การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น

Download Report

Transcript การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น

การศึกษาประวัตศิ าสตร์ ท้องถิ่น
ดร.เลิศชาย ศิริชัย
สานักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ทาไมต้ องศึกษาประวัตศิ าสตร์ ท้องถิ่น
ปั จจุบัน
อิทธิพลยุคโลกาภิวัตน์
ปั จจุบัน
โลกไร้ พรมแดน
การครอบงาทางวัฒนธรรม
การแย่ งชิงทรั พยากร
ปั จจุบัน
ปั จจุบัน
อดีต
ข้ อสรุ ปเบือ้ งต้ น
1. อดีตคือขุมทรัพย์ ของคนในปั จจุบันที่จะช่ วยให้ ก้าวไป
ข้ างหน้ าอย่ างมั่นคงและเป็ นตัวของตัวเอง
2. ผู้คนในสังคมมีความแตกต่ างหลากหลาย ที่สาคัญคือ
ความแตกต่ างหลากหลายทางวัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร์ จะช่ วยให้
คนแต่ ละกลุ่มสามารถเลือกเดินไปข้ างหน้ าได้ อย่ างเป็ นตัวของ
ตัวเอง
3. ที่ผ่านมาประวัตศิ าสตร์ ท้องถิ่นถูกทาให้ หายไป ทาให้
ตัวตนของคนแต่ ละกลุ่มวัฒนธรรมอ่ อนแอและหมดความหมาย
ชุมชนจึงถูกครอบงาจากการพัฒนา ตลาด และกระแสโลกาภิวัตน์
4. การวิจัยประวัตศิ าสตร์ ท้องถิ่นก็คือกระบวนการรือ้ ฟื ้ น
ประวัตศิ าสตร์ ท้องถิ่นหรือประวัตศิ าสตร์ ชุมชน
5. การรือ้ ฟื ้ นประวัตศิ าสตร์ ชุมชนคือการทาให้ “ความทรง
จาส่ วนบุคคล” เชื่อมต่ อกันเป็ น “ความทรงจาร่ วม”กันของกลุ่ม
ชาวบ้ าน
6. ประวัตศิ าสตร์ ท้องถิ่นคือความทรงจาร่ วมกันของคนใน
ท้ องถิ่น ประวัตศิ าสตร์ ชุมชนคือความทรงจาร่ วมกันของคนใน
ชุมชน
7. ความทรงจาร่ วม เช่ น คนในชุมชนมีความทรงจา
ร่ วมกันว่ าเขาจะใช้ หนองนา้ ของชุมชนร่ วมกันอย่ างไร เขาจะได้
แรงงานมาช่ วยเหลือในการเกี่ยวข้ าวอย่ างไร เขามีความเชื่ออะไร
ร่ วมกันบ้ าง
8. ไม่ มีสังคมมนุษย์ ใดที่ไม่ มีจนิ ตนาการของอดีต
จินตนาการของอดีตถูกสร้ างให้ เป็ นความทรงจาร่ วมกันของ
สังคมมนุษย์ ในทุกระดับ เพื่อใช้ เป็ นพืน้ ฐานของการอยู่
ร่ วมกัน และสร้ างสิ่งต่ างๆ อันจะทาไปสู่สังคมที่วาดหวัง
ไว้
ศึกษาประวัตศิ าสตร์ ท้องถิ่นศึกษาอะไร
1.ศึกษาความสัมพันธ์ ของคนในแง่ มุมต่ างๆ
2.ศึกษาอย่ างมีมิตเิ วลา คือศึกษาความสัมพันธ์ ใน
ลักษณะที่มีการเปลี่ยนแปลง
3.ศึกษาอย่ างมีเงื่อนไข คือศึกษาว่ าการเปลี่ยนแปลง
