File - สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่

Download Report

Transcript File - สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่

ความเป็นมาและประสบการณ์
เรือ
่ ง
การจ ัดทาแผนประคองกิจการ
ประชุมเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบำย เรื่อง แผนประคองกิจกำร (BCP)
เพื่อรองรับภำวะฉุกเฉิน : กรณี ตวั อย่ำงกำรระบำดของโรคติดต่ออุบตั ิ ใหม่
วันที่ 7 มิถนุ ำยน 2554 ณ โรงแรมที เค พำเลซ กรุงเทพมหำนคร
แผนประคองกิจการ
คืออะไร ?
แผนประคองกิจการ หรือ Business Continuity Plan (BCP)
แผนงานที่ จ ดั ท าขึ้ น อย่ า งเป็ นลายลัก ษณ์อ กั ษร โดยก าหนด
ขัน้ ตอนการดาเนินงาน เพื่อรองรับหรือเรียกคืนการดาเนินงานให้กลับสู่
ภาวะปกติ เพื่ อ สร้า งความมั่น ใจว่า การปฏิ บ ัติ ง านปกติ สามารถ
ดาเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง เมื่อมีเหตุการณ์ที่ทาให้การปฏิบตั ิงานปกติ
ต้องหยุ ด ชะงัก เช่น ภัยธรรมชาติ อัคคีภยั หรือ การเกิด โรคระบาด
ร้ายแรงฯลฯ
ทำไม? ต้องจัดทาแผนประคองกิจการภายในองค์กร
• จัดการหรือบรรเทาความรุนแรง จากเหตุการณ์/ภัย
• ลดผลกระทบต่างๆ เช่น การเงิน กฎหมาย ชือ่ เสียง และอืน่ ๆ
• การมีส่วนร่วมของผูบ้ ริหาร ในการกาหนดนโยบาย มาตรฐาน
และการทางานของให้กลับคืนสูภ่ าวะปกติอย่างรวดเร็ว
• องค์การสามารถปฏิบตั งิ านต่อไป โดยใช้ทรัพยากรทีม่ ีอยู่
• องค์ก รสามารถปรับแนวทางปฏิ บตั ิ ให้เ หมาะสมกับบทบาท
หน้าทีไ่ ด้
สาธารณภ ัย
ตามแผนป้องก ันภ ัยฝ่ายพลเรือนแห่งชาติ พ.ศ. 2550
ภ ัยธรรมชาติ
• อุทกภัย วาตภัย โคลนถล่ม
• ภัยแล ้ง
• แผ่นดินไหว อาคารถล่ม
• ไฟป่ า หมอกควัน
• อากาศหนาวจัด
• โรคระบาดในพืช
ั ว์
• โรคระบาดในสต
• ภัยร ้ายแรงจากโรคระบาดในคน
ึ ามิ
• ภัยสน
ภ ัยจากนา้ มือมนุษย์
• อัคคีภย
ั
• ภัยจากสารเคมีและวัตถุ
อันตราย
• อุบต
ั เิ หตุร ้ายแรง
• มาลาเรีย
• ไข ้เลือดออก
• ไข ้ปวดข ้อยุงลาย (chik.)
• ไข ้สมองอักเสบ
้
• โรคเท ้าชาง
• วัณโรค
• ไข ้รากสาด
• ไข ้รากสาดน ้อย
และไข ้รากสาดเทียม
• อาหารเป็ นพิษ
• ไข ้หวัดใหญ่สายพันธุใ์ หม่
• ไข ้สมองอักเสบ นิปาห์
• HFMD (EV71)
• ไข ้หวัดนก
• โรคซารส ์
• กาฬโรค
• ลิชมาเนีย
• อาวุธชวี ภาพ
• วัณโรคดือ
้ ยา
ื้ ต่างๆ
• อุจจาระร่วง จากเชอ
ื้ แบคทีเรียดือ
• เชอ
้ ยา
• โรคฉี่หนู (leptospirosis)
• ไข ้สมองอักเสบเวสต์ไนล์
• โรคติดต่อ อืน
่ ๆ
• โรคอุบต
ั ใิ หม่ อุบต
ั ซ
ิ ้า อืน
่ ๆ
เมษายน 2552
โลกตระหนกไข้หวัดใหญ่ 2009
ระบาดไปแล้ว
การเตรียมความพร้อม
หน่วยงานทุกภาคส่วน
ภาครัฐ
ภาคเอกชน
คงกิจการได้
ให้บริการสังคม
อยู่รอดปลอดภัย
ภาคบริการพืน้ ฐาน
ความเสียหายน้อย
แนวคิดการประคองกิจการภายในองค์กร
ช่เฉพาะภาคธุรกิจ นะ ต้อง
• ก่อนระบาดใหญ่ เตรียมพร้อมไว้ ไม่มิทุปใกระมาท
องค์กร ทั้งภาครัฐ
 แต่ละบริษทั มีคนรูด้ ี สอนได้ ประสานได้
จัดการได้
รัฐวิสาหกิจ และเอกชนด้วย
 จัดทาแผนเหมาะสมกับองค์กร (แผน วิธีปฏิบตั )ิ
 เตรียมตัวได้ตามแผน (สอน/แนะนา เตรียมข้าวของ ระบบงาน ข้อมูล)
 ซักซ้อมแผนเป็ นระยะ
• เมื่อระบาดใหญ่ ไม่ตกใจ ทาได้ตามแผน
 คนทีไ่ ม่จาเป็ นต้องมาทีท่ างาน ให้ทางานทีบ่ า้ น ส่งงานทางโทรคมนาคม
ให้ผปู ้ ่