ประเด็นสำคัญใน IHR 2005

Download Report

Transcript ประเด็นสำคัญใน IHR 2005

IHR
2005 กับ
งานระบาดวิทยา
ศูนย์ประสานกฎอนาม ัยระหว่างประเทศ
สาน ักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
กระทรวงสาธารณสุข
กฎอนามัยระหว่างประเทศ คือ
• กฎเฝ้ าระวังโรคระหว่างประเทศ (International
surveillance system)
• กฎในการตอบโต้ภยั คุกคามระหว่างประเทศ
(International rules on response to international threats)
• กฎของมาตรการประจาเพื่อลดความเสี่ยงจากการแพร่
ระบาดของโรคระหว่างประเทศ (International rules on
routine measures against international disease spread)
• กฎปฏิบตั งิ านร่วมกันของ WHO และประเทศสมาชิก
(Procedural rules - WHO and states)
เจตนารมณ์ของ IHR2005
เพื่อป้องกัน คุม้ ครอง ควบคุม และทาให้มี การ
ดาเนินงานด้านสาธารณสุขในการตอบสนองต่อการ
แพร่กระจายโรคระหว่างประเทศที่ถูกต้องเหมาะสม
และจากัดความเสี่ยงต่อโรคได้ โดยหลีกเลี่ย งการ
ท าให้เ กิ ด ผลกระทบต่ อ การเดิ น ทางและการค้า
ระหว่างประเทศ
International Health Security
IHR(2005), a paradigm shift
From control of borders to containment at source
From diseases list to all threats
From preset measures to adapted response
Public Health Emergency
• ทาให้เกิดผลกระทบทางสุขภาพทีม
่ ค
ี วามรุนแรง (seriousness of the
public health impact) ได้แก่ โรคหรือภ ัยทีท
่ าให้เกิดการป่วยและการ
ตายจานวนมาก หรือมีอ ัตราป่วยตายสูง
• เป็นเหตุการณ์ทผ
ี่ ด
ิ ปกติหรือคาดไม่ถงึ มาก่อน (unusual or unexpected
nature of the event)
• มีโอกาสทีจ
่ ะแพร่ไปได้สพ
ู่ น
ื้ ทีอ
่ น
ื่ (potential for the event to spread)
ั
่ าเภออืน
หมายถึง โรคมีศกยภาพหรื
อแนวโน้มทีจ
่ ะแพร่ไปสูอ
่ จ ังหว ัดอืน
่
หรือระบาดข้ามประเทศ
ิ ค้า (the risk that
• อาจต้องมีการจาก ัดการเคลือ
่ นทีข
่ องผูค
้ นหรือสน
restrictions to travel or trade)
ประเด็นสาคัญใน IHR 2005
1.วัตถุประสงค์ ขอบเขต และหลักการ
ป้ องกัน ควบคุมโรค/ภัย Public Health
–
Emergency of International Concern (PHEIC)
 การระบาดข ้ามประเทศ
 หลีกเลีย
่ งผลกระทบต่อการเดินทาง – การค ้า
ระหว่างประเทศ
–
โดยต ้องคานึงถีง


human rights and freedoms
เป็ นไปตามกฎสหประชาชาติ-องค์การอนามัยโลก
6
ประเด็นสาคัญใน IHR 2005
2. Concepts & approach
– Disease : illness / medical condition,
irrespective of origin or source that
presents or could present significant harm
to humans
– Event : a manifestation of disease or an
occurrence that creates a potential for
disease
ประเด็นสาคัญใน IHR 2005
3. Focal point – Contact point
– แต่ละประเทศ จะต ้องมีผู ้ประสานกฎ
อนามัยฯ ระดับชาติ ( National IHR focal
point)
– WHO  Contact point
– ติดต่อได ้ 24 ชม.
