเสริมอุตสาหกรรมฮาลาลด้ านปศุสัตว์
กิจกรรมที่ 1 การตรวจรับรองโรงฆ่ าสั ตว์ ตามมาตรฐานอาหารฮาลาล
กิจกรรมที่ 2 การรับรองสถานที่จาหน่ ายเนือ้ สั ตว์ ตามมาตรฐานอาหารฮาลาล
กิจกรรมที่ 3 การตรวจวิเคราะห์ คุณภาพสิ นค้ าปศุสัตว์ ตามมาตรฐานอาหาร
ฮาลาล
วัตถุประสงค์
1. เพือ่ ส่ งเสริมและพัฒนาโรงฆ่ าสั ตว์ ให้ ได้ มาตรฐานอาหารฮาลาล
ตามที่ค ณะกรรมการกลางอิสลามแห่ งประเทศไทยกาหนด มีระบบการผลิต
เนือ้ สั ตว์ ทมี่ ีความปลอดภัยได้ มาตรฐาน
2. เพือ่ ส่ งเสริ มและพัฒนาสถานที่จาหน่ ายเนื้อสั ตว์ ให้ ได้ มาตรฐาน
อาหารฮาลาล ตามทีค่ ณะกรรมการกลางอิสลามแห่ งประเทศไทยกาหนด
3. เพือ่ สร้ างความเชื่อมั่นให้ กบั ผู้บริโภคเนือ้ สั ตว์ และคุ้มครองผู้บริโภค
มุ สลิมและผู้ บริ โภคทั่วไปให้ มีความปลอดภัยด้ านอาหารและเป็ นไปตามหลัก
ศาสนาอิสลาม
สถานที่ ด าเนิ น การ โรงฆ่ า สั ต ว์ส ถานที่ จ าหน่ า ยเนื้ อ สั ต ว์และสถานที่
จาหน่ายสิ นค้าปศุสตั ว์ 77 จังหวัด
ระยะเวลาดาเนินการ ตุลาคม 2555 - กันยายน 2556
เป้าหมายของโครงการ
1. ตรวจรับรองโรงฆ่าสัตว์ให้ได้ตามมาตรฐานอาหารฮาลาล 30 แห่ง
ทัว่ ประเทศ
2. ตรวจรับรองสถานที่จาหน่ายเนื้อสัตว์ให้ได้มาตรฐานอาหารฮาลาล
200 แห่งทัว่ ประเทศ
3. ตรวจวิเคราะห์คุณภาพสิ นค้าปศุสัตว์ตามมาตรฐานอาหารฮาลาล
800 ตัวอย่าง
ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับ
1. ประชาชนได้บริ โภคเนื้ อสัตว์ที่สด สะอาด ปลอดภัย ได้มาตรฐาน
อาหารฮาลาล
2. ผูป้ ระกอบการโรงฆ่ าสัตว์ที่มีใ บอนุ ญาตฯ และผูจ้ าหน่ า ยเนื้ อสัตว์
ได้รับรองมาตรฐานอาหารฮาลาลตามเป้ าหมาย
3. ผูบ้ ริ โภคมีความรู ้ ความเข้าใจในการบริ โภคและการเลือกซื้ อเนื้อสัตว์
ที่มีการรับรองมาตรฐานอาหารฮาลาลมากขึ้น รวมทั้งทราบแหล่งที่สามารถ
ซื้อเนื้อสัตว์ซ่ ึงปลอดภัยในการบริ โภค
ขั้นตอนและวิธีการดาเนินงาน
ผูป้ ฏิบตั ิ : สานักงานปศุสตั ว์จงั หวัด สานักงานปศุสตั ว์เขต
และสานักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสิ นค้าปศุสตั ว์
โดยมีหน่วยงานสนับสนุน คือ คณะกรรมการกลางอิสลาม
แห่งประเทศไทย
• สานักพัฒนาระบบและรั บรองมาตรฐานสิ นค้าปศุสัตว์ประชุ ม
หารื อและชี้ แจงรายละเอี ย ดการดาเนิ นงานกับคณะกรรมการ
กลางอิสลามแห่งประเทศไทย
• ส านัก พัฒ นาระบบและรั บ รองมาตรฐานสิ น ค้า ปศุ สัต ว์จั ด ท า
รายละเอียดการดาเนิ นการในการตรวจรับรองโรงฆ่าสัตว์และ
สถานที่จาหน่ายเนื้อสัตว์ตามมาตรฐานอาหารฮาลาล
• ส านัก พัฒ นาระบบและรั บ รองมาตรฐานสิ น ค้า ปศุ สั ต ว์แ จ้ ง