เกิดจากเงื่อนไขอะไร
การศึกษาความสัมพันธ์
1. การที่คนมารวมกันเป็ นสังคมได้ ก็เพราะคนมีความ
ทรงจาร่ วมกันว่ าจะมีความสัมพันธ์ กันในเรื่องต่ างๆอย่ างไร
ประวัตศิ าสตร์ จงึ เป็ นเรื่องการศึกษาความสัมพันธ์ ในมิตติ ่ างๆ
ที่คนมีต่อกัน
2. ความสัมพันธ์ เป็ นสิ่งที่เป็ นนามธรรมไม่ สามารถ
มองเห็นด้ วยตาเปล่ า หากเราไม่ มีแนวทางศึกษาที่ดีพอเราจะ
อธิบายไม่ ได้ และไปติดอธิบายเพียงข้ อมูลเชิงเทคนิควิธี หรือ
ภาพปรากฏที่เห็นด้ วยตาเปล่ า
กรรมวิธีการไถนา การดานา
การเกี่ยวข้ าว พันธุ์ข้าวที่ใช้
การใช้ แรงงาน การถือครอง
ที่ดนิ การกู้ยืม การเลือกใช้
พันธุ์ข้าว การเก็บข้ าวไว้
บริโภค การขายข้ าว
ขัน้ ตอนการรักษาโรค สรรพคุณ เหตุผลการเป็ นหมอ เหตุผล
การยกครู กระบวนการรักษา
สมุนไพร
การจ่ ายค่ ารักษา การเยี่ยม
ผู้ป่วยของเพื่อนบ้ าน
เล่ าถึงลักษณะคลอง ชนิด
ของเรือ ลักษณะการพาย
เรือ ลักษณะคลื่นลมใน
คลองตามฤดูกาล
เป้าหมายในการใช้ คลองเป็ นเส้ นทาง
เดินทาง การใช้ แรงงานในการพายเรือ
การใช้ เรือบรรทุกสินค้ า การขุดคลอง
การรักษาคลอง
ประวัตบิ ุคคลตัง้ แต่ เกิดจน
ตาย
บุคคลที่กล่ าวถึงเกิดมาในตระกูลที่มีฐานะ
อย่ างไร ถูกเลีย้ งดูมาอย่ างไร มองคนอื่นๆ
อย่ างไร มองเห็นความไม่ ยุตธิ รรมทาง
สังคมอย่ างไร นาไปสู่การเกิดความคิด
และพฤติกรรมอย่ างไร ได้ ทาประโยชน์ ต่อ
คนในชุมชนอย่ างไร คนชุมชนมองบุคคล
ดังกล่ าวอย่ างไร
ลักษณะนกกรงหัวจุก วิธีเลีย้ งนกกรง
หัวจุก เสียงนกกรงหัวจุก หลักการ
ประกวดนกกรงหัวจุก
ทาไมจึงเลีย้ งนกกรงหัวจุก มีใครเข้ ามา
เกี่ยวข้ องบ้ างในการเลีย้ งนกกรงหัวจุก
การแข่ งขันนกกรงหัวจุกเกิดขึน้ ได้
อย่ างไร มีใครทาอะไรบ้ างในวันแข่ งขัน
ใครได้ ประโยชน์ อะไรบ้ างในการแข่ งขัน
การขายนก
ลักษณะตลาด สินค้ าที่มีขายใน
ตลาด เส้ นทางสาหรั บเดินทางไป
ตลาด ราคาสินค้ าในตลาด
ที่มาของสินค้ า ใครคือแม่ ค้า ลูกค้ ามา
จากไหน ลักษณะการซือ้ ขายสินค้ า
การเก็บค่ าตลาด
ป่ าสาคูมีพืชและสัตว์ ชนิดใดบ้ าง
ประโยชน์ ของต้ นสาคู กรรมวิธี
การทาแป้งสาคู การทาขนมจาก
แป้งสาคู
ป่ าสาคูเป็ นของใคร จะเข้ าไปจับสัตว์ นา้
ในคลองป่ าสาคูได้ อย่ างไร ใครแต่ งสาง
