เศรษฐกิจไทย 1850

Download Report

Transcript เศรษฐกิจไทย 1850

เศรษฐกิจไทย 100 ปี หลังสนธิสัญญาเบาวริ่ง
ค.ศ. 1850 - 1950
(พ.ศ. 2393 - 2493)
EC460 Slide Set 1
1
เอกสารอ้างอิง

James Ingram: Economic Change in
Thailand during1850- 1970, Chs. 2-6
 ฉัตรทิพย์ นาถสุ ภา (2543),

ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจไทย
Chris Dixon: The Thai Economy: Uneven
Development and Internationalisation, Ch. 2
 นิรมล สุ ธรรมกิจ (2551), สั งคมกับเศรษฐกิจ กรณีศึกษาประเทศ
ไทย (2500 – 2545) บทที่ 5
EC460 Slide Set 1
2
ประเด็น
 สนธิสัญญาเบาวริ่งมีสาระสาคัญอย่ างไร และมีผลกระทบ
ต่ อเศรษฐกิจไทยอย่ างไร
 คนไทยได้ รับประโยชน์ จากการเปิ ดประเทศมากน้ อย
เพียงใด และบทบาทของคนต่ างชาติ (รวมถึงคนจีนอพยพ)
ในเศรษฐกิจไทยมีมากน้ อยเพียงใด
 Ingram เห็นว่ า “การเปลีย่ นแปลงของเศรษฐกิจไทยไม่
นาไปสู่ ความก้ าวหน้ าและการพัฒนาทางเศรษฐกิจมากนัก”
หมายความว่ าอะไร และเพราะเหตุใด
EC460 Slide Set 1
3
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
 สนธิสัญญาเบาวริ่ง (Bowring Treaty) มีผลสาคัญให้ ไทย
เริ่มเปิ ดประตูค้าขายกับต่ างชาติอย่ างเสรี
 สยามในปี 1850 (ร. 4) : เศรษฐกิจแบบเกษตร ข้ าวเป็ นพืช
หลัก นอกนั้นคือ อ้ อย ฝ้ าย พริกไทย ผลไม้ และผักต่ างๆ
 อุตสาหกรรมน้ อยมาก ส่ วนใหญ่ เป็ นสิ นค้ าหัตถกรรม
พืน้ บ้ าน
EC460 Slide Set 1
4
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
 พอเลีย้ งตนเองได้ ในด้ านอาหารและเครื่องนุ่งห่ ม
ไม้ สักและดีบุก: ผลิตโดยผู้ประกอบการชาวจีน
 สยามค้ าขายกับประเทศเพือ่ นบ้ านและจีน
 ส่ งออกสิ นค้ าขั้นปฐม (ข้ าว นา้ ตาล และแร่ ดบ
ี ุก) และ
นาเข้ าสิ นค้ าอุตสาหกรรม (สิ่ งทอ)

EC460 Slide Set 1
5
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
 การส่ งออกข้ าวผันผวนมาก เพราะนโยบายและปริมาณ
การผลิต
 การค้ าระหว่ างประเทศยังเป็ นส่ วนเล็กของเศรษฐกิจ
 ราชวงศ์ และขุนนางผูกขาดในการค้ าระหว่ างประเทศ และ
เก็บภาษีการค้ าในอัตราสู ง
 อานาจผูกขาดบางอย่ างขายให้ พ่อค้ าชาวจีน
EC460 Slide Set 1
6
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
 ร. 4 ยอมตกลงสนธิสัญญาเบาวริ่ง (Bowring) ในปี
1855
โดยหวังให้ องั กฤษคานอานาจฝรั่งเศส (ล่ าอาณานิคม)
 ลดภาษีการค้ าเหลือ 3%  การค้ าเสรี
 ยกเลิกผูกขาดการค้ า
 ค้ าฝิ่ นได้ ถูกต้ องตามกฎหมาย
EC460 Slide Set 1
7
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
สนธิสัญญาเบาวริ่ง (Bowring) ในปี 1855
 ประเทศทีไ่ ด้ รับการอนุเคราะห์ ยงิ่ Most-favored-nation
status (MFN)
 อังกฤษได้ สิทธิสภาพนอกอาณาเขต (extraterritoriality)
 ไทยยอมตกลงสนธิสัญญาคล้ ายกันกับประเทศตะวันตกอื่นๆ
ในเวลาต่ อมา