หนังสื อ ให้สานักงานปศุสัตว์เขต 1-9 แจ้งหนังสื อให้สานักงาน
ปศุ สัต ว์จัง หวัด ในพื้ น ที่ รั บ ผิด ชอบรั บ ทราบรายละเอี ย ดและ
วิธีดาเนินการ เพื่อประชาสัมพันธ์รับสมัครผูป้ ระกอบการโรงฆ่า
สัตว์ที่มีใ บอนุ ญ าตฯ (ฆจส.2) ชนิ ด โค กระบื อ หรื อ สั ตว์ปีก
หรื อแพะแกะ ทัว่ ประเทศทั้ง 77 จังหวัด จังหวัดละ 1 แห่ ง ที่มี
ความประสงค์จะรับรองโรงฆ่าสัตว์ตามมาตรฐานอาหารฮาลาล
• สานักงานปศุสัตว์จงั หวัดร่ วมกับคณะกรรมการอิสลามประจา
จังหวัด หรื อคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทยในการ
ตรวจรั บ รอง โรงฆ่ า สั ต ว์แ ละสถานที่ จ าหน่ า ยเนื้ อ สั ตว์ และ
สรุ ปผลการตรวจรับรองให้สานักงานปศุสัตว์เขตรวบรวมจัดส่ ง
ให้สานักพัฒนาระบบและ รับรองมาตรฐานสิ นค้าปศุสตั ว์
• สานักงานปศุสัตว์เขตตรวจติดตามการดาเนิ นการของสานั กงาน
ปศุสตั ว์จงั หวัดในพื้นที่ที่มีการดาเนินการ
• สานักงานปศุสัตว์จงั หวัดสุ่ มเก็บตัวอย่างสิ นค้าปศุสัตว์เพื่อตรวจ
วิเคราะห์ตามมาตรฐานอาหารฮาลาลที่ศูนย์วิทยาศาสตร์ ฮาลาล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. ระบบตรวจสอบย้ อนกลับอุตสาหกรรม
สุ กรและโคเนือ้
4/13/2015
48
ระบบตรวจสอบย้ อนกลับอุตสาหกรรมสุ กรและโคเนือ้
งบประมาณปี พ.ศ. 2554 กิจกรรมตรวจสอบรับรองคุณภาพสิ นค้ าปศุสัตว์
สั ญญาเลขที่ 10/2554 ลงวันที่ 3 มีนาคม 2554
จัดจ้ างบริษทั ซีดจี ี ซิสเต็มส์ จากัด วิธีพเิ ศษ
จานวนเงิน 24,870,000 บาท ระยะเวลาดาเนินการ 360 วัน
เบิกจ่ ายเงินรวม 4 งวด (สิ้นสุ ดตามสั ญญา 26 กุมภาพันธ์ 2555)
คณะกรรมการตรวจการจ้ าง ตรวจรับงวดสุ ดท้ าย เมือ่ 30 มีนาคม 2555
ระบบตรวจสอบย้ อนกลับอุตสาหกรรมสุ กรและโคเนือ้
ขอบเขตการทางานของระบบ
ตรวจสอบย้ อนกลับข้ อมูลตลอดสายการผลิตอุตสาหกรรมสุ กรและโคเนือ้ ครอบคลุม
สุ กรมีชีวติ เนือ้ สุ กร ผลิตภัณฑ์
โคเนือ้ มีชีวติ เนือ้ ชาแหละ
จาหน่ ายในประเทศ ผลิตภัณฑ์ เนือ้ อนามัย
ผลิตภัณฑ์ โคเนือ้ คุณภาพ
ระบบมาตรฐานกรมปศุ
ส
ั
ต
ว์
(e-Service)
เชื่อมโยงระบบข้ อมูล
ระบบการทาเครื่องหมายและขึน้ ทะเบียนสั ตว์
ผ่านโทรศัพท์ มือถือทางข้ อความ SMS
สื่ อสารข้ อมูลถึงผู้บริโภค
และรหัส 2D-Barcode
ส่ งออก
ระบบตรวจสอบย้ อนกลับอุตสาหกรรมสุ กรและโคเนือ้
ผลการดาเนินงาน
1. ศึกษาและจัดทาโปรแกรมระบบ
ระบบตรวจสอบย้ อนกลับอุตสาหกรรมสุ กร 1 ระบบ
ระบบตรวจสอบย้ อนกลับอุตสาหกรรมโคเนือ้ 1 ระบบ
2. ติดตั้ง คอมพิวเตอร์ /อุปกรณ์ /ซอฟท์ แวร์ 18 รายการ
สพส. /สคบ. /สสช. /สตส. /สลก. /ศสท.