ประเด็นสาคัญใน IHR 2005
4. Notification and other
reporting requirements
– เน ้นการแจ ้ง/รายงาน เหตุการณ์ท ี่
เป็ น/อาจมีแนวโน ้มทีจ
่ ะเป็ น PHEIC
้
– WHO สามารถใชแหล่
งข่าว/ข ้อมูล
อืน
่ นอกจากรายงานของรัฐ ประเมิน
ว่าเป็ น PHEIC
ประเด็นสาคัญใน IHR 2005
5. โรค เหตุการณ์ทต
ี่ อ
้ งรายงาน WHO
• Smallpox
• Poliomyelitis due
to wild-type
poliovirus
• Human Influenzanew subtype
• SARS
Any event
including
unknown
causes/sour
ces
PHEIC
Assessment




Cholera
Pneumonic plague
Yellow fever
Viral Hemorrhagic
fever
(Ebola,Lassa,Marlburg)
 West Nile virus
 Other:
Dengue fever,
Meningococcal
disease,
Rift Valley fever, etc.
EVENT SHALL BE NOTIFIED TO WHO
10
ประเด็นสาคัญใน IHR 2005
6. เน้นการพัฒนาศักยภาพของประเทศ ในการเฝ้ าระวัง ตรวจจับ
ควบคุมและป้องกัน PHEIC
Community
National
Develop, strengthen, maintain capacities
To detect, verify, notify, control PHEIC
no later than 5 yrs.
Community level
National level
•Detect illness-death-abnormal
•Report to public health officer
First & Intermediate public health
response level
• Assess PHEIC
• Report WHO through National
IHR focal point
• Control &prevent to spread to
other countries.
•Verify & control measures
•Abnormal report national level
ประเด็นสาคัญใน IHR 2005
7. Public health security in
international travel and transport
• Entry points: land, sea & air ports
• Health document
• Health measures
ประเด็นสาคัญใน IHR 2005
8. Recommendation & Committee
Recommendation
– Standing recommendations
– Temporary recommendations
Committees
– The Emergency Committee
– The Review Committee
การประเมิน PHEIC
IHR focal point จะต้องประเมินเหตุการณ์ทอ
ี่ าจ
เป็น PHEIC
1. Is the public health impact of the event serious?
2. Is the event unusual or unexpected?
3. Is there a significant risk of international spread?
4. Is there a significant risk of international
restriction(s) to travel and trade?
Serious Public Health Impact
1. มีผู ้ป่ วย / ตาย จานวนมาก
2. มี high public health impact
3. ต ้องการความชว่ ยเหลือจากหน่วยงานนอก
พืน
้ ทีใ่ นการสอบสวน ควบคุมโรคหรือ
เหตุการณ์
High Public Health Impact
ตัวอย่าง-แนวคิด
ื้ ทีท
• เหตุการณ์นัน
้ เกิดจากเชอ
่ าให ้เกิดการแพร่ระบาด
ได ้ง่าย
่ เชอ
ื้ ดือ
• มีข ้อบ่งชวี้ า่ มีการรักษาล ้มเหลว เชน
้ ยา
• มีเจ ้าหน ้าทีส
่ าธารณสุขป่ วยด ้วย
• เกิดในพืน
้ ทีท
่ ม
ี่ ป
ี ระชากรหนาแน่น
่
• มีปัจจัยทีอ
่ าจทาให ้การควบคุมป้ องกันล่าชา้ เชน
พืน
้ ที่ ภูมอ
ิ ากาศ ความขัดแย ้ง
Need external assistance
ต ัวอย่าง-แนวคิด
มีบค
ุ ลากร งบประมาณ อุปกรณ์ ข ้อมูลวิชาการ ไม่เพียงพอ
โดยเฉพาะในเรือ
่ ง:
– Insufficient laboratory or epidemiological capacity to
investigate the event
– Insufficient antidotes, drugs and/or vaccine and/or protective
equipment
– Existing surveillance system is inadequate to detect new
cases in a timely manner.
Decision instrument
1 ราย: -ไข้ทรพิษ, โปลิโอ
โรคไม่ ทราบสาเหตุที่ไม่เข้า
มีแนวโน้ มแพร่ ระบาด
หรื อ
หรื อ
(wild type), ไข้หวัดใหญ่
กับกลุ่มซ้ายหรื อกลุ่มขวา มี
:-อหิวาต์, กาฬโรคปอด, ไข้เหลือง,
ในคนสายพันธุ์ใหม่, ซาร์ส
แนวโน้มระบาดข้ามประเทศ
ไข้เลือดออกจากไวรัส (อีโบลา,ลัส
สา,มาร์เบิร์ก,เวสท์ไนล์,เดงกี่,ลิฟท์
ปัญหาสาธารณสุ ขรุ นแรง?