EC460 Slide Set 1
8
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
 การผลิตและส่ งออกข้ าวและสิ นค้ าอืน
่ ๆ (ดีบุก ยางพารา
และไม้ สัก) ขยายตัวอย่ างรวดเร็วมาก เมือ่ การค้ ากับ
ต่ างประเทศเสรีมากขึน้
 เริ่มเปลีย่ นสภาพจากการผลิตพอพึง่ ตนเอง (self
sufficiency) ไปสู่ การผลิตตามความถนัด (specialization)
ในสิ นค้ าน้ อยอย่ าง
EC460 Slide Set 1
9
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
 ข้ าวสาคัญเพิม
่ ขึน้ : 80% ของประชากรปลูกข้ าว และ มี
มูลค่ า 60% ของการส่ งออกทั้งหมด
 พืน
้ ทีป่ ลูกข้ าวขยายก่ อนในภาคกลาง และต่ อมาขยายไป
ในภาคเหนือและอีสาน (บทบาทของรถไฟและการเลิก
ทาส)
 การขุดคลองเพือ่ ชลประทานและขนส่ ง
EC460 Slide Set 1
10
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
 รัฐบาลยกเว้ นเก็บภาษีที่ดิน
 คนไทยพอใจที่จะทานา ยอมให้ คนจีนทาหน้ าที่
“พ่อค้ าคนกลาง”
 แรงงานในเกษตร : ประชากรขยายตัว และการเลิกทาส
 แรงงานนอกเกษตร : แรงงานจีนอพยพ
EC460 Slide Set 1
11
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
 สิ นค้ าส่ งออกอืน
่ ๆ : ดีบุก ไม้ สัก และยางพารา
 เกือบทุกขั้นตอนการผลิตและการค้ าอยู่ในมือของต่ างชาติ:
 ดีบุก : ทุนจากยุโรปและจีน + แรงงานจีน
 ไม้ สัก: โรงเลือ่ ยโดยทุนยุโรปและจีน + แรงงานจีน
 ยางพารา: ชาวสวนขนาดเล็กชาวไทยและจีน
+ พ่อค้ าจีน
EC460 Slide Set 1
12
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
สิ นค้ านาเข้ าสาคัญของไทยคือสิ่ งทอ และสิ นค้ า
อุตสาหกรรมอืน่ ๆ (เพือ่ การบริโภค)
 ไทยนาเข้ าสิ่ งทอตั้งแต่ สมัยอยุธยา
 สิ่ งทอ เครื่องนุ่งห่ มท้ องถิ่นทีท
่ าด้ วยมือ ถูกทดแทนโดย
สิ่ งทอนาเข้ าทีม่ รี าคาถูกกว่ า เมือ่ การค้ าเสรีมากขึน้

EC460 Slide Set 1
13
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
 อุตสาหกรรมสิ่ งทอ (ในครัวเรือน) ในประเทศ หดตัว
(แต่ ต่อมากลับฟื้ นหลังสงครามโลกที่ 2 และกาแพงภาษี
นาเข้ า กลายเป็ นอุตสาหกรรมแบบโรงงาน)
EC460 Slide Set 1
14
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
 ในยุคนั้น ยังไม่ มโี รงงานสิ่ งทอขนาดใหญ่ เพราะ
ภาษีขาเข้ าตา่ ตลาดภายในยังเล็ก ขาดเงินลงทุนและ
แรงงานมีฝีมือ
 แต่ ต่อมาก็เริ่มมีโรงงานทอผ้ าฝ้ ายไม่ กโี่ รง ลงทุนโดย
รัฐบาลและนักลงทุนชาวจีน
EC460 Slide Set 1
15
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
ส่ งออกนา้ ตาลเพิม่ ขึน้ หลังมีสนธิสัญญา แต่ ต่อมากลับ
ลดลงเพราะภาษีการผลิต และราคาตลาดโลกตกตา่
 ไทยกลับต้ องนาเข้ านา้ ตาลจากอินโดนีเซียและฟิ ลิปปิ นส์
ระหว่ างปี 1880 to 1950
 มีการผลิตนา้ ตาลจากโรงงานของรัฐบาลอยู่บ้าง แต่ในปี
1950 ยังไม่ มแี ววว่ าจะส่ งออกได้

EC460 Slide Set 1
16
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
สิ นค้ านาเข้ าอืน่ : “สิ นค้ าผู้บริโภค”, ทั้งที่ฟุ่มเฟื อยและ
จาเป็ น
 การนาเข้ าสิ นค้ าเริ่มมีสัดส่ วนสู งขึน
้
 มูลค่ านาเข้ าทั้งหมด = 10% ของ GNP ในปี 1950

EC460 Slide Set 1
17
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
 การค้ าต่ างประเทศมีลก
ั ษณะ “แบบอาณานิคม”
(“Colonial”) คือค้ าขายกับจักรวรรดิ์องั กฤษ (British
Empire)
 ส่ วนใหญ่ บริษท
ั ของประเทศตะวันตกเป็ นผู้ดาเนินการค้ า
และขนส่ งระหว่ างประเทศ
EC460 Slide Set 1
18
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
 สาขาอุตสาหกรรมยังเล็กมาก: ในปี
1919 (พ.ศ. 2462)
กรุงเทพฯ มี “โรงงาน” 7 แห่ ง (ซีเมนต์ สบู่ บุหรี่)
 กลุ่มอุตสาหกรรมสาคัญ : โรงสี และโรงเลือ
่ย
EC460 Slide Set 1
19
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
 ทาไมอุตสาหกรรมยังเล็กมาก?
 ขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ ทุน ผู้ประกอบการ
และแรงงานมีฝีมือ
 ภาษีนาเข้ าตา่ ปกป้องอุตสาหกรรมในประเทศไม่ ได้
 ตลาดในประเทศยังเล็ก
 ขาดแคลนไฟฟ้า (อาศัยแกลบเป็ นเชื้อเพลิง)
EC460 Slide Set 1
20
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
 โรงงานอุตสาหกรรมของเอกชน : ซีเมนต์ ใบยาสู บ
ไม้ ขดี ไฟ สบู่ เบียร์ ฯ
 ชาวจีนเป็ นเจ้ าของอยู่หลายแห่ ง
 รัฐบาลตั้งโรงงานเอง: กระดาษ ทอผ้ า นา้ ตาล บุหรี่
EC460 Slide Set 1
21
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
 ใน 1952 (พ.ศ. 2495) รัฐบาลวางแผนจะตั้งอีก 20 โรงงาน
 จอมพล ป. พิบูลสงคราม มุ่งลดอิทธิพลของชาวจีนและ
ต่ างชาติอนื่ ๆ – “ลัทธิชาตินิยม” (“สยาม” เป็ น “ไทย”)
 โรงงานของรัฐส่ วนใหญ่ ไม่ ประสบผลสาเร็จ : คอรัปชั่ น
การบริหารผิดพลาด ขาดทุน
EC460 Slide Set 1
22
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
 บทบาทของชาวจีนในไทย สาคัญในการค้ าและสาขานอก
เกษตรอืน่ ๆ
 ในทศวรรษ 1930’s : 80% ของการค้ าในประเทศอยู่ในมือ
ของพ่อค้ าจีน
 การร่ วมมือกัน (ฮั้วกัน) ระหว่ างพ่ อค้ าจีน เป็ นอุปสรรคต่ อ
การแข่ งขันจากคนภายนอกวงการ
EC460 Slide Set 1
23
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
 ระหว่ างปี
1820-1950: คนจีน 4 ล้ านคนอพยพมาไทย
 เป็ นกาลังแรงงานสาคัญในกิจการนอกเกษตร
 ระหว่ างปี 1938-1941 (ระหว่ าง WW2) : จอมพล ป. เริ่ม
ใช้ มาตรการต่ อต้ านชาวจีนในไทย (ปิ ดโรงเรียนภาษาจีน
ฯลฯ)
EC460 Slide Set 1
24
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
 การผสมผสานกลมกลืนของชาวจีนให้ เป็ นส่ วนหนึ่งของ
สั งคมไทย : วัฒนธรรม ศาสนา ประเพณี และเศรษฐกิจ
 จีนในไทยกลมกลืนเข้ ากับสั งคมท้ องถิ่นได้ ดท
ี สี่ ุ ด เทียบ
กับจีนในประเทศอืน่ ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
 ในปี 1950: ไทยมีเชื้อสายจีนอยู่ 3 ล้ านคน (15% ของ
ประชากร 20 ล้ านคน)
EC460 Slide Set 1
25
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
Ingram สรุปว่ า ในช่ วงปี 1850 – 1950
 เศรษฐกิจไทยเปลีย่ นแปลงมาก (“changes”) แต่ ไม่ มี
ความก้ าวหน้ า (“progress”) และการพัฒนา
(“development”) มากนัก
EC460 Slide Set 1
26
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
Ingram สรุปว่ า ในช่ วงปี 1850 – 1950
 การเปลีย่ นแปลง (“changes”): ใช้ เงิน (money) มากขึน
้
ผลิตตามถนัดมากขึน้ การแบ่ งงานกันทาตามเชื้อชาติมาก
ขึน้ (racial division of labor) และอัตราการขยายตัวของ
ประชากรสู งขึน้
EC460 Slide Set 1
27
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
Ingram สรุปว่ า ในช่ วงปี 1850 – 1950
 ความก้ าวหน้ า (“progress”) ยังไม่ มาก:
การเพิม่ รายได้ ต่อหัว
 การพัฒนา (“development”) ยังไม่ มากนัก:
การใช้ สินค้ าทุน (เทียบกับแรงงาน)
และเทคนิคการผลิตใหม่ ๆ
EC460 Slide Set 1
28
เศรษฐกิจไทย 1850 - 1950
Ingram สรุปว่ า ในช่ วงปี 1850 – 1950
 คน “ไทย” ได้ รับประโยชน์ ไม่ มาก เทียบกับชาวต่ างชาติ
และชาวจีน
 คนไทยส่ วนใหญ่ เป็ นเกษตรกร ต่ างชาติเป็ นพ่ อค้ า นายทุน
และเจ้ าของโรงงาน
EC460 Slide Set 1
29