3. อบรมเจ้ าหน้ าทีก่ รมปศุสัตว์ 5 หลักสู ตร จานวน 322 คน
ผู้บริหารกรม/Adminระบบ/สพส./สคบ./สสช./สตส./ศสท./เขต/จังหวัด
4. อบรมผู้ประกอบการ จานวน 28 ราย ผู้เข้ าอบรม 127 คน
อุตสาหกรรมสุ กร 17 ราย 90 คน / อุตสาหกรรมโคเนือ้ 11 ราย 37 คน
คณะทางาน
คณะทางานติดตามผลการดาเนินงาน
ระบบตรวจสอบย้ อนกลับอุตสาหกรรมสิ นค้ าปศุสัตว์
- ประธานคณะทางาน รอธ. วิมลพร ธิติศักดิ์
- คณะทางาน สพส./ศสท./สคบ./สสช./สตส.
คณะทางานด้ านข้ อมูล
ของระบบตรวจสอบย้ อนกลับอุตสาหกรรมสุ กรและโคเนือ้
- ประธานคณะทางาน ผชช.ธนบดี รอดสม
- คณะทางาน สพส./ศสท./สคบ. /สสช./ สตส./สสส.
แผนดาเนินการใช้ งานระบบ
ประชุ มชี้แจงผู้ประกอบการเพือ่ เข้ าร่ วมโครงการ – 19 กันยายน 2555
- รายละเอียดโครงการ และ ขั้นตอนการทางานของระบบ
- รายละเอียดสิ ทธิประโยชน์ สาหรับผู้ประกอบการทีร่ ่ วมโครงการ
เริ่มใช้ งานระบบและผู้ประกอบการส่ งข้ อมูลเข้ าระบบ – ตุลาคม 2555
3. แนวทางดาเนินการเกีย่ วกับ
Ractopamine
ประเด็นผลกระทบและแนวทางดาเนินการ
•
•
•
•
กฎหมายในประเทศ และมาตรฐาน Codex
การรับรู้ ของผู้บริโภค
การควบคุมการใช้
การดาเนินการระหว่างประเทศ
กฎหมายในประเทศและมาตรฐาน Codex
กฎหมายในประเทศ
* ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ลงวันที่ 3 ธันวาคม 2535 ไม่ อนุญาตให้
นาเข้ าเพื่อขายอาหารสั ตว์ ที่มีสารกลุ่ม Beta agonists และห้ ามใช้ ส ารกลุ่ม
Beta agonists เป็ นวัตถุที่เติมในอาหารสั ตว์ ในการผลิตอาหารสั ตว์ เพื่อขาย
(ยกเลิกปี พ.ศ. 2542)
* ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2542 ไม่ อนุญาตให้
นาเข้ าเพือ่ ขายอาหารสั ตว์ ทมี่ สี ารกลุ่ม Beta agonists และห้ ามใช้ สารกลุ่ม
Beta agonists เป็ นวัตถุทเี่ ติมในอาหารสั ตว์ ในการผลิตอาหารสั ตว์
กฎหมายในประเทศ
• พ.ร.บ. ยา พ.ศ. 2510 ขึน้ ทะเบียนผลิตภัณฑ์ Ractopamine เป็ น
ยาส าหรั บ สั ต ว์ เมื่ อ วั น ที่ 18 ตุ ล าคม 2545 ระบุ ข้ อ บ่ ง ใช้ เ พิ่ ม
ปริ มาณเนื้อแดง เพิ่มเปอร์ เซนต์ ตัดแต่ งซากในสุ กรขุนซึ่งได้ รับ
อาหารที่มีระดับโภชนะเพียงพอ ขนาดการใช้ 5–20 ppm ใช้ ใน
สุ กรขุน 65 Kg ถึงนา้ หนักขาย โดยไม่ มีระยะหยุดยา
• ฉลากยาระบุให้ เป็ นยาควบคุมพิเศษ สั่ งใช้ โดยสั ตวแพทย์ เท่ านั้น
(แต่ ต้องออกประกาศกระทรวงเป็ นยาควบคุมพิเศษก่อน จึงจะมี
ผลบังคับในทางปฏิบัติ )