คลองป่ าสาคู จะเข้ าไปใช้ ประโยชน์ ป่า
สาคูท่ ไี ม่ ใช่ ของเราได้ อย่ างไร
การศึกษาความเปลี่ยนแปลง
1. เหตุการณ์ ในสังคมไม่ ว่าจะในมิตใิ ดมีการเปลี่ยนแปลงอยู่
เสมอ และไม่ มีการย้ อนกลับไปเป็ นแบบเดิม
2. การเปลี่ยนแปลงทางประวัตศิ าสตร์ ไม่ ใช่ การเปลี่ยนแปลง
เรื่องเล็กๆ แต่ เป็ นการเปลี่ยนแปลงที่ถือว่ าเป็ นประเด็นของสังคม
เช่ น การเปลี่ยนจากการใช้ แรงงานวัวควายในการไถนามาเป็ น
รถแทร็กเตอร์ การเปลี่ยนจากการสัญจรทางนา้ ไปสู่การสัญจรทาง
บก การเปลี่ยนจากการรักษาโรคกับหมอพืน้ บ้ านไปสู่การรั กษากับ
หมอสมัยใหม่
3. การสนใจการเปลี่ยนแปลงทางประวัตศิ าสตร์ ในเรื่องใด
เรื่องหนึ่งจึงเป็ นความพยายามที่จะค้ นหาการเปลี่ยนแปลงที่เป็ น
สาระของเรื่องนัน้
4. ดังนัน้ การสนใจการเปลี่ยนแปลงทางประวัตศิ าสตร์ จงึ
สนใจการเปลี่ยนแปลงที่เป็ นช่ วงเวลา หรือเป็ นยุค
(Periodization)
การเปลี่ยนแปลงการใช้ ท่ ดี นิ ในการผลิตของชุมชนบ้ านป่ าพรุ
1.
2.
3.
4.
ยุคเลีย้ งควาย-หักนา
ยุคชุมชนชาวนา
ยุคสวนมา-นารัง้
ยุคพืชเศรษฐกิจ-ขายแรงงาน
นกกรงหัวจุกกับชาวควนรุ ย : จากกรงแขวนชายคาถึงลานแข่ งเสียง
1. นกกรงหัวจุกยุคกรงแขวนชายคา
2. นกกรงหัวจุกยุคลานแข่ งเสียง
การศึกษาเงื่อนไขที่ก่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลง
1. การเกิดขึน้ ดารงอยู่ และเปลี่ยนแปลง ของปรากฏการณ์
บริบท
เงื่อนไข
ปรากฏการณ์
การขยายตัวของตลาด เกิดโรงสีและพ่ อค้ า ชาวนาเปลี่ยนจากการ
การค้ าข้ าวในต่ าง
รับซือ้ ข้ าวในท้ องถิ่น ทานาเพื่อบริ โภคมาสู่การ
ประเทศ
แผนพัฒนาฯเน้ น
สนับสนุนการทานา
เชิงพาณิชย์
ทางราชการสนับสนุน ทานาเพื่อขาย
การทานาแบบใหม่
เกิดพ่ อค้ าขายปั จจัย
การผลิตสมัยใหม่
เงื่อนไข
ชาวบ้ านมีภารกิจการทางาน
หาเงิน คนในชุมชนออกไปอยู่
นอกชุมชนมากขึน้
เกิดการขายที่ดนิ ในนาและนา
ถูกขุดเป็ นบ่ อขนาดใหญ่ (เกิด
อุปสรรคการเดินทางไปวัด
ปรากฏการณ์
คนสนใจร่ วมประเพณีเดือนสาม
หลามเหนียวน้ อยลง และความหมาย
ของประเพณีเปลี่ยนไป
2. การศึกษาเงื่อนไขการเปลี่ยนแปลง คือการศึกษาว่ า
การเปลี่ยนแปลงที่เป็ นสาระของปรากฏการณ์ ทางสังคมที่เรา
สนใจนัน้ มีเงื่อนไขอะไรทาให้ เกิด หรือเกิดจากเงื่อนไขอะไร