Teenage pregnancy

Download Report

Transcript Teenage pregnancy

Teenage pregnancy
Adolescence
ความหมาย: ช่วงชีวติ ที่อยูร่ ะหว่างวัยเด็กและผูใ้ หญ่ เป็ นช่วงที่เริ่ มมีพฒั นาการ
ทางเพศทุติยภูมิ จนกระทั้งพัฒนาการดังกล่าวเสร็ จสมบูรณ์(วัยรุ่ น)
 ช่วงอายุระหว่าง 10-19 ปี

Puberty

ความหมาย: กระบวนการทางสรี รวิทยาที่ทาให้มีการเจริ ญสมบูรณ์ท้ งั ทาง
กายภาพและทางฮอร์โมนในระบบสื บพันธ์ (ภาวะเริ่ มเจริ ญพันธุ์)
ระบบต่อมไร้ท่อที่เกี่ยวกับภาวะเริ่ มเจริ ญพันธุ์

ต่อมหมวกไต (adrenal gland) และต่อมเพศ (gonad)
ทาให้เกิดเกิดปรากฎการณ์
1.Adrenarche คือ การที่ต่อมหมวกไตทางานมากขึ้นเมื่อเด็กหญิงอายุ 68 ปี ทาให้ผลิตฮอร์โมน androgen เพิ่มขึ้นเรื่ อย ๆ ทาให้เกิดขนหัวหน่าว
และขนรักแร้เจริ ญมากขึ้น ต่อมไขมันทางานเพิ่ม
2.Gonadarche คือ การหลัง่ ฮอร์ โมน GnRH จากไฮโปทาลามัสเพิ่ม
ทาให้กระตุน้ ต่อมใต้สมอง (pituitary gland) ให้เพิ่มการหลัง่
ฮอร์โมน LH และ FSH มากขึ้นทาให้มีการพัฒนาการทางเพศและมีการตก
ไข่

การเปลี่ยนแปลงอันเป็ นผลจากภาวะเริ่ มเจริ ญพันธุ์

การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
1. Growth spurt
- เป็ นการเพิ่มความสู งอย่างรวดเร็ ว ในระยะก่อนมีระดู โดยเพิ่มปี ละ 8-9
เซนติเมตร อัตราเพิ่มความสู งจะลดลงหลังมีระดู และจะหยุดสู งหลังจากนั้น 12 ปี เป็ นผลจากฮอร์โมนเอสโตรเจน
2. Thelarche
- เริ่ มมีพฒั นาการของเต้านม จากฮอร์ โมนเอสโตรเจน โดยเด็กอาจมีอาการเจ็บ
หัวนม และตรวจพบก้อนที่เต้านมพบในอายุ 9-10 ปี
การเปลี่ยนแปลงอันเป็ นผลจากภาวะเริ่ มเจริ ญพันธุ์
3. Pubarche
การเริ่ มมีพฒั นาการของขนหัวหน่าว เป็ นผลจากฮอร์ โมนแอนโดรเจน โดยทัว่ ไป
จะเกิดตามหลัง thelarche
4. Menarche
การมีระดูครั้งแรก เป็ นผลจากฮอร์ โมน LH และ FSH ไปกระตุน้ ฮอร์โมน
เอสโตรเจน ทาให้มีการเจริ ญของเยือ่ บุมดลูก
การเปลี่ยนแปลงอันเป็ นผลจากภาวะเริ่ มเจริ ญพันธุ์
การเปลี่ยนแปลงของอวัยวะสื บพันธุ์
หัวหน่าวและแคมใหญ่มีขนาดโตขึ้นเนื่องจากมีไขมันไปสะสมใต้ผวิ หนัง ช่อง
คลอดมีความยาวเพิ่มขึ้น เริ่ มมีตกขาวปกติ มดลูกมีขนาดใหญ่ข้ ึน
 ขนรักแร้และต่อมที่ผวิ หนัง
เป็ นผลจากฮอร์ โมนแอนโดรเจน ทาให้มีขนรักแร้ข้ ึน และต่อมไขมันทีห่ น้า,
รักแร้และอวัยวะเพศทางานเพิ่มขึ้น ทาให้เป็ นสิ วได้ง่าย

การเปลี่ยนแปลงอันเป็ นผลจากภาวะเริ่ มเจริ ญพันธุ์

รู ปร่ างและส่ วนประกอบของร่ างกาย
มวลกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้น เพิ่มสู งสุ ดตอนเริ่ มมีระดู หลังจากนั้นจะมีการสะสมไขมันใน
ร่ างกายเพิ่มขึ้นแทน โดยไขมันส่ วนใหญ่สะสมที่สะโพกและน่อง ทาให้สะโพก
ผาย
ลาดับการพัฒนาการของวัยรุ่ น
Growth spurt  Thelarche  Pubarche 
Menarche
อายุเมื่อย่างเข้าสู่วยั เจริ ญพันธุ์