กฎหมายในประเทศ
• พ.ร.บ. อาหาร พ.ศ. 2522 ประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข ฉบับที่ 269
ลงวันที่ 21 เมษายน 2546 กาหนดให้ อาหารทุกชนิด มีมาตรฐานโดย
ตรวจไม่ พบการปนเปื้ อนสารกลุ่ม Beta – agonists
• ประกาศสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ลงวันที่ 18 ส.ค. 2549
กาหนดให้ การตรวจวิเคราะห์ ต้องใช้ วิธีตรวจ และห้ องปฏิบั ติการที่มี
ความสามารถตรวจสารเบต้ าอโกนิสต์ และเกลือของสาร และสารใน
กระบวนการสร้ างและสลาย 1.0 ppb
มาตรฐาน Codex
• ก.ค. 2555 Codex Alimentarious Commission รับมาตรฐานสาร
ตกค้ างจากการใช้ Ractopamine ในสุ กร และ วัว
สุ กร muscle 10 ppb
liver 40 ppb
kidney 90 ppb
fat 10 ppb
ข้ อสั งเกต
• การศึกษาในประเทศจีน พบว่ ายังมีการตกค้างในเครื่องในสู ง ซึ่งคน
เอเซียมีการบริโภค ซึ่ง Codex ยังไม่ มีการกาหนดระดับสารตกค้ าง
• ยังไม่ มีข้อสรุ ประดับสารตกค้ างในปอด(Codex กาหนดระดับสาร
ตกค้ างเฉพาะใน เนือ้ ไขมัน ตับ ไต เท่ านั้น)
• หากมีการกาหนดค่ า MRL โดยกฎหมายอาหารของประเทศไทย
ตามมาตรฐาน Codex ก็จะมีการนาเข้ าเครื่องในชนิดอื่นซึ่ งยังไม่ มี
มาตรฐานสารตกค้ า งเข้ า มาด้ ว ยเป็ นจ านวนมาก เนื่ อ งจากบาง
ประเทศไม่ มีการบริโภค
แนวทางดาเนินการ
• ควรมีข้อมูลการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ เพิ่มเติม เพื่อใช้ ประกอบการ
ตั ด สิ น ใจ เพราะสภาพการเลี้ย งสั ต ว์ แ ละพฤติ ก รรมการบริ โ ภคของ
ผู้บริโภคในเอเชีย แตกต่ างจากสหรัฐอเมริกา
• ควรมีข้อมูลสารตกค้ างในอวัยวะภายใน หรื อเครื่ องในของสั ตว์ เพราะ
คนไทยบริโภคเครื่องในทุกชนิด
• มาตรการข้ างต้ น ถือเป็ นสิ ทธิการดาเนินการทา Risk assessment และ
Risk management ของแต่ ละประเทศ
การรับรู้ ของผู้บริโภค
ความเชื่อมั่นและความตระหนักของผู้บริโภคต่ อ
การใช้ สารเร่ งเนือ้ แดง (Consumer concern)
ข้ อสั งเกต
• EU ยังแสดงท่ าทีว่าจะไม่ ใช้ Ractopamine ภายในประเทศ
เนื่องจากมีกฎหมายห้ ามการใช้ สารกลุ่มเบต้ าอโกนิสต์ เพือ่ ปรับปรุง
คุณภาพซาก
ข้ อสั งเกต
• การนาเข้ าเนือ้ สั ตว์ ที่มีสารตกค้ างRactopamine ยังไม่ สามารถ
นาเข้ าได้ เพราะ EUไม่ กาหนดค่ า MRL และใช้ มาตรการ Zero
tolerance โดย EU มีนโยบายไม่ ให้ ใช้ ยาในสั ตว์ ปกติเพื่อเพิ่ม
ผลผลิต
