Transcript MAIN BANK

MAIN BANK
The Myth of The Japanese Main Bank
Main Bank
Main Bank คือ
 ผลของการมี Main Bank
 Main Bank ในญี่ปุ่น
 บทบาทของภาครัฐต่อ Main Bank
 บทบาทของ Main Bank
 การติดตามตรวจสอบโดย Main Bank
 แนวโน้มที่จะแต่งตั้ง Bankers

Main Bank

ลักษณะส่วนใหญ่ของกิจการในญี่ปุ่น
 การเปลี่ยนแปลง Bankers ในผ่ายบริหาร
 ความช่วยเหลือจาก Main Bank
 ความเสถียรภาพของ Main Bank
 การแต่งตั้งนายธนาคาร
 ทฤษฎี Relationship-Banking
Main Bank คือ

ธนาคารหลักที่เป็ นทั้งผูใ้ ห้สินเชื่อ(เจ้าหนี้ ) และผูถ้ ือหุน้
(เจ้าของ) ซึ่งมีอานาจกาหนดนโยบาย และกาหนดทิศทาง
ของกิจการในเครือในเวลาเดียวกัน
 ธนาคารหลักมุง
่ เน้นไปที่การให้กยู ้ มื เงิน และบริการด้าน
ประมวลผลข้อมูล และตรวจสอบผูก้ ู ้
ผลของการมี Main Bank
1. เกิดอานาจการต่อรองกับกิจการที่กยู ้ มื เงินไป เพื่อป้องกัน
ความเสี่ยงของตน โดยมีอานาจผูกขาดจากการถือหุน้ ใน
สัดส่วนที่สงู ในกิจการ
 2. Bank ใช้อานาจการผูกขาดในการคิดดอกเบี้ ยเงินกูก
้ บั
กิจการสูงกว่าอัตราดอกเบี้ ยในตลาด
 3. ในระยะยาว ธนาคารหลักกับกิจการจะมีความสัมพันธ์กน
ั
อย่างใกล้ชิด สามารถลดแรงจูงใจของกิจการใหม่ๆ ที่จะ
เกิดขึ้ นได้

Main Bank ในญี่ปุ่น
BANK
Main Bank
FIRM
Main Bank ในญี่ปุ่น

การทางานของ Main Bank
1.ใช้ขอ้ มูลในการตรวจสอบ และควบคุมกิจการ
2.เป็ นเหมือนตัวแทนในการตรวจสอบแทนเจ้าหนี้ อื่นๆ
3.จะช่วยเหลือลูกหนี้ ของตน โดยแยกลูกหนี้ เป็ นกิจการ ที่มี
ปั ญหาสภาพคล่อง และกิจการที่มีแนวโน้มล้มละลาย
เกิด Depression ปี 1990
สาเหตุมาจากการ Deregulation ในปี 1980
 Deregulation คือ กระบวนการยกเลิกกฎระเบียบหรือ
ข้อบังคับต่างๆ ทั้งที่เป็ นกฎหมายและมิใช่กฎหมายโดยตรง
ของรัฐ เพื่อการปล่อยเสรีแก่เอกชนให้ดาเนิ นกิจการต่างๆ ได้
อย่างคล่องตัว และทาให้เกิดการแข่งขัน การดาเนิ นการอย่าง
มีประสิทธิภาพมากขึ้ น

ผลจากการ Deregulation

กิจการหันมาระดมทุนในตลาดทุนมากขึ้ น ลดการพึ่งพา
Main Bank
 กิจการลงทุนในโครงการที่มีความเสี่ยง จนเกิดหนี้ เสียระบบ
เพราะกิจการไม่สามารถนาเงินมาใช้หนี้ คืนได้ ตลอดจน
กลายเป็ นปั ญหาเศรษฐกิจฟองสบู่ตามมา และประสบปั ญหา
รุนแรงในช่วงปี 1990
 เกิดการแข่งขันทางการเงินสูง ทาให้ความสัมพันธ์ระหว่าง
Main Bank และ กิจการแย่ลง
บทบาทของภาครัฐต่อ Main Bank
รัฐบาลสนับสนุ นความสัมพันธ์แบบ Main Bank โดยตั้ง
ข้อจากัดในการแข่งขันในตลาดเงิน
 แต่ในปี 1980 รัฐบาลลดหย่อนข้อบังคับใน Bond
Market ทาให้กิจการละทิ้ ง Main Bank ของตนเอง

บทบาทของ Main Bank
ถ้า Main Bank มีความประสงค์จะควบคุมการทางานของ
กิจการ ผ่านการส่งตัวแทนของ Main Bank มาเป็ น
คณะกรรมการในกิจการนั้นๆ
 ถ้าผูก
้ ยู ้ มื รอง (Bank อื่นๆ) ให้ Main Bank เป็ นตัวแทน
ในการตรวจสอบ คนที่ส่งเข้ามาเป็ นคณะกรรมการในกิจการก็
ควรจะเป็ นคนของ Main Bank

