การใช้ยาในเด็ก

Download Report

Transcript การใช้ยาในเด็ก

การใช้ ยาในเด็ก
โดย
พญ.ชุ ติมา ทองนวล
กุมารแพทย์
กลุ่มเป้าหมาย
>> เภสัชกรที่อยูร่ ้านขายยา
>> ผูท้ ี่มีหน้าที่จ่ายยาในร้านขายยาที่ไม่ใช่เภสัชกร
วัตถุประสงค์
สามารถใช้ยาได้ถกู ต้องและเหมาะสม ในการดูแลผูป้ ่ วยเบื้องต้น
ทราบถึงอาการและโรคที่ควรส่ งต่อ
การใช้ยาในเด็กและผูใ้ หญ่ต่างกันอย่างไร
ความสาคัญของการคานวณยาในเด็กตามน้ าหนัก อายุ
คาถามทีพ่ บบ่ อย
การใช้ยาในเด็กแตกต่างจากการใช้ยาในผูใ้ หญ่
หรื อไม่
จะนายาของผูใ้ หญ่มาให้เด็กรับประทานหรื อไม่
อายุเท่าไหร่ ดีจึงจะกินยาได้เหมือนผูใ้ หญ่ ?
เด็กอายุต่างกันจะใช้ยาเหมือนกันหรื อไม่
ยานี้ตอ้ งกินจนหมดหรื อไม่ ต้องกินยานานแค่ไหน
กินยาแล้วมีผลข้างเคียงอะไรไหม
เด็ก
คานิยามทีค่ วรรู้ เกีย่ วกับอายุเด็ก
ทารกแรกเกิด (newborn, neonate) แรกเกิด – 1
เดือน
ทารก (infant) 1 เดือน – 1 ปี
เด็กเล็ก (small child) อายุ 1-5 ปี
เด็กโต (old child) อายุ 6-12 ปี
วัยรุ่ น (adolescents) อายุ 13-18 ปี
สาหรับเด็กอายุ 12 ปี ขึน้ ไป สามารถให้ ยาได้ เหมือนกับูู้ใหญ่
การให้ ยาในเด็กต่ างจากูู้ใหญ่ ?
การดูดซึมยาเข้าร่ างกาย กระเพาะอาหารเด็กมีความเป็ นกรดน้อย
กว่า และบีบตัวมากกว่าผูใ้ หญ่ >> ดูดซึมยาได้ น้อยลง
กระบวนการเผาผลาญทาลายและขับถ่ายยา และตับยังไม่
สมบูรณ์
>> กระบวนการทาลายยาน้ อยกว่ าูู้ใหญ่
น้ าหนักตัว ส่ วนสูง และพื้นที่ผวิ ของร่ างกายน้อยกว่าผูใ้ หญ่
>> จึงต้ องให้ ยาโดยการคานวณจากนา้ หนัก
การเดินทางของยา
ตับ
ไต
สู ตรคานวณนา้ หนักตัวเด็ก 1-12 ปี
• อายุ 1-6 ปี
น้ าหนัก = อายุ (year) X 2 +8 Kg
• อายุ 6-12 ปี
อายุ (year) X 2 -5
Kg
น้ าหนัก =
2
สู ตรคานวณนา้ หนักอย่ างง่ าย
2 x ( Age + 4 )
เช่ น เด็กอายุ 1 ปี ประมาณนา้ หนักจากสูตร
2 x ( 1 + 4 ) = 10 กิโลกรั ม
ข้ อห้ ามใช้ ของยาสาหรับเด็ก
แอสไพริน (Aspirin) ไม่ใช้ในเด็กอายุนอ้ ยกว่า 1 ปี เพราะ
อาจมีเลือดออกได้
คลอเฟนิรามีน (chlorpheniramine) ไม่ควรใช้ใน
เด็กอายุนอ้ ยกว่า 2 เดือน เพราะอาจทาให้ซึม นอนไม่หลับ หรื อ
ชักได้
โลเปอราไมด์ (Loperamide) ไม่ควรใช้ในเด็กอายุนอ้ ย
กว่า 2 ปี เพราะอาจกดศูนย์การหายใจ
ซัลโฟนาไมด์ (sulfonamide) ห้ามใช้ในเด็กอายุนอ้ ย
กว่า 2 เดือน เพราะอาจทาให้เกิดดีซ่าน และสมองพิการได้
ข้ อห้ ามใช้ ของยาสาหรับเด็ก
เตตร้ าซัยคลิน (Tetracyclin) ห้ามใช้ในเด็กอายุต่ากว่า
8 ขวบเพราะอาจทาให้ฟันเหลืองดาอย่างถาวร และกระดูก
เจริ ญเติบโตไม่ดี
เดกซ์ โทรเมทอร์ แฟน (Dextromethorphan) ห้าม