• การอนุญาตให้ ใช้ สารกลุ่ม Beta agonist ต้ องทาความเข้ าใจกับ
ประชาชนให้ ชัดเจนในเรื่องความปลอดภัย เพราะอาจมีกลุ่ม
NGO หรือกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภคประท้ วงได้
แนวทางดาเนินการ
• ไทยควรแสดงท่ าที คล้ายๆ EU คือ แสดงท่ าทีว่า จะไม่ กดี กัน
การค้ า แต่ จาเป็ นต้ องคงมาตรฐานห้ ามตรวจพบโดยเฉพาะใน
เครื่องใน
• ต้ องปรับแผนการทางาน และตรวจสอบสารตกค้ าง เพิม่ มากขึน้
โดยเฉพาะสิ นค้ านาเข้ า
การควบคุมการใช้ กรณีจะพิจารณาให้ ใช้ ในประเทศไทย
ข้ อสั งเกต
• ประเทศไทย เกษตรกรสามารถเข้ าถึงยาสั ตว์ ได้ ทุกชนิดโดย
ไม่ ต้องมีใบสั่ งจากสั ตวแพทย์ (เช่ นเดียว กับยาคน สามารถซื้อ
ได้ ในร้ าน ขายยาทัว่ ไป)
• อาจมีผลกระทบการส่ งออกเนือ้ สั ตว์ ปีกไปยัง EU หรือ
ประเทศที่มีท่าทีไม่ ต้องการใช้ Ractopamine
แนวทางดาเนินการ
• การควบคุ ม การผสมยาในอาหารสั ต ว์ ยั ง มี ปั ญ หาในทางปฏิ บั ติ
การผสมที่โรงงานจัดเป็ นยาตามกฎหมายยา แต่ เกษตรกรสามารถ
ซื้อมาผสมที่ฟาร์ มเองได้ ซึ่ งเครื่ องมือผสมจะไม่ เหมาะสมในการ
ผสมยาในระดับต่า (ขนาดการใช้ 5 – 20 ppm) และอันตรายจะตกอยู่
กับผู้บริโภค
• ต้ องหารื อหน่ วยงานที่เกี่ยวข้ องในการควบคุมอาหารสั ตว์ ผสมยา
ซึ่งจัดเป็ นยาตามกฎหมายยา
• ต้ องออกประกาศให้ สารกลุ่ม Beta agonist โดยเฉพาะ
Ractopamine เป็ นยาควบคุมพิเศษ มีผลตามกฎหมาย
แนวทางดาเนินการ
• ต้ องอธิบาย EU หรือประเทศต่ างๆ ได้ ว่าจะป้องกันการ
ปนเปื้ อน ระหว่ าง line การผลิตอาหารสั ตว์ อย่ างไร และจะมี
การลักลอบนามาใช้ สัตว์ ปีกหรือไม่
• ต้ องมีระบบ Split System แยกทุกขั้นตอนของการเลีย้ งสั ตว์
มีระบบCertification and Testing
การดาเนินการระหว่ างประเทศ
ข้ อสั งเกต
• มีกรณีตัวอย่ าง ที่ USA ยืน่ ฟ้อง WTO หลังจาก Codex
กาหนดค่ า MRL และ USA ได้ รับชัยชนะ จากกรณีที่ EU ยัง
ไม่ ให้ นาเข้ าเนือ้ วัวทีม่ ีสารตกค้ างจากการใช้ Hormone เพือ่ เพิม่
ผลผลิต เนื่องจากไม่ มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ เพียงพอ ถือ
เป็ นการกีดกันทางการค้ า โดย WTO ตัดสิ นให้ EU ต้ องจ่ าย
ภาษีเพิม่ พิเศษในการส่ งสิ นค้ าเกษตรบางรายการไปจาหน่ ายยัง
USA
ข้ อสั งเกต
• แต่ ในวันที่ 10 มิถุนายน 2009 USA และ EU ได้ ตกลงร่ วมกันที่
จะยุติ ข้ อพิพาท โดยฝ่ าย EU เสนอที่จะนาเข้ าเนื้อวัวปลอด