บทบาทของ Main Bank

ถ้า Main Bank ตกลงอย่างลับๆ ว่าจะช่วยกิจการที่มี
ปั ญหาทางการเงิน ดังนั้นหากกิจการมีผลประกอบการที่แย่
ลงอาจนาไปสู่
1.กิจการจะเปลี่ยน Main Bank ของตัวเองลดลง
2.สัดส่วนการกูย้ มื เงินจาก Main Bank มีแนวโน้ม
สูงขึ้ น
บทบาทของ Main Bank

การเกิด Deregulation ทาให้ลดบทบาทด้านการ
ตรวจสอบของ Main Bank ดังนั้นกิจการที่เป็ นอิสระจาก
การเป็ นหนี้ ของ Bank จึงเติบโตอย่างรวดเร็วในช่วงปี
1980 และกิจการที่เติบโตอย่างรวดเร็วเหล่านี้ ก็ขาดทุน
อย่างรุนแรงในปี 1990
การติดตามตรวจสอบโดย Main Bank
จาการสารวจในช่วง 1980 ,1985,1990 และ1995
พบว่า 92-96% ของกิจการไม่มีคนของ Main Bank
อยูใ่ นคณะกรรมการของกิจการ
 53-56% ของกิจการมีคนของ Bank ที่เกษี ยณแล้วอยูใ่ น
คณะกรรมการของกิจการ
 38-40% เป็ นคนของ Main Bank ที่เกษี ยณแล้วอยูใ่ น
คณะกรรมการของกิจการ

การติดตามตรวจสอบโดย Main Bank
แนวโน้มที่จะแต่งตั้ง Bankers
1.ผลตอบแทนจากหุน้ ของกิจการตา่
 2.ถ้ากิจการมีการขาดทุนกาไรก่อนภาษี
* แต่ในความจริงแล้ว ผูถ้ ือหุน้ ที่มีเหตุผลจะไม่เปลี่ยนโครงสร้างการ
บริหารเลยทันทีเมื่อเกิดเหตุการณ์ราคาหุน้ ตก แต่จะพยายามทา
ให้ผลประโยชน์ของผูบ้ ริหารเป็ นไปในทิศทางเดียวกันกับ
ประโยชน์ของผูถ้ ือหุน้ เพื่อหลีกเลี่ยงปั ญหา Agency
Problem

ลักษณะส่วนใหญ่ของกิจการในญี่ปุ่น

ภายในกิจการจะมีขอ้ มูลที่เชื่อถือได้เกี่ยวกับความพยายาม
และความสามารถของผูบ้ ริหาร
 กิจการจะเลือกผูบ
้ ริหารส่วนใหญ่ผ่านการแข่งขันจากภายใน
มากกว่าการรับสมัครจากภายนอก เพราะการมีขอ้ มูล
เกี่ยวกับความสามารถ และนิ สยั การทางานของผูบ้ ริหารเป็ น
ส่วนสาคัญอย่างมากในการเลือก
การเปลี่ยนแปลง Bankers ในฝ่ ายบริหาร
การเปลี่ยนแปลง Bankers ในฝ่ ายบริหาร

ในอุตสาหกรรมหนักพบว่า การเปลี่ยนแปลงคนในฝ่ าย
บริหารมีอตั ราการหมุนเวียนของคนที่เข้ามาสูง แต่ไม่มีการ
แต่งตั้ง Bankers เข้ามาเพิ่ม เช่นอุตสาหกรรมต่อเรือ
ความช่วยเหลือจาก Main Bank
Main Bank ตกลงจะให้ความช่วยเหลือกับกิจการที่มี
ความสัมพันธ์กบั ตนเอง ในขณะที่ Bank อื่นๆ ปฏิเสธที่จะ
ให้กยู ้ มื (ให้ความช่วยเหลือ)
 มีความเป็ นไปได้วา
่ Main Bank ต้องเข้าไปช่วยเหลือ
กิจการเพื่อต้องรักษาความสัมพันธ์ในระยะยาวกับกิจการ

ความช่วยเหลือจาก Main Bank
สมมติวา่ Main bank ให้นโยบายการประกันการเงิน
หรือปั ญหาอย่างรุนแรงทางทางเศรษฐกิจ กิจการส่วนใหญ่มี
แนวโน้มอย่างมากที่จะ “รวบรวม" วิถีทางที่จะเป็ นผูท้ ี่ใกล้ชิด
กับการล้มละลาย
 ถ้าเป็ นเช่นนั้ นโดยเฉลี่ยกิจการที่เกือบล้มละลาย ควรจะยืม
เงินที่ให้กจู ้ าก Main Bank
 ในความเป็ นจริง กิจการที่ทากาไรได้น้อยไม่ได้ยืมจาก
ธนาคารผูน้ ากิจการของตน