วัลลีย)์ , ไข้กาฬหลังแอ่น
รุ นแรง
ไม่รุนแรง
ไม่คาดฝันหรื อผิดปกติ
ใช่
ไม่คาดฝันหรื อผิดปกติ
ไม่ใช่
ใช่
มีความเสี่ ยงแพร่ ระบาดข้ามประเทศ
มี
มีความเสี่ ยงแพร่ ระบาดข้ามประเทศ
มี
ไม่มี
มีผลกระทบกับการเดินทาง/ การค้าระหว่างประเทศ
มี
ต้ องแจ้ งองค์ การ
อนามัยโลกตาม IHR
ไม่ใช่
ไม่มี
ไม่มี
ไม่ตอ้ งแจ้งความแต่ประเมินจนได้
ข้อมูลเพียงพอ
สถานการณ์จาลอง
กฎอนามัยระหว่างประเทศ 2005
สถานการณ์ที่ 1
ระยะเวลา 3 สัปดาห์ที่ผ่านมา ท่านได้รบั รายงานผูป้ ่ วยยืนยัน
โรคอหิวาตกโรคจากห้องปฏิบตั ิการจากโรงพยาบาลทัว่ ไป
ทั้งหมด 15 ราย ผูเ้ สียชีวติ 1 ราย ใน 48 ชัว่ โมงที่ผ่านมา
ได้รบั รายงานผูป้ ่ วยอีก 1 ราย ทุกรายเป็ นคนไทย ผูป้ ่ วยทั้ง
16 รายอาศัยอยูใ่ นตาบลสิมิน อาเภอคลองปิ องก์ ซึ่งเป็ น
ตาบลที่มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน มีจุดผ่าน
แดนชัว่ คราว 1 จุด ตาบลสิมินยังขาดการจัดการสุขาภิบาลที่
ดี ไม่มีการทาลายขยะมูลฝอยในตาบล และบ้านเรือน 10%
ยังไม่มีสว้ มที่ถกู สุขลักษณะ
สถานการณ์ที่ 1
ตาบลนี้ มีรายงานของโรคอหิวาตกโรคเป็ นประจาทุกปี ในฤดูฝน
จากการสอบสวนโรคพบว่าผูป้ ่ วยส่วนใหญ่ใช้น้ าบริโภคจาก
คลองปิ องก์ที่ไหลผ่านตาบล ซึ่งทีม SRRT พบว่าน้ าฝนชะ
ล้างอุจจาระลงไปในคลองปิ องก์ซึ่งเป็ นสาเหตุทาให้เกิดการ
ปนเปื้ อนในสิ่งแวดล้อม ปั จจุบนั องค์การบริหารส่วนตาบล
ได้ร่วมปรับปรุงสุขลักษณะประจาบ้าน ระงับการบริโภคน้ า
ในคลองปิ องก์ และดูแลด้านสิ่งแวดล้อมแล้ว
สถานการณ์ที่ 1
คาถาม
ท่ านคิดว่ าท่ านจะแจ้ งข่ าวการระบาดของโรค
อหิวาตกโรค เร่ งด่ วนไปยังองค์ การอนามัยโลก และประเทศ
เพือ่ นบ้ าน ตามกฎอนามัยระหว่ างประเทศ ค.ศ. 2005
หรือไม่ เพราะเหตุใด
สถานการณ์ที่ 2
จังหวัดมุกดาหารได้รบั การคัดเลือกเป็ นจังหวัดเจ้าภาพในการจัด
ประชุมหอการค้าใหญ่ในกลุม่ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่
โรงแรมแห่งหนึ่งในอาเภอเมืองมุกดาหาร โดยมีผรู ้ ว่ มประชุม
ทั้งหมด 50 คนจากประเทศไทย กัมพูชา เมียนม่าร์ เวียดนาม
ลาว มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย บรูไน และฟิ ลิปปิ นส์ หลังจาก
จบการประชุม 1 วัน ผูเ้ ข้าร่วมประชุมจากมาเลเซีย 2 ราย
ฟิ ลิปปิ นส์ 2 รายและจากเวียดนาม 1 ราย ที่ยงั คงพักอยูใ่ น
จังหวัดมุกดาหารเพื่อท่องเที่ยวก่อนกลับประเทศป่ วย โดยมี
อาการไข้ ท้องเสีย และอาเจียน จนเข้ารับการรักษาใน
โรงพยาบาลมุกดาหาร ผลจากการเก็บอุจจาระ พบเชื้อ Vibrio