ใช้ในเด็กอายุต่ากว่า 2 ขวบเพราะอาจกดศูนย์การหายใจได้
การซักประวัติที่ร้านขายยา
WWHAM AD
Who
What
How
Action taken before
Medication
Allergy
Disease
สิ่ งทีเ่ ภสั ชกร หรือูู้ขายยาอยากทราบ
หลักการวินิจฉัยเบือ้ งต้ นในโรคทีพ่ บบ่ อย
การใช้ ยาทัว่ ไปในโรคทีพ่ บบ่ อย
ขนาดยาทีใ่ ช้ บ่อย
ปัญหาที่พบบ่ อยในเด็ก
โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ ►
โรคติดเชื้ออืน่ ๆ เช่ น งูสวัด สุ กใส ไข้ เลือดออก ไข้ หวัดใหญ่ ►
โรคทางเดินอาหารที่พบบ่ อย เช่ น ถ่ ายเหลว อาเจียน ปวดท้ อง
►
โรคทางูิวหนัง เช่ น กลาก เกลือ้ น ูืน่ ู้ าอ้อม ►
การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ
Upper respiratory tract infection
การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ
หลักการวินิจฉัย
น้ ามูก
ไอมีเสมหะ/ไอแห้ง บางรายมีเจ็บคอ
ไข้ ปวดศีรษะ หรื อปวดเมื่อยตามตัว
กินได้นอ้ ยลง
อาจมีอาเจียน หรื อถ่ายเหลวร่ วมด้วย
ส่ วนใหญ่มกั เกิดจากเชื้อไวรัส
ให้ ยาปฏิชีวนะ เมื่อสงสั ยมีการติดเชื้อแบคทีเรีย
การติดเชื้อทางเดินหายใจจากแบคทีเรียที่พบบ่ อย
Pharyngitis
มักไข้สูง แต่มกั จะไข้สูงกลางคืน
กินได้นอ้ ยลง เพราะเจ็บคอ
อาจมีกลืนแล้วเจ็บ
สี น้ ามูกเขียวไม่ได้บ่งบอกว่าติดเชื้อแบคทีเรี ย
หากรับวัคซี นไม่ครบ เสี่ ยงเป็ นคอตีบได้
Dose Amoxicillin 40-60 mg/kg/day หรือ
Erythromycin 40 mg/kg/day
การติดเชื้อทางเดินหายใจจากแบคทีเรียที่พบบ่ อย
ไซนัสอักเสบ
มักมีประวัติเป็ นหวัด ไอ น้ ามูกมาเป็ นเวลา 5-7 วัน
มักมีไข้ต่าๆกลางวัน กลางคืนไข้สูง
มีน้ ามูกไหลลงคอ
เด็กจะเป็ นไซนัสอักเสบเมื่ออายุมากกว่า 4 ปี
ควรแนะนาไปพบแพทย์เพราะเด็กมีโอกาสเกิดผลแทรกซ้อน เช่น ฝี
ในสมอง
การติดเชื้อทางเดินหายใจจากแบคทีเรี ยที่พบบ่อย
หลอดลมอักเสบ / ปอดบวม
มักมีอาการ ไข้ ไอ หายใจเร็ ว/หอบ
ไอมากตอนกลางคืน ไอจนไม่ได้นอน
ไอจนอาเจียน
ประวัติแยกไม่ได้ชดั เจน
อาการเหล่ านีค้ วรส่ งพบแพทย์
ไข้สูง และมีชกั ร่ วมด้วย
กินน้ าและอาหารได้นอ้ ยลงมากกว่าครึ่ งของปกติ
ปัสสาวะออกน้อย หรื อไม่ปัสสาวะมานานกว่า 6 ชัว่ โมง
ไข้สูงเกิน 72 ชัว่ โมงโดยไม่มีอาการอื่น
ซึมลง (ไม่ใช่เซื่องซึม)
มีน้ าออกจากหู
หอบ
หลังรับวัคซีนแล้ว ไข้สูงจนชัก ร้องไห้ไม่หยุด ร้องตัวอ่อน ◄
งูสวัด/เริม (Herpes zoster)
เด็กปกติพบได้ไม่บ่อย
ตุ่มแดง นูน คล้ายตุ่มน้ า หรื อตุ่ม
หนอง บางตุ่มแตก
ตุ่มกระจายตามแขนง
เส้นประสาท
เป็ นฝั่งเดียว
การรักษา
ตามอาการ บรรเทาอาการปวด
ระวังการติดเชื้อแบคทีเรี ย
Acyclovir cream ?