เด็กส่ วนใหญ่จะเริ่ มมีลกั ษณะทางเพศทุติยภูมิเกิดขึ้นภายในช่วงอายุ 8-14 ปี
และพบว่ามีแนวโน้มที่เด็กไทยจะเข้าสู่ ภาวะเจริ ญพันธุ์เร็ วขึ้นกว่าเดิม
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออายุเมื่อเข้าสู่วยั สาว
ปัจจัยด้านพันธุกรรม
 ปั จจัยด้านภาวะโภชนาการและสุ ขภาพ
 ปั จจัยด้านสภาพแวดล้อม สังคมและเศรษฐกิจ

ระยะพัฒนาการของลักษณะทางเพศทุติยภูมิ
ระยะพัฒนาการของลักษณะทางเพศทุติยภูมิ
การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์สงั คม ของวัยรุ่ น
มีความวิตกกังวล หงุดหงิด หมกมุ่น ไม่พอใจในรู ปร่ างที่เปลี่ยนไป
 มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่ างกาย
 มีความวิตกกังวลกลัวการเป็ นผูใ้ หญ่ กลัวจะไม่เป็ นที่ยอมรับจากคนรอบข้าง กลัว
ความรับผิดชอบ ซึ่ งจะรู ้สึกว่าเป็ นภาระที่หนักหนา ยุง่ ยาก
 มีความวิตกกังวลในความงดงามทางร่ างกาย ต้องการทาให้เพื่อนยอมรับเข้าไปใน
กลุ่มและเป็ นที่ดึงดูดใจของเพศตรงข้าม

การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ
1.ความรักและความห่วงใย ความรู ้สึกอยากที่จะถูกรัก และยังอยากได้รับความเอาใจ
ใส่ ห่วงใยจากบุคคลที่มีความสาคัญต่อเด็กวัยรุ่ น
2. เป็ นอิสระอยากทาอะไรได้ดว้ ยตัวของตัวเอง
3. ต้องการเป็ นตัวของตัวเอง
4. อยากรู้, อยากเห็น, อยากลอง ในสิ่ งใหม่ๆ
5.มีความตื่นเต้น ท้าทาย ความต้องการหาประสบการณ์แปลกๆ ใหม่ๆ
6.ต้องการการยอมรับว่าเป็ นส่ วนหนึ่ งของบ้าน ของกลุ่มเพื่อน
Teenage pregnancy

1.
2.


คือ การตั้งครรภ์ในสตรี ที่มีอายุระหว่าง 10-19 ปี นับถึงวันครบกาหนด
คลอด แบ่งเป็ นสองกลุ่ม ดังนี้
Younger adolescents (10-14 ปี )
Adolescents (15-19 ปี )
Gynecological age คือ ผลต่างระหว่างอายุจริ งกับอายุที่มีระดู
ครั้งแรก
หาก Gynecological age น้อยกว่า 2 ปี จะเพิ่มความเสี่ ยงของ
การคลอดก่อนกาหนด และน้ าหนักตัวเด็กแรกคลอดน้อย
อัตราการตัง้ ครรภของหญิ
งอายุ 15-19ปี ตอประชากร
่
์
หญิงอายุ 15-19ปี 1000 คน
ปี พศ.
การแท้งทุก
ประเภท
การเกิดไร้ชีพ หญิงคลอด
15-19 ปี
หญิงตัง้ ครรภ์ หญิงอายุ 15- อัตรา :
1000
15-19 ปี
19 ปี
2548
10,399
269
113,048
123,447
2,247,586
55.0
2549
11,149
379
112,509
123,658
2,265,800
54.7
2550
11,844
388
115,948
127,792
2,300,740
55.7
2551
11,788
337
118,921
130,709
2,329,702
56.3
2552
11,920
378
119,828
131,748
2,344,720
56.4
2553
11,734
401
120,012
132,147
2,356,637
56.1
2554
11,582
413
130,047
142,042
2,367,243
60.0
สานักอนามัยการเจริญพันธ ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
Incidence
อัตราการตัง้ ครรภของวั
ยรุนหญิ
งตามช่วง
่
์
อายุ
สานักอนามัยการเจริญพันธ ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
Risk for teenage pregnancy