ฮอร์ โมน (non-hormone treated beef ) ของ USA โดยเพิ่ม
โควตาปลอดภาษีนาเข้ าให้ จานวน 4 เท่ า รวมเป็ นจานวนนาเข้ า
76,500 ตันภายในเวลา 4 ปี ข้ างหน้ า โดย USA แลกเปลีย่ นที่จะไม่
เก็บภาษีพเิ ศษเพิม่ กับสิ นค้ าเกษตรและอาหารของ EU ในช่ วง 3 ปี
ต่ อจากนี้
4/13/2015
69
แนวทางดาเนินการ
• กรณีค่า MRL ในเนือ้ เยื่อ 4 ชนิด ที่ Codex ประกาศใช้ แล้ ว หากมี
การยื่นฟ้องต่ อ WTO คาดว่ า WTO จะใช้ มาตรฐาน Codex ซึ่ง
เป็ นมาตรฐานอ้ า งอิง และหากผู้ บ ริ โ ภคชาวไทยบริ โ ภค เนื้ อ
ไขมัน ตับ ไต น้ อยกว่ ามาตรฐานการบริโภคของ Codex จะเป็ น
การยากในการพิ สู จ น์ ท างวิ ท ยาศาสตร์ ว่ า ผู้ บ ริ โ ภคชาวไทย
มีความเสี่ ยงมากกว่ า
แนวทางดาเนินการ
• กรณีเครื่องในชนิดอืน่ ที่ยงั ไม่ มีค่า Codex MRL การคงมาตรฐาน
ห้ ามตรวจพบในเนือ้ เยือ่ ดังกล่าวไว้ ในกฎหมายอาหาร จะทาให้
เครื่องในซึ่งมาจากสั ตว์ ที่มีการใช้ Ractopamine ไม่ สามารถเข้ าได้
หากมีการสุ่ มตรวจ หรือขอใบรับรองการตรวจ และคู่ค้าจาเป็ นต้ อง
แยกประเภทเครื่องใน หากต้ องการนาเข้ า
• การคงมาตรฐานห้ ามตรวจพบ Ractopamine ในเนื้อเยื่อสั ตว์ ทุก
ชนิดในลักษณะเดียวกับ EU อาจสามารถทาได้ หากมีเงื่อนไขทาง
การค้ า ที่ ส ามารถตกลงกัน ได้ กับ ประเทศคู่ ค้ า เช่ นเดี ย วกั บ กรณี
Hormone
ปริมาณการนาเข้ าปี 2554
• ตับสุ กร จาก เยอรมันนี เกาหลีใต้ แคนาดา 7,097 ตัน คิดเป็ น
32 % ของการนาเข้ าเครื่องในทั้งหมด
• กระเพาะหมู 765 ตัน จากจีน โปแลนด์ คิดเป็ น 3 % ของการ
นาเข้ าเครื่องในทั้งหมด
• ส่ วนอืน่ ของสุ กร 14,364 ตัน คิดเป็ น 65 % ของการนาเข้ าเครื่อง
ในทั้งหมด
• เนือ้ โค 6,624 ตัน จากออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ USA อาร์ เจนติน่า
ญีป่ ุ่ น แคนาดา
• ที่มา : กรมศุลกากร
4. ระบบก๊ าซชีวภาพชนิด Tubular bio-digester
4/13/2015
73
ระบบก๊าซชีวภาพชนิด Tubular bio-digester
•
•
ความเป็ นมา
สานักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสิ นค้าปศุสัตว์ โดยส่ วนสิ่ งแวดล้อมด้านการปศุสัตว์ได้ดาเนิ นการจัดทา
ระบบก๊าซชี วภาพสาหรับฟาร์ มขนาดใหญ่มาตั้งแต่ปี 2549 ภายใต้โครงการการจัดการของเสี ยด้านการปศุ สัตว์
ในภาคพื้ น เอเชี ย ตะวัน ออก ซึ่ งได้ด าเนิ น การให้ มี ก ารขายคาร์ บ อนเครดิ ต กับ ธนาคารโลก จากกรณี น้ ี เอง