สุ กใส (chickenpox)
ไข้ อ่อนเพลีย ปวดเมื่อย
ผืน่ มีหลายระยะ เช่น ตุ่มนูนแดง
ตุ่มน้ าใส ตุ่มหนองเป็ นได้ทวั่ ตัว
ระยะติดต่อตั้งแต่เป็ นผืน่ จนตุ่ม
สุ ดท้ายตกสะเก็ด
รักษาตามอาการ ดูแลแผล
ทารกแรกคลอดอายุนอ้ ยกว่า 10
วันที่มารดาเป็ นสุ กใสต้องไปพบ
แพทย์
ไข้ เลือดออก
ไข้สูงลอย 3-7 วัน
กินยาลดไข้แล้วไม่ลด
กินได้นอ้ ยลง
อาจมีไอ น้ ามูกเล็กน้อยได้
อาเจียน หรื อถ่ายเหลวได้
มีเลือดออกได้ต้ งั แต่ไข้วนั ที่ 3
แนะนาตรวจเลือดเมื่อไข้ครบ 3
วัน
ไข้ หวัดใหญ่
ไข้สูง
ไอแห้ง หรื อมีเสมหะ น้ ามูกใส หรื อเปลี่ยนสี ได้
กินได้นอ้ ยลง
ปวดเมื่อยตามตัว
หอบ หรื อไอมากกลางคืน
รักษาตามอาการ
เด็กอายุนอ้ ยกว่า 2ปี มีโอกาสเป็ นโรครุ นแรงสูง ควรพบแพทย์
◄
ถ่ ายเหลว อุจจาระร่ วง
ประวัติ
ลักษณะอุจจาระ สี มูกเลือด กลิ่น
ปริ มาณอุจจาระ จานวนครั้ง
อาเจียน มีน้ าดีปนหรื อไม่
ปวดท้อง ไข้
ความรุนแรงของการเสี ยนา้
ปากแห้ง ตาโหล ปั สสาวะครั้งสุ ดท้าย เวียนศีรษะหน้ามืด
ความจาเป็ นต้ องได้ ยาปฏิชีวนะ
สิ่ งควรพิจารณาเมื่อเด็กมีประวัติอาเจียน หรือถ่ ายเหลว
พิจารณาให้ ยาปฏิชีวนะเมื่อ
ถ่ายอุจจาระเหลวมีมูกปนเลือด
ถ่ายอุจจาระมีกลิ่นเหม็นคาว
อาจมีไข้ร่วมด้วย
มีการระบาดของโรคท้องร่ วง
รุ นแรง เช่น อหิวาห์
ส่ งพบแพทย์เมือ่
ตาโหล
เวียนศีรษะ หน้ามืด
เด็กเล็กที่รับยาแล้วไม่ดีข้ ึน
กินอาหารได้ไม่ถึงครึ่ งของปกติ
ปั สสาวะครั้งสุ ดท้ายนานเกิน 6
ชัว่ โมง
หายใจหอบลึก ซึม
อุจจาระเป็ นเลือด
ปวดท้ อง
ประวัติ
เฉี ยบพลัน หรื อเรื้ อรัง
ปวดเพิ่มขึ้น เท่าเดิม หรื อปวดเป็ นๆหายๆ
ปวดบีบ ปวดแสบ ปวดแน่น ปวดย้ายตาแหน่ง
อาการร่ วม ได้แก่ ไข้ อาเจียน ลักษณะอุจจาระ ประวัติการผ่าตัด
กินอาหารได้ลดลง
สาเหตุการปวดท้ องแบ่ งตามอายุ
เด็กทารกและเด็กเล็ก
Enterocolitis
Colic (< 3 months)
►
Intussusception
Volvulus
Acute
gastroenteritis ►
Hernia
Constipation ►
UTI
Trauma
เด็กโต
Acute
gastroenteritis
Appendicitis
Constipation
UTI
Trauma
PID
Dysmenorrhea ►
Dyspepsia ►
Colic
ร้องสามเดือน
พบได้ในเด็กอายุ 1-4 เดือน
ร้องไห้โดยไม่มีสาเหตุ มักเริ่ มมีอาการตอนบ่าย หรื อเย็น 2-3 ชัว่ โมง/วัน
มักเป็ นอยูน่ าน ประมาณ 3 สัปดาห์
อุจจาระ และปั สสาวะปกติ