cholerae ในผูป้ ่ วย 3 ราย
สถานการณ์ที่ 2
จากการสอบสวนโรคโดยทีม SRRT พบว่ามีผทู ้ ี่ทางานใน
โรงแรมที่จดั การประชุมมีอาการท้องเสียอีกจานวน 6
ราย
หลังจากการประชุมเสร็จสิ้นไปแล้ว 2 วัน ประเทศสิงคโปร์
ได้รายงานผูป้ ่ วยโรคอหิวาตกโรค 2 รายที่เพิ่งกลับจาก
การประชุมดังกล่าวที่จงั หวัดมุกดาหาร
สถานการณ์ที่ 2
ท่ านคิดว่ าท่ านจะแจ้ งข่ าวการระบาดของโรค
อหิวาตกโรคเร่ งด่ วนไปยังประเทศลาว และประเทศทีส่ ่ ง
ผู้เข้ าร่ วมประชุมในการประชุมนานาชาติครั้งนี้ ตามกฎ
อนามัยระหว่ างประเทศ ค.ศ. 2005 หรือไม่ เพราะเหตุใด ให้
ตอบคาถามตามภาคผนวกที่ 2
สถานการณ์ที่ 3
เดือนกันยายนเป็ นเดือนที่มีผปู ้ ่ วยโรคไข้หวัดใหญ่มาก
ที่สุดทุกปี ของจังหวัดสงขลา สงขลาเป็ นจังหวัดที่มี
สนามบินนานาชาติ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศ
มาเลเซีย และมีนกั ท่องเที่ยวต่างชาติมาท่องเที่ยว แต่
อย่างไรก็ตาม เมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา จังหวัด
สงขลามีการระบาดของโรคไข้หวัดนก H5N1 ในสัตว์
ปี ก ทาให้ปศุสตั ว์จงั หวัดสั ่งทาลายสัตว์ปีกที่ตดิ เชื้อ
และสัตว์ปีกที่อยูใ่ นบริเวณการระบาด
สถานการณ์ที่ 3
ในบ่ายวันที่ 30 กันยายนมีผปู ้ ่ วยเพศชาย อายุ 31 ปี เข้ารับการรักษา
ที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่งในจังหวัดสงขลา โดยผ่านแผนกคัดกรอง
ไข้หวัดนก ผูป้ ่ วยมีอาการไข้ (มากกว่า 39.2 องศาเซลเซียส) ไอ
และหายใจลาบากมาแล้ว 4 วันหลังจากทาลายไก่ที่ตายในหมู่บา้ น
วันต่อมาผูป้ ่ วยเสียชีวิตด้วยอาการระบบทางเดินหายใจล้มเหลว แต่
ไม่ได้ถ่ายภาพรังสีไว้ เมื่อคนในหมู่บา้ นที่มีผปู ้ ่ วยทราบ ทาให้สงสัย
ว่าตนเองอาจติดโรคด้วยจึงเข้ามาตรวจคัดกรองที่โรงพยาบาลจึง
พบผูส้ มั ผัสโรคจากผูป้ ่ วยสงสัยอีก 3 ราย จากการเก็บตัวอย่างซีรั ่ม
และ nasal wash/aspirate ของผูเ้ สียชีวิตและผูป้ ่ วยที่ส่งไปยังศูนย์
วิทยาศาสตร์การแพทย์ ผลการตรวจพบว่าเป็ นไข้หวัดใหญ่ ชนิด
เอ แต่ไม่ใช่ subtype เดิม
สถานการณ์ที่ 3
ท่ านคิดว่ าจะจัดการด้ านการแจ้ งเหตุต่อสถานการณ์ นี้ ตาม
กฎอนามัยระหว่ างประเทศ ค.ศ. 2005 อย่ างไร
ข้อกาหนดใน IHR2005 และแผนงาน IHR (ไทย)
ที่มีผลต่องานระบาดวิทยา
• งานเฝ้ าระวังทางระบาด
วิทยา
• งานพัฒนาทีมเฝ้ าระวัง
สอบสวนเคลื่อนที่เร็ว
(SRRT)
ทุกประเทศต้องมี IHR Focal Point*
The IHR surveillance system
Mass
media,
NGOs etc.
Local
level
National
IHR Focal
Point
WHO
*สำนักระบำดวิทยำเป็ น IHR Focal Point ของประเทศไทย
ทุกประเทศต้องจัดให้มีหน่วยเฝ้ าระวังและ
ตอบโต้ทางสาธารณสุข 3 ระดับ
1. ระดับท้องถิ่น และ/หรือ ทีม responseระดับต้น
(Local community level and/or primary
public health response level)
2. ทีม response ระดับกลาง (Intermediate public
health response level)
3. ทีม response ระดับชาติ (National level)
(Annex 1, IHR2005)
การจาแนกทีม SRRT
เพื่อพัฒนาขีด
ความสามารถตาม
ข้อกาหนดใน IHR2005
กทม.
จังหวัด
อาเภอ
ศบส.กทม.
รพสต.
อบท.
ส่วนกลาง
C-SRRT
(National Level)
เขต
R-SRRT
(National Level)
P-SRRT
(Intermediate PH Response Level)
D-SRRT
(Primary PH Response Level)
*ทีม SRRT ท้องถิ่น
(Local Community Level)
ทุกประเทศต้องพัฒนาสมรรถนะหลัก
ในการเฝ้ าระวังและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
• การตรวจจับเหตุการณ์ (Event detection)
– ระดับท้องถิ่น/ระดับต้น ระดับกลาง ระดับชาติ
• การประเมินสถานการณ์และการรายงาน (Event
assessment and notification)
– ระดับชาติ
• การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯได้ทนั ที (Public health response
to events 24/7)
– การสนับสนุน
– การติดต่อสื่อสาร
– จัดทาแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
ทุกประเทศต้องพัฒนาสมรรถนะทาง
ห้องปฏิบตั กิ าร
เพิ่มความมั ่นใจว่ามีการเก็บและนาส่ง
วัตถุตวั อย่างที่ถูกต้อง
เพิ่มความมั ่นใจว่ามีการปฏิบตั ทิ ี่ดี
(good practices) ใน
ห้องปฏิบตั กิ าร รวมถึงด้านวัสดุ
อุปกรณ์ และ reagent ต่าง ๆ
เพิ่มความเข้มแข็งของการจัดการข้อมูล
ทางห้องปฏิบตั กิ าร
การรักษาพยาบาลผูป้ ่ วย / การควบคุมการติดเชื้อ
- การควบคุมการติดเชื้อในสิ่งแวดล้อม
ที่จากัด และมีทรัพยากรจากัด
- การควบคุมการติดเชื้อในชุมชน
ทุกประเทศต้องทาให้เกิดความร่วมมือจากทุก
ภาคส่วน
• Public health services
• Health care system
• Veterinary services
• Agriculture
• Education
• Communication
• Transport
• Trade
• Foreign Affairs
• Armed Forces
• Office of the Prime Minister
ทุกประเทศต้องเพิ่มประสิทธิภาพของการสือ่ สาร
ความเสี่ยง (Risk communication)
ทุกประเทศต้องพัฒนามาตรการประจา
(Routine measures) ด้านการเดินทางระหว่างประเทศ
• ช่องทางเข้าออกประเทศ (ท่าอากาศยาน,
ท่าเรือ, จุดผ่านแดน)
• ยานพาหนะและผูค้ วบคุม
• ผูเ้ ดินทาง
• สินค้า ตูบ้ รรทุกสินค้า และการขนถ่าย
การดาเนินงานพัฒนาสมรรถนะ
ด้านระบบเฝ้ าระวังโรคและภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