ส่ วนสิ่ งแวดล้อมฯได้ตระหนักถึงฟาร์มขนาดเล็กซึ่ งมีอยูจ่ านวนมากในประเทศ ถึงแม้จะเป็ นฟาร์ มขนาดเล็กแต่ก็มี
อยูจ่ านวนมาก ควรได้รับการจัดทาระบบก๊าซชีวภาพสาหรับเกษตรกรรายย่อยด้วย จึงมีการฝึ กอบรมเชิ งปฏิบตั ิการ
TUBULAR BIO-DIGESTER ภายใต้การสนับสนุ นของ GLOBAL METHANE INITIATIVE ระหว่าง วันที่ 29
สิ งหาคม ถึง 1 กันยายน 2554 ณ ห้องประชุม สานักงานปศุสตั ว์จงั หวัดราชบุรี พร้อมได้รับการสนั บสนุนวัสดุทา
ระบบก๊าซชีวภาพชนิ ด Tubular bio-digester จาก United States Environmental Protection Agency (U.S. EPA)
พร้อมส่งเจ้าหน้าที่ผเู้ ชื่ยวชาญมาอบรม
แนวคิดของระบบระบบไบโอก๊ าซแบบถุงขนาดเล็ก
ถุงเก็บก๊ าซ
ท่ อก๊าซไปใช้ งาน
ก๊าซ
อุปกรณ์ลดแรงดันและแยกความชื้น
นา้ เสี ยเข้ า
ถุงหมัก
Source: EFI, Tetra Tech
นา้ เสี ยออก
ปี 2555 เป้ าหมาย 9 แห่ งทัว่ ประเทศ
ปศุสัตว์ เขตคัดเลือกฟาร์ มสุ กรขนาด 50-100 ตัว และจัดฝึ กอบรมเกษตรกร 30 ราย
สร้ างระบบบาบัดตามวัสดุที่ได้ รับการสนับสนุนมี 3 แบบ
แบบที่ 1
แบบที่ 2
แบบที่ 3
วัสดุแบบที่ 1 LDPE ติดตั้งที่ปศุสัตว์เขต 7 (จังหวัดราชบุรี ฟาร์มสาธิต จังหวัดนครปฐม ม.เกษตรศาตร์กาแพงแสน)
และปศุสัตว์เขต 5 (ศูนย์วิจยั การผสมเทียมและเทคโนโลยีชีวภาพเชียงใหม่) เป็ นวัสดุนาเข้าได้ใช้งานหมดแล้ว
วัสดุแบบที่ 2 HDPE ติดตั้งที่ปศุสัตว์เขต 4 (จังหวัดหนองคาย) ปศุสัตว์เขต 6 (จังหวัดนครสวรรค์) และปศุสัตว์เขต 8
(จังหวัดสุ ราษฎร์ธานี ) เป็ นวัสดุนาเข้าได้ใช้งานหมดแล้ว
วัสดุแบบที่ 3 LDPE ติดตั้งที่ปศุสัตว์เขต 3 (จังหวัดนครราชสี มา) ปศุสัตว์เขต 9 (จังหวัดพัทลุง) ถุงหมักบาง ทาเกิดปัญหา
การรั่วบ่อยไม่เหมาะกับการใช้งานจึงมีแผนปรับเปลี่ยนวัสดุให้ใหม่โดยใช้แบบที่ 4
วัสดุแบบที่ 4 ได้แก่ปศุสัตว์เขต 1 (จังหวัดสระบุรี)
แบบที่ 4
สาหรับวัสดุแบบที่ 4 PVC สามารถหาได้ในเมืองไทย
คุณสมบัติ เป็ นลักษณะผ้าใบอ่อน นิ่ม แต่เหนียว การยืดหยุน่ ตัวดีกว่าวัสดุท้งั 3 แบบข้างต้น
ส่วนสิ่ งแวดล้อมด้านการปศุสตั ว์ จึงมีแผนการสร้างระบบบาบัดน้ าเสี ย ชนิด Tubular bio-digester
โดยออกแบบระบบบาบัดน้ าเสี ย ตามจานวนสุกร มี 3 ขนาด
ขนาด 25 ตัว
ขนาด 50 ตัว
ขนาด 100 ตัว
ระบบก๊ าซชีวภาพชนิด Tubular bio-digester
สาหรับฟาร์ มสุ กรขนาด 25 ตัว
ความสูงน้ า 0.75 เมตร
ความยาว 10.0 เมตร
เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.1 เมตร
เป็ นถุงลักษณะรู ปทรงกระบอก ปิ ดหัวปิ ดท้าย ซึ่งทาด้วยวัสดุ PVC ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 1.0 มิลลิเมตร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางถุง ไม่นอ้ ยกว่า 1.1 เมตร ความยาวของถุง
เท่ากับหรื อไม่นอ้ ยกว่า 10 เมตร
ความยาว 10.0 เมตร
เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.1 เมตร
ความสู งน้ า 0.75 เมตร
ข้ อมูล เฉพาะ
ปริ มาตรน้ า
ปริ มาตรเก็บก๊าซชีวภาพ
เส้นรอบวง
พื้นที่ พลาสติกที่ใช้
เท่ากับ
เท่ากับ
เท่ากับ
เท่ากับ
7.5
1.8
3.4
42
ลบ.ม.
ลบ.ม.
เมตร
ตร.ม.
ระบบก๊าซชีวภาพชนิด Tubular bio-digester
สาหรับฟาร์ มสุ กรขนาด 50 ตัว ความสู งน้ า 1.25 เมตร ความยาว 10.0 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.60 เมตร
เป็ นถุงลักษณะรู ปทรงกระบอก ปิ ดหัวปิ ดท้าย ซึ่งทาด้วยวัสดุ PVC ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 1.2 มิลลิเมตร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางถุง
ไม่นอ้ ยกว่า 1.60 เมตร ความยาวของถุงเท่ากับหรื อไม่นอ้ ยกว่า 10 เมตร
ข้ อมูล เฉพาะ
ปริ มาตรน้ า
เท่ากับ
16
ลบ.ม.
ปริ มาตรเก็บก๊าซชีวภาพ
เท่ากับ
5.0
ลบ.ม.
เส้นรอบวง
เท่ากับ
5.1
เมตร
พื้นที่ พลาสติกที่ใช้
เท่ากับ
55
ตร.ม.
ระบบก๊าซชีวภาพชนิด Tubular bio-digester
สาหรับฟาร์ มสุ กรขนาด 100 ตัว ความสู งน้ า 1.75 เมตร ความยาว 10.0 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.20 เมตร
เป็ นถุงลักษณะรู ปทรงกระบอก ปิ ดหัวปิ ดท้าย ซึ่งทาด้วยวัสดุ PVC ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 1.2มิลลิเมตร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางถุง
ไม่นอ้ ยกว่า 2.20 เมตร ความยาวของถุงเท่ากับหรื อไม่นอ้ ยกว่า 10 เมตร
ข้ อมูล เฉพาะ
ปริ มาตรน้ า
เท่ากับ
30
ลบ.ม.
ปริ มาตรเก็บก๊าซชีวภาพ
เท่ากับ
7.5
ลบ.ม.
เส้นรอบวง
เท่ากับ
6.9
เมตร
พื้นที่ พลาสติกที่ใช้
เท่ากับ
80
ตร.ม.
งานนโยบายที่ได้ รับมอบหมาย
• การจัดทาแบบแปลนโรงฆ่ าสั ตว์ ขนาดเล็ก
• โรงฆ่ าสุ กร ขนาด 1 ตัวต่ อวัน งบประมาณ 300,000 บาท
• โรงฆ่ าโค กระบือ ขนาด 1 ตัวต่ อวัน งบประมาณ 500,000บาท
• โรงฆ่ าสั ตว์ ปีก ขนาด 200 ตัวต่ อวัน งบประมาณ 200,000บาท
4/13/2015
80
81
82
83
4/13/2015
84