กินนมได้และมีน้ าหนักขึ้นตามปกติ
ไม่มียารักษา แต่ไม่อนั ตราย
สามารถให้ยาขับลมได้ ทามหาหิ งส์บางๆได้ Gripe water
◄
Acute gastroenteritis
ถ่ายอุจจาระเหลว มักเป็ นน้ า
อาเจียนเป็ นอาหารทิ่กิน
ไข้
ท้องอืด
กินได้นอ้ ยลง
รักษาตามอาการ : paracetamol, domperidone,
ORS
เปลี่ยนนมหากถ่ายเหลวบ่อยจนรอบรู ทวารแดง
นม lactose free
◄
แล้ วนมเหล่ านีก้ นิ ได้ ม้ยั
นมแพะ
นมควาย
นมถัว่ เหลือง เช่น isomil, prosobee
Constipation
ท้องผูก
อุจจาระแข็ง ถ่ายลาบาก
ระยะห่างของการถ่ายอุจจาระแต่ละครั้ง นานกว่า 3 วัน
ถ่ายอุจจาระ ≤ 2 ครั้ง ต่อสัปดาห์
การรักษา
รับประทานอาหารที่เป็ นผัก ผลไม้ หรื ออาหารที่มีกากใยมาก
ยาระบายที่เหมาะสมในแต่ละช่วงอายุต่างกัน
ยาระบายในเด็ก
เด็กทารก >> น้ าลูกพรุ น และปรับนมเป็ นสู ตรที่มีใยอาหารเพิ่มขึ้น
ยาเหน็บ glycerin สามารถใช้ได้ในทารก
Hypertonic saline enema(Unison®) เด็กเล็ก 10-20 ml, เด็กโต 50-100 ml
Milk of magnesia 1-3 ml/kg/dose
Lactlose (Dupalac®, Hepalac®) 1-2 ml/kg/dose
Mineral oil (liquid paraffin emulsion, ELP) 1-3 ml/kg/dose ใช้ในเด็กโต
อายุ > 6 ปี ระวัง lipid pneumonia
ยากลุ่ม stimulant (Bisacodyl®, Senokot®) ใช้ได้กบั เด็กโต และเป็ นระยะ
สั้นๆ
Dysmenorrhea
ปวดประจาเดือน
มักเป็ นวันแรกๆของรอบเดือน
สามารถกินยาได้ เหมือนูู้ใหญ่
ยาทีใ่ ช้ รักษา dysmenorrhea
NSAIDs เช่ น ibuprofen(Brufen®) ,metfenamic
acid(Ponstan®)
Antispasmodic : hyoscine(Buscopan)
การรักษาประคับประคองอืน่ เช่ น นอนพัก ประคบอุ่น
ถ้ าปวดมากจนต้ องหยุดเรียน หรือทางานไม่ ได้ ควรพบสู ติ นรีแพทย์
◄
Dyspepsia, Peptic ulcer
ปวดท้องเป็ นพักๆ มักสัมพันธ์กบั การกิน
อาจมีถ่ายอุจจาระเหลวกว่าปกติ
บางรายปวดท้องดีข้ ึนหลังถ่าย
ปวดบีบเกร็ ง หรื อปวดแสบ
คลื่นไส้ อาเจียน
สุ ขนิสยั การกิน เช่น ขนมขบเคี้ยว น้ าอัดลม กินอาหารไม่เป็ น
เวลา
ยาทีใ่ ช้ ในการรักษา dyspepsia
Antacids (alum milk, antacin) 1ml/kg/dose หลังอาหาร
Cimetidine 20-40 mg/kg/วัน แบ่ง 3-4 ครั้งต่อวัน
Ranitidine 6-10 mg/kg/วัน แบ่ง 2-3 ครั้งต่อวัน
Omeprazole 0.7-3.3 mg/kg/วัน แบ่ง 1-2 ครั้งต่อวัน
Prokinetic drug
Domperidone (Motilium) 0.3 mg/kg/ครั้ง วันละ 3-4 ครั้ง ก่อนอาหาร