ภาวะซี ด (Anemia)
- ตรวจเลือดพบฮีโมโกลบิน (Hb) < 11 g/dL
- สาเหตุเกิดจาก พยาธิ ปากขอ(hook worm), โรคติดเชื้อHIV,
ภาวะขาดธาตุเหล็ก, โรคมาลาเรี ย, วัณโรค
- เพิ่มความเสี่ ยงต่อเด็กตัวเล็กกว่าอายุครรภ์ และอัตราการเสี ยชีวติ ก่อนคลอดของ
ทารกในครรภ์
Risk for teenage pregnancy
การคลอดก่อนกาหนด (GA < 37 wks) สาเหตุแบ่งเป็ นสองกลุ่ม
1. สาเหตุจากภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการตั้งครรภ์ เช่น ครรภ์เป็ นพิษ
รกเกาะต่า รกลอกตัวก่อนกาหนด ทารกเจริ ญเติบโตช้าในครรภ์ เป็ นต้น
2. สาเหตุจากมีอาการเจ็บครรภ์คลอดที่เกิดขึ้นเอง (spontaneous
preterm labor)
ปั จจัยเสี่ ยงได้แก่ เช่น gynecologic age <= 2 yrs, การ
สูบบุหรี่ หรื อใช้สารเสพติด, น้ าหนักตัวน้อยหรื อมากไป, ภาวะทุพโภชนาการ
, ความเครี ยดวิตกกังวล

Risk for teenage pregnancy
ภาวะครรภ์เป็ นพิษ (preeclampsia)
 เพิ่มอัตราตายของมารดา (Maternal mortality rate)
- puerperal sepsis, septic abortion
 ความพิการแต่กาเนิ ดของทารก (Congenital anomalies)
- ระบบประสาทส่ วนกลาง
- ระบบทางเดินอาหาร เช่น gastroschisis
- ระบบกระดูก กล้ามเนื้อและผิวหนัง เช่น cleft lip, cleft palate
เป็ นต้น

Risk for teenage pregnancy
ทารกน้ าหนักตัวน้อย (Low birth weight)
น้ าหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2500 กรัม
 ทารกมีน้ าหนักต่ากว่าเกณฑ์ (Small for gestational age)
น้ าหนักน้อยกว่า เปอร์ เซนไทล์ที่ 10
 เพิม
่ ภาวะทุพพลภาพและอัตราตายของทารก
 การใช้สารเสพติด risk abortion , fetal growth
restriction, LBW, preterm labor , abruptio
placenta เป็ นต้น

Risk for teenage pregnancy
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
- หนองในแท้ (Neisseria gonorrhea)
- หนองในเทียม (Chlamydia trachomatis)
- หูดหงอนไก่
- ซิฟิลิส แผลริ มอ่อน เป็ นต้น
 เพิม
่ อัตราการผ่าตัดคลอด
- Age < 16 yrs
- gynecological age < 2 yrs
 ภาวะซึ มเศร้า

การดูแลช่วงฝากครรภ์
1. ภาวะโภชนาการ
 พลังงาน เพิ่มขึ้น 400 kcal/day
 แคลเซี ยม เพิ่มขึ้น 1,300 mg/day
 ธาตุเหล็ก 27 mg /day
 ไอโอดีน ควรได้รับ 220 ไมโครกรัม/วัน ถ้าขาดจะเกิด mental
retardation
 กรดโฟลิก (folic acid) ต้องการปริ มาณ 600 ไมโครกรัม/วัน
เพิ่มความเสี่ ยง neural tube defects
การดูแลช่วงฝากครรภ์
2. การคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
- ควรคัดกรองโรคหนองในแท้และหนองในเทียม ในครั้งแรกที่มาฝาก ครรภ์
และในรายที่มีความเสี่ ยงสู งควรตรวจซ้ าอีกครั้งในไตรมาสที่สาม
- ถ้าติดเชื้อให้รักษาสามีดว้ ยและตรวจยืนยันภายหลังการรักษาแล้วประมาณ 34 สัปดาห์
การดูแลช่วงฝากครรภ์
3. การใช้สารเสพติด
4. การตรวจด้วยคลื่นความถี่สูง
5. การเฝ้ าระวังภาวะครรภ์เป็ นพิษ
6. การป้ องกันภาวะทารกน้ าหนักน้อยหรื อทารกเจริ ญเติบโตช้าในครรภ์
7. ปั ญหาทางด้านจิตใจ
8. การให้ความรู ้เกี่ยวกับการคลอดและการเลี้ยงดูบุตร
การป้ องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่ น
ให้ความรู ้ความเข้าใจถึงวิธีลดความเสี่ ยงของการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่พร้อม
 สอนวิธีคุมกาเนิ ดเพื่อให้สามารถป้ องกันการตั้งครรภ์ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
 ให้ความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับเพศศึกษาที่ถูกต้อง การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และ
การป้ องกันโรคเอดส์แก่วยั รุ่ น

THANK YOU