เสถียรภาพของ Main Bank

ถ้าธนาคารหลักให้นโยบายการประกันการประสบปั ญหาอย่าง
รุนแรงทางการเงินแล้ว
 กิจการที่ประสบปั ญหามีการจ่ายเบี้ ยประกันให้กบ
ั Main Bank
ของตนเองในทุกๆปี
 กิจการที่มีความเป็ นไปได้วา
่ ล้มละลายควรจะมีความสัมพันธ์ที่
มัน่ คงที่สุดกับ Main Bank ของพวกเขา
 หลังจากนั้ นคนที่อยูใ่ นช่วงวัยสุขภาพดี 35 ปี อาจสลับประกันชีวต
ิ
ไปกิจการอื่น แต่ช่วงวัยบั้นปลายชีวติ นั้นจะไม่เปลี่ยน
ข้อสรุป

ทฤษฎีอาจจะอธิบายรูปแบบการจัดหาเงินทุนบางส่วนของ
กิจการญี่ปุ่นที่มีขนาดเล็ก เช่นเดียวกันอาจจะอธิบายบาง
กิจการที่มีการเงินขนาดเล็กในฝัง่ ตะวันตกได้ อย่างไรก็ตามก็
ยังไม่ใช่วธิ ีที่นักวิชาการนาไปใช้กบั ประเทศญี่ปุ่นพวกเขากลับ
ใช้มนั ผ่านเรื่องเล่าของ กิจการขนาดใหญ่ที่ใช้
“ Main Bank System ”
โชคร้ายของนักวิชาการ


แต่โชคร้ายสาหรับนักทฤษฎีความสัมพันธ์ของธนาคารที่วา่ "ระบบ" ไม่มีอยูจ่ ริง
และอย่างน้อยนาไปใช้กบั ญี่ปุ่นผ่านแนวคิดของว่า “Main Bank System"
ทฤษฎีความสัมพันธ์ของธนาคารไม่ได้อธิบายถึง
 การเพิ่มขึ้ นของราคาสินทรัพย์ญี่ปุ่นในปี 1980
 ภาวะเศรษฐกิจถดถอยปี 1990 หรือ
 ไม่ได้ปรากฏในการแทรกแซงใด ๆ ผ่านทางคณะกรรมการ หรือไม่ได้จบ
ั กุม
คณะผูแ้ ทนของการตรวจสอบการปฏิบตั ิหน้าที่ของธนาคาร
 ไม่ได้สะท้อนใด ๆ ในสัญญาที่บอกเป็ นนัยว่าจะช่วยเหลือผูก
้ ูย้ มื ที่ลาบาก
โชคร้ายของนักวิชาการ

นิ ทาน ความเท็จ : โดยส่วนรวมของนักวิชาการเรื่องนี่ จะพูด
ยา้ เพราะพวกเขาอยากให้มนั เป็ นจริงขึ้ นมา พวกเขาต้องการ
มันเป็ นความจริงเพราะวิธีที่จะแสดงให้เห็นหรือทาให้เข้าใจถึง
เศรษฐศาสตร์ของข้อมูลและสิ่งที่เกี่ยวข้องสาหรับทฤษฎีการ
ธนาคารที่ทนั สมัยและ การเปรียบเทียบทางกฎหมายและ
ทฤษฎีเศรษฐกิจการเมืองมากกว่าปกติ
At root

รากฐาน ทฤษฎี “Main Bank System" ของญี่ปุ่น
เป็ นทฤษฎีปราศจากข้อเท็จจริง ที่รากฐาน แหล่งที่มา
การชี้ แจงอย่างใจบุญ เอื้ อเฟื อเผื่อแผ่ของระบบนั้นไม่มีอยูจ่ ริง
และไม่เคยเป็ น ไม่เคยทาสาเร็จ คิดว่ามันเป็ นตานานเมือง
การแต่งตั้งนายธนาคาร

ญี่ปุ่นบางครั้งแต่งตั้งนายธนาคารเกษียณของพวกเขาให้เป็ นบอร์ด
บริหาร
 แต่ส่วนใหญ่ไม่มีใครแต่งตั้งกับงานธนาคารพร้อมกัน ครึ่งหนึ่ งไม่มี
นายธนาคาร ส่วนน้อยก็มีมากกว่าหนึ่ งหรือสองและผูท้ ี่อยูใ่ น
อุตสาหกรรมบริการทางการเงินมีแนวโน้มที่จะแต่งตั้งตนเอง
มากกว่าบริษัทอื่นๆ
 ธนาคารหลายแห่งบางครั้งอาจจะผลัดกันตรวจสอบลูกหนี้ ร่วมกัน
แต่ถา้ พวกเขาทา จะไม่มีร่องรอยปรากฏในรูปแบบที่ได้รบั การ
แต่งตั้งเป็ นคณะกรรมการ
การแต่งตั้งนายธนาคาร

