การประเมินสภาพความเหมาะสมของครอบครัวที่ขอรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม

Download Report

Transcript การประเมินสภาพความเหมาะสมของครอบครัวที่ขอรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม

การสอบสภาพครอบครัว
ของผูข้ อรับเด็กเป็ นบุตรบุญธรรม
(Adoption Home Study)
จินตนา นนทะเปารยะ
6 มิถุนายน 2557
เป้ าประสงค์หลักของการสอบสภาพครอบครัว
ของผูข้ อรับเด็กเป็ นบุตรบุญธรรม
เป็ นกระบวนการทางานสังคมสงเคราะห์เพื่อ
– ประเมินสภาพความเหมาะสมในด้านต่างๆ ของครอบครัวในการรับ
บุตรบุญธรรม
– ให้การศึกษาและเตรียมความพร้อมครอบครัวในการรับบุตรบุญธรรม
– รวบรวมข้อมูลข้อเท็จจริง เพื่อเป็ นข้อพิจารณาว่าครอบครัวของผูข้ อรับ
เด็กรายนัน้ ๆ เหมาะสม/มีความสามารถที่จะทาหน้ าที่พ่อแม่ที่ดีที่สดุ
สาหรับเด็กประเภทไหน
– เป็ นการสร้างสัมพันธภาพ ความไว้เนื้ อเชื่อใจระหว่างนักสังคมฯ กับผู้
ขอฯ ซึ่งเป็ นพืน้ ฐานสาคัญในการเสริมช่วย ให้คาปรึกษา แทรกแซง
สนับสนุนผูข้ อฯ ทัง้ ก่อนและในระยะทดลองเลี้ยงดู ตลอดจนหลังการจด
ทะเบียนรับบุตรบุญธรรมแล้ว
ภารกิจหลักของนักสังคมฯ ในกระบวนการสอบสภาพ
ครอบครัว
การตกลงบริการ/ให้ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
Orientation
การสั มภาษณ์
การเยีย่ มบ้ าน
Interviews
Home Visit
การศึกษาเอกสารหลักฐาน
การอบรม
Support Documents
Training
รายงานการสอบสภาพครอบครัว
Adoption Home Study Report
องค์ประกอบด้านต่างๆ ในการประเมินสภาพความเหมาะสมของ
ครอบครัวผูข้ อรับเด็กเป็ นบุตรบุญธรรม
• ภูมิหลังของผูข้ อฯ
• แรงจูงใจและทัศนคติในการรับบุตร
บุญธรรม
• สุขภาพกายและสุขภาพจิตของผูข้ อฯ
• การสมรส สัมพันธภาพของคู่สมรส
สมาชิกครอบครัว และการดาเนินชีวิต
ในครอบครัว
• การประกอบอาชีพ และสถานะทาง
เศรษฐกิจในปัจจุบนั
• ประวัติอาชญากรรม และการทาร้าย
ทารุณกรรมเด็ก
• เด็กที่ขอรับเป็ นบุตรบุญธรรม
• ประสบการณ์ในการเลี้ยงดูเด็ก
ความเชื่อและหลักการที่ใช้ใน
การเลี้ยงดูเด็ก
• ที่อยู่อาศัยและชุมชน
• แผนการดูแลเด็กทดแทนโดย
บุคคลอื่นในกรณี ที่บิดามารดา
บุญธรรมไม่สามารถทาหน้ าที่ได้
• ความเห็นของผูร้ บั รอง
ภูมิหลังของผูข้ อรับเด็กเป็ นบุตรบุญธรรม
ประเด็นที่ควรค้นหา: พ่อแม่พี่น้อง การเลี้ยงดูและการใช้ชีวิตในวัยเด็ก
บุคคลที่มีอิทธิพล/เป็ นแบบอย่างในการดาเนินชีวิต สัมพันธภาพกับพ่อ
แม่พี่น้องในวัยเด็กและปัจจุบนั ประวัติการศึกษา – การประกอบอาชีพ
ประสบการณ์ ครัง้ สาคัญๆ ในชีวิต (ความสาเร็จ ความภูมิใจ ความ
ล้มเหลว ความสูญเสีย) ก้าวข้ามประสบการณ์ ลบๆ มาได้อย่างไร ได้
บทเรียนอะไรจากประสบการณ์นัน้ ๆ
เพื่อ: ประมวลได้ว่าผูข้ อฯ เติบโต ถูกหล่อหลอมมาอย่างไร ทุกข์สขุ อย่างไร
วิธีการแก้ปัญหา ได้เรียนรู้/มีข้อคิดอะไรจากประสบการณ์ ชีวิต support
system ของผูข้ อรับเด็ก ฯลฯ  ประสบการณ์/การถูกหล่อหลอมใน
อดีต มีอิทธิพลต่อมนุษย์ทงั ้ ในวันนี้ และอนาคต
แรงจูงใจ และทัศนคติในการรับบุตรบุญธรรม
ประเด็นที่ควรค้นหา: เหตุผลที่แท้จริงที่ในรับเด็กเป็ นบุตรบุญธรรม และ
ความคาดหวังต่อเด็ก (ต้องการเพื่อนแก้เหงา, รับเพื่อเด็กจะได้เลีย้ งดูยามแก่
เฒ่า, รับไว้สืบสกุล, รับไปทดแทนลูกที่เสียชีวิตไป, รับเด็กที่เป็ นญาติเพราะอับ
อายไม่มีทางเลือก ฯลฯ) ความรู้สึกที่มีต่อการเป็ นหมันไม่สามารถมีบตุ รได้
(ก้าวข้ามความรู้สึกผิดหวัง/ไม่ภาคภูมิใจในตัวเองหรือคู่สมรสที่เป็ นหมันแล้ว
หรือไม่? อย่างไร?) ความเข้าใจและทัศนคติที่มีต่อเด็กที่จะมาเป็ นลูกบุญธรรม
(เด็กถูกทอดทิ้ง เด็กในสถานสงเคราะห์) และต่อพ่อแม่โดยกาเนิดของเด็ก
ความเชื่อเกี่ยวกับสายเลือด กรรมพันธุ์ ดวงเกิด โหงวเฮ้งของเด็ก ความ
ตระหนักในความรับผิดชอบในฐานะพ่อแม่ที่มีต่อเด็กไม่ว่าอะไรจะเกิดขึน้ ใน
อนาคต รวมถึงทัศนคติของพ่อแม่ญาติพี่น้องในการรับบุตรบุญธรรม
เพื่อ: ประเมินได้ว่าแรงจูงใจ ความคาดหวัง และทัศนคติเหล่านัน้ เป็ นปัจจัย
สนับสนุน/อุปสรรคในการเลีย้ งดูลกู บุญธรรมทัง้ ในปัจจุบนั และอนาคตหรือไม่
อย่างไร เป็ นโอกาสที่นักสังคมฯ จะช่วยสร้างความเข้าใจ ปรับแก้ความคาดหวัง
และทัศนคติให้มีความเหมาะสมถูกต้อง ปรับแก้ได้หรือไม่?
สุขภาพกายและสุขภาพจิตของผูข้ อฯ
ประเด็นที่ควรค้นหา (นอกเหนื อจากรายงานแพทย์): ประวัติ
ความเจ็บป่ วย/การบาบัดรักษา โรคประจาตัว ความต่อเนื่ องใน
การพบแพทย์ ยาที่ใช้ในปัจจุบนั Lifestyle หรือลักษณะการใช้
ชีวิต (ลักษณะการกินอยู่หลับนอน การดื่มสุรา/ใช้สารเสพย์ติด)
ภาวะอารมณ์ วิธีการคลี่คลายเมื่อมีความกดดัน ฯลฯ
เพื่อ: ประเมินได้ว่าผูข้ อฯ มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตแข็งแรง
สมบูรณ์เพียงพอที่จะทาหน้ าที่พ่อแม่ที่มีคณ
ุ ภาพทัง้ ในปัจจุบนั
และอนาคตหรือไม่ มีปัจจัยที่เป็ นความเสี่ยงของการมีสขุ ภาพ
กายและสุขภาพจิตที่ดีหรือไม่
การสมรส สัมพันธภาพของคู่สมรส สมาชิกครอบครัว และ
การดาเนินชีวิตในครอบครัว
ประเด็นที่ควรค้นหา: การคบหาและเหตุผลที่แต่ละฝ่ ายตัดสินใจเลือกใช้
ชีวิตร่วมกัน ประสบการณ์ ที่เผชิญร่วมกันมา ความพึงพอใจในชีวิตคู่
การปรับตัว/วิธีการแก้ปัญหาเมื่อมีความขัดแย้ง ต่างฝ่ ายชื่นชม/ไม่ชอบ
อะไรในกันและกัน บทบาทและการแบ่งหน้ าที่ความรับผิดชอบ ตาราง
ชีวิตประจาวันของครอบครัว แผนชีวิตครอบครัว/ความฝันความหวังที่มี
ร่วมกัน สัมพันธภาพระหว่างสามีภรรยาและสมาชิกอื่นในครอบครัว
เหตุผลของการแยกทางหย่าร้างในอดีต (ถ้ามี) เรียนรู้อะไรจาก
ประสบการณ์นัน้
เพื่อ: ประเมินสัมพันธภาพของสามีภรรยา สมาชิกครอบครัว ความมันคง
่
ของชีวิตสมรส และการสร้างครอบครัวร่วมกัน
การประกอบอาชีพในปัจจุบนั และสถานะทางเศรษฐกิจ
ประเด็นที่ควรประเมิน: ความพึงพอใจ ความมันคง
่ และโอกาส
ก้าวหน้ าในหน้ าที่การงาน/อาชีพที่ทาอยู่ในปัจจุบนั จานวน/
แหล่งที่มาของรายรับ รายจ่าย หลักทรัพย์ เงินออม การลงทุน การ
ประกันชีวิต/สุขภาพ หนี้ สิ้น โดยละเอียด (ควรพัฒนาแบบฟอร์มที่
แสดงรายละเอียดให้ผขู้ อฯ กรอก และมีหลักฐานประกอบแนบทุก
รายการ) แผนการจัดสรรการเงินในครอบครัว
เพื่อ: ประเมินความมันคงทางด้
่
านการประกอบอาชีพ และสถานะทาง
เศรษฐกิจว่าสามารถสนองตอบความต้องการด้านต่างๆ ของเด็กได้
อย่างรอบด้านทัง้ ในปัจจุบนั และอนาคตหรือไม่ อย่างไร
ประวัติอาชญากรรม และการทาร้ายทารุณกรรมเด็ก
ประเด็นที่ควรประเมิน (นอกเหนื อจากรายงานจากตารวจ): สัมภาษณ์ผู้
ขอฯ อย่างตรงไปตรงมาว่ามีประวัติเคยมีคดีความ เคยถูกจับกุม คุมขัง
ด้วยสาเหตุอะไร หรือไม่ เมื่อไหร่ ลงเอยอย่างไร ผูข้ อฯ เรียนรูอ้ ะไรจาก
ประสบการณ์ ดงั กล่าว ปัจจุบนั ผูข้ อฯ ยังคงข้องแวะหรือใช้ชีวิตเสี่ยงต่อ
การข้องแวะกับคดีที่เคยเกิดขึน้ หรือไม่ ในช่วงนี้ อาจเป็ นจังหวะที่ดีที่จะ
พูดคุยกับผูข้ อฯ เพื่อให้ทราบว่าผูข้ อฯ เคยตกเป็ นเหยื่อของความรุนแรง
ถูกทาร้ายล่วงละเมิดหรือไม่ด้วย
ข้อสังเกต: นักสังคมฯ ควรได้รบั ผลการสอบประวัติอาชญากรรมก่อนที่จะ
เสร็จสิ้นการประเมินสภาพครอบครัว เพื่อนาผลที่ได้รบั มาเป็ น
ข้อพิจารณาในการประเมินสภาพครอบครัวและให้ความเห็นเพิ่มเติม
ประสบการณ์ในการเลีย้ งดูเด็ก ความเชือ่ และหลักการทีใ่ ช้
ในการเลีย้ งดูเด็ก และแผนการเลีย้ งดูเด็ก
ประเด็นที่ควรประเมิน: มีประสบการณ์ในการเลี้ยงดูเด็กอย่างไร?
จากที่ผขู้ อฯ ได้รบั การเลี้ยงดูจากพ่อแม่มา ผูข้ อฯ ใช้/ไม่ใช้วิธีการใด
ที่พ่อแม่ใช้ ในการเลี้ยงดูลกู ๆ ของตนเอง วิธีการ discipline เด็กที่ผู้
ขอใช้หรือจะใช้ ในความเห็นของผูข้ อฯ การเป็ นพ่อแม่ที่ดคี วรเป็ น
เช่นไร แผนการเลี้ยงดูเด็กเมื่อมอบเด็กให้ทดลองเลี้ยงดู (ระยะเวลา
การลาหยุดงาน ตัวช่วย)
เพื่อ: ประเมินได้ว่าผูข้ อฯ มีความเข้าใจ ความเชื่อและหลักการที่ใช้ใน
การเลี้ยงดูเด็ก เหมาะสมหรือไม่ อย่างไร ความรู้ความเข้าใจด้านใด
ที่ผขู้ อฯ จาเป็ นต้องได้รบั เพิ่มเติม และมีการเตรียมพร้อมรับเด็กเข้า
มาอยู่ในครอบครัวอย่างไร
ที่อยู่อาศัยและชุมชน
ประเด็นที่ควรประเมิน: ความปลอดภัย ความสะอาด ความเป็ น
ระเบียบเรียบร้อย ความเป็ นสัดส่วน ระบบสาธารณูปโภค
อุปกรณ์ และพืน้ ที่ใช้สอยของบ้าน และบริเวณบ้าน ห้องและ
พืน้ ที่ใช้สอยที่ผขู้ อฯ เตรียมไว้สาหรับเด็ก
ลักษณะชุมชน ผูพ้ กั อาศัยในชุมชน ความปลอดภัย บริการ
สาธารณะในชุมชน (ถนน การเดินทาง/การคมนาคม
สถานพยาบาล โรงเรียน ตลาด/ร้านค้า ตลาด ฯลฯ)
เพื่อ: ประเมินได้ว่าบ้านและชุมชนเอื้อต่อการเจริญเติบโต
พัฒนาการ สุขภาพอนามัย และสุขภาวะด้านต่างๆ ของเด็ก
หรือไม่ อย่างไร
HOMESTUDY IS…….
•
•
•
•
•
An interview to GAIN NEEDED INFORMATION
A chance to ANSWER QUESTIONS
A time to EDUCATE
A time to DIALOGUE
A time to SUPPORT
ของแถม
• แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของผูข้ อรับเด็กเป็ นบุตร
บุญธรรม
• EXERCISE!