1. พัฒนำทีม SRRT ทุกระดับ ให้มีศกั ยภำพสูงและมีควำมพร้อม
2. จัดตัง้ ศูนย์ปฏิบตั ิกำรทุกระดับ ที่มีระบบ รูปแบบตำมมำตรฐำน
3. จัดทำแนวทำงปฏิบตั ิงำนมำตรฐำน (SOP) รวมถึงระบบสัง่ กำร
และมำตรฐำนตัวชี้วดั ควำมสำเร็จในกำรตอบโต้ภำวะฉุกเฉิ นฯ
4. พัฒนำบทบำท/กำรมีส่วนร่วมของอำสำสมัครและท้องถิ่น
5. พัฒนำระบบเฝ้ำระวังโรคติดต่อจำกสัตว์ส่คู น และระบบเฝ้ำระวัง
ภัยคุกคำมจำกรังสี สำรเคมี และอำหำร
6. จัดโครงสร้ำงในกระทรวงสำธำรณสุข โดยให้มี
- งำนระบำดวิทยำในหน่ วยงำนสำธำรณสุขทุกแห่ง
- หน่ วยงำนสนับสนุ นกำรเตรียมควำมพร้อมรองรับภำวะฉุกเฉิ นฯ
- หน่ วยงำนสนับสนุ นงำนป้องกันกำรติดเชื้ อในสถำนบริกำร
ผลของ IHR2005 ต่องานเฝ้ าระวังทางระบาดวิทยา
• พัฒนาประสิทธิภาพระบบเฝ้ าระวังฯ ตัง้ แต่ระดับท้องถิ่น
เช่น การพัฒนา Syndromic surveillance
• พัฒนาการเฝ้ าระวังทางห้องปฏิบตั กิ าร
• พัฒนาการเฝ้ าระวังโรคอุบตั ใิ หม่ และโรค/ภัยที่เป็ นภาวะ
ฉุกเฉินทางสาธารณสุข
• พัฒนำระบบเฝ้ำระวังโรคติดต่อจำกสัตว์ส่คู น และระบบเฝ้ำระวัง
ภัยคุกคำมจำกรังสี สำรเคมี และอำหำร
• จัดให้มีงานระบาดวิทยาในโครงสร้างหน่วยงานสาธารณสุข
ทุกระดับ
ผลของ IHR2005 ต่องานพัฒนา SRRT
• SRRT ทุกระดับสามารถจาแนกและดาเนินการต่อ Public
Health Emergency ได้
• ต้องเร่งปรับปรุงพัฒนา Early warning system เพื่อเสริม
ภารกิจการเฝ้ าระวังของ SRRT ให้เข้มแข็ง
• จัดให้มีทีม SRRT ระดับท้องถิ่น เพื่อเป็ น Local community
response level
• ต้องเร่งพัฒนาสมรรถนะทีม SRRT ทุกระดับให้ได้ตาม
ข้อกาหนดใน IHR2005
• จัดให้มีงานระบาดวิทยาเพื่อเป็ นแกนหลักของทีม
SRRT ในโครงสร้างหน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับ
ขอบคุณค่ะ
ทุกประเทศต้ องเฝ้ าระวังและรายงาน PHEIC
ภำวะฉุกเฉิ นทำงสำธำรณสุขระหว่ำงประเทศ
1. ผูป้ ่ วยที่ทาให้เกิดผลกระทบทางสุ ขภาพที่
รุ นแรง และไม่คาดว่าจะเกิด (4 โรค)
ได้แก่ ไข้ทรพิษ โปลิโอ(Wild type)
ไข้หวัดใหญ่ (ที่มศี กั ยภาพเป็ น
Pandemic) และ SARS
(Public Health Emergency of International Concern, PHEIC)
2. โรคที่มีศกั ยภาพทาให้เกิดผลกระทบทาง
สาธารณสุ ขรุ นแรง มีแนวโน้มระบาดข้าม
ประเทศได้ ได้แก่ อหิวาตกโรค กาฬโรคปอด ไข้
เหลือง ไข้เลือดออกจากไวรัส (อีโบลา /ลาสสา/มาร์
เบิร์ก) โรคสาคัญระดับชาติและภูมภิ าค (เดงกี่ /เวสต์ไนล์
/ริ ฟวัลเล่ย ์ /ไข้กาฬหลังแอ่นฯ)
3. โรคอื่น ๆ ซึ่ งเข้าได้กบั เงื่อนไขของภาวะฉุกเฉิ นทางสาธารณสุ ขระหว่างประเทศ รวมถึงโรคที่ยงั ไม่
ทราบสาเหตุและแหล่งโรค นอกเหนือ จาก 2 กลุ่มโรคข้างต้น