Metoclopramide (Plasil) 0.1 mg/kg/ครั้ง วันละ 3-4 ครั้ง ก่อนอาหาร
อาการปวดท้ องทีค่ วรรีบมาพบแพทย์
ปวดท้องเรื้ อรังเกิน 3 เดือน
สุ ขนิสัยการขับถ่ายผิดไปจากเดิม
อาเจียนเป็ นน้ าดี ถ่ายอุจจาระมีเลือดปน
ปวดท้องจนต้องตื่นนอน
อาการปวดร้าวไปยัง หลัง ไหล่ สะบัก
น้ าหนักลด
กลั้นอุจจาระไม่ได้
ประวัติคนในครอบครัวเป็ นแผลในกระเพาะอาหาร หรื อมะเร็ งทางเดิน
อาหาร
◄
กลาก เกลือ้ น
กลาก
มักเป็ นที่เส้นผม เล็บและผิวหนัง
ที่ตอ้ งพบแพทย์ คือ เล็บ ผม
ยาทา วันละ 2 ครั้ง นาน 3-4 สัปดาห์
Clotrimazole
Miconazole
Ketoconazole
econazole
เกลือ้ น
ผืน่ ราบ สี ขาวขอบเขตชัดเจน คันผืน่
เป็ นมากบริ เวณที่มีต่อมไขมัน
ยาทา
2.5% selenium sulfide
ทาทิ้งไว้ 10 นาทีก่อนอาบน้ าแล้วล้างออก
ทุกวันนาน 2 สัปดาห์
Immidazole cream วันละ 2
ครั้ง นาน 2-4 สัปดาห์
ูืน่ ู้ าอ้ อม
พบในเด็กอายุ 3-18 เดือน
สาเหตุ
ผืน่ จากการสัมผัสสารระคายเคือง
เชื้อรา candida
ผืน่ จากการเสี ยดสี มกั เป็ นเด็กอ้วน
ทายาเคลือบผิว เช่น zinc paste
ถ้าผื่นแดงอักเสบปานกลาง ใช้ยาทาสเตีย
รอยด์อย่างอ่อน เช่น
1%hydrocortisone ~ 1wk
ถ้าผืน่ ไม่ดีข้ ึนอาจมีการติดเชื้อราแทรกซ้อน
ให้ใช้ nystatin cream หรื อ
miconazole cream
diaper dermatitis
กลุ่มยาทีใ่ ช้ บ่อยในเด็ก
ยาลดไข้
ยาบรรเทาอาการคัดจมูก หวัด
ยาลดการไอ
ยาบรรเทาอาการถ่ ายเหลว
กลุ่มยาลดไข้
Paracetamol
Dose 10-15 mg/kg/dose ทุก 4-6 ชัว่ โมง
maximum dose 75 mg/kg/day
Syrup 120mg/5ml
Paracetamol drop 60mg/0.6ml
Combination (Tempra®)
กลุ่มยาลดไข้
Aspirin
ไม่ แนะนาให้ ใช้ ในเด็กอายุน้อยกว่ า 16 ปี หรือสุ กใส หรือ
ไข้ หวัดใหญ่
Dose 10-15mg/kg ทุก 4-6 ชั่วโมง
กินหลังอาหารทันที
ูลข้ างเคียง Reye‘s syndrome
(encephalopathy, hepatic
dysfunction)
กลุ่มยาลดไข้
Ibuprofen (Nurofen)
ลดไข้ ได้ ดกี ว่ า paracetamol
ไม่ แนะนาในเด็กอายุตา่ กว่ า 6 เดือน และช่ วงที่มไี ข้ เลือดออกระบาด
Dose ในเด็ก 6 เดือน – 2 ปี
ไข้ < 39° C : 5 mg/kg/dose
ไข้ > 39°C : 10 mg/kg/dose (max dose
40mg/kg/day)
ความแรง Ibuprofen
Syrup (120mg/5ml)
Tab 200mg, 400mg
Combination
paracetamol /aspirin
ยาบรรเทาอาการคัดจมูก หวัด
Antihistamine
1st generation
Chlorpheniramine(CPM) 0.35 mg/kg/d
ไม่ควรใช้ในเด็กอายุนอ้ ยกว่า 2 เดือน เพราะเด็กอาจกระสับกระส่ าย
และนอนไม่หลับได้
CPM syr 2mg/5ml, 4mg/tab
Brompheniramine
Diphenhydramine
Tripolidine
ยาบรรเทาอาการคัดจมูก หวัด
Antihistamine
3rd generation
Loratadine (Clarityne Syr)
อายุ > 2 ปี ให้ ½ tsp กิน ก่อนนอน
อายุ > 4 ปี ให้ 1 tsp กิน ก่อนนอน
Ceterizine
Fexofenadine
ยาลดอาการบวมของเยือ่ จมูก
ยาพ่น/ยาหยอดจมูก เช่น
0.5% ephedrine
Phenylephrine
naphazoline
ยากลุ่มนี้ไม่แนะนาให้ใช้ในเด็กเล็กอายุ < 1 ปี
ยาพ่น/ยาหยอดจมูก ห้ามใช้ยาเกิน 5 วัน อาจทาให้เกิด
rebound phenomenon
ยาลดอาการไอ
Expectorants
Guafenesin (Glyceryl guaiacolate)
Robitussin
100mg/5ml
<2 ปี 12 mg/kg/วัน
2-5 ปี 50-100mg (2.5-5 ml)/ มื้อ วันละ3-4 ครั้ง
6-11 ปี 100-200mg(5-10 ml)/มื้อ วันละ3-4 ครั้ง
Bromhexine
Ambroxol
ยาลดอาการไอ
Expectorants
Bromhexine
Bisolvon
2,4 mg/5 ml
8 mg/tab
Dosage < 2ปี ½ ช้อนชา กิน 3 เวลา หลังอาหาร
2-4 ปี 1 ช้อนชา กิน 3 เวลา หลังอาหาร
>4 ปี 1- 1½ ช้อนชา กิน 3 เวลา หลังอาหาร
ยาลดอาการไอ
Expectorants
Ambroxol
Mucosolvan, Ambrol, Mucolid
30 mg/5 ml
30 mg/tab
Dosage 1.2-1.6 mg/kg/ วัน วันละ 3 ครั้ง
ยาลดอาการไอ
Mucolytics
Acetylcysteine (Fluimucil)
Carbocysteine (Flemex)
250 mg/5 ml
Antitussive (ไม่แนะนาในเด็ก เพราะจะไอไม่ออก
เสมหะเหนียว)
(diphenhydramine,dextromethorphan,
codeine
การรักษาอาการถ่ ายเหลว
ORS เด็ก กินครั้งละ 5-20ml ทุก 5-10นาที
ควรรี บดื่มใน 4-6 ชัว่ โมงแรก หากอาเจียนให้จิบครั้งละ 1 ช้อน
ชา
หยุดกินน้ าเกลือเมื่อระยะห่างระหว่างการถ่ายมากกว่า 6 ชัว่ โมง
ไม่แนะนายาลดการเคลื่อนไหวของลาไส้ เช่น loperamide
ยาที่มีฤทธิ์ดูดซับ เช่น Kaolin, pectin, activated
charcoal ไม่ช่วยให้อาการดีข้ ึน
การรักษาอาการถ่ ายเหลว
ยาแก้อาเจียน
Domperidone (Motilium®)
0.3mg/kg/dose
ยาปฏิชีวนะให้เมื่อสงสัยในการติดเชื้อแบคทีเรี ย
Amoxicillin 40mg/kg/day เหมาะกับเด็กเล็ก
Norfloxacin 10-20 mg/kg/day (ความแรงของ
ยา 200mg/tab ,400mg/tab)
กินยาเป็ นเวลา 3-5 วัน
Thank you
for your attention