ธนาคารญี่ปุ่นหลายแห่งบางครั้งก็จะช่วยกิจการที่ทุกข์ยาก
หรือเป็ นภาวะให้หลุดพ้นจากภาวะยากลาบากหรือประกัน
ออกไป
 ธนาคารญี่ปุ่นในช่วงปี 1980 อาจจะมีการใช้จา
่ ยทรัพยากร
น้อยลงตรวจสอบผูก้ ผู ้ ทู้ ี่หนั ไปหาตลาดพันธบัตร ถึงอย่างนั้น
พวกที่หนั ไปหาตลาดพันธบัตรก็ไม่ใช่กิจการที่ลม้ เหลว
ทฤษฎี Relationship-Banking

อาจจะอธิบายถึงความหลากหลายของรูปแบบการจัดหา
เงินทุน
 ในหมูก
่ ิจการขนาดเล็กของญี่ปุ่นในพื้ นที่โดดเดี่ยวอาจอธิบาย
ได้ถึงความหลากหลายของรูปแบบระหว่างกิจการเล็กๆ
ในแถบภูมิภาคตะวันตก
 แต่ดว
้ ยความสนใจที่มีต่อ "อานาจผูกขาด" ธนาคารที่มี
ความสัมพันธ์จึงได้เข้ามาถือสิทธิ์ผ่านการลงทุนในข้อมูล
เฉพาะของกิจการ
ทฤษฎี Relationship-Banking
เป็ นทฤษฎีของเงินทุนขนาดเล็ก Small Firm ในตลาด
การเงินที่ไม่มีการแข่งขัน
 นั กวิชาการพยายามที่จะใช้ทฤษฎีกบ
ั ประเทศญี่ปุ่น
นักวิชาการให้ความสาคัญอย่างมากกับกิจการที่จดทะเบียน
ในการแลกเปลี่ยนและความสัมพันธ์ของตานาน
“Main Bank”ของพวกเขา
 ในผลที่ได้ พวกเขาได้นาทฤษฎีที่วา
่ มาใช้กบั ปรากฏการณ์ที่
ไม่มีอยูจ่ ริง

สรุปสั้นๆ เพื่อความเข้าใจ
 “Main
Bank System” เกิดขึ้ นจากนโยบายการแบ่งแยกระดมเงิน
ออมในช่วงทศวรรษ 1950 ทาให้ธนาคารพาณิชย์เป็ นสถาบัน
การเงินที่สาคัญในการนาเงินออมจากภาคครัวเรือนมาสู่นักลงทุน
ในภาคอุตสาหกรรม ในขณะที่มีขอ้ ห้ามหรือกฎเกณฑ์ที่เข้มงวดทา
ให้ตลาดตราสารหนี้ (ระยะยาว) ตลาดทุน และการกูย้ มื จาก
ต่างประเทศทาได้ยากลาบาก ธนาคารพาณิชย์จึงเป็ นแหล่งเงินทุน
ที่สาคัญของระบบเศรษฐกิจญี่ปุ่นในช่วงนี้
 ความสัมพันธ์จะเป็ นไปในลักษณะความสัมพันธ์ระยะยาวที่ ถอ
้ ยที
ถ้อยอาศัยกันมากกว่า ในลักษณะของลูกค้ากับธนาคารโดยทัว่ ไป
สรุปสั้นๆ เพื่อความเข้าใจ
 เมื่อมีการยกเลิกการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศในช่วงต้น
ทศวรรษที่ 1960 กิจการต่างเกรงกลัวการถูกฮุ บกิจการ(hostile
takeover)จากเงินทุนต่างประเทศ การถือหุน้ ไขว้(cross shareholdings)
ระหว่างกิจการหรือระหว่างลูกค้ากับธนาคารที่ให้กจู ้ ึงได้รบั ความนิ ยม
 ผลจากการถือหุน
้ ไขว้ดงั กล่าวทาให้เกิดข้อเสีย 2 ประการที่สาคัญคือ
 มีผลประโยชน์ทบ
ั ซ้อนซึ่งนามาซึ่งการเสียควบคุมลูกหนี้ (monitoring
function)
 การจ่ายเงินปั นผลตา่ กว่าที่ควรจะเป็ นเพราะไม่มีจุดประสงค์ตอ้ งการ
ดึงดูดคนนอกมาถือหุน้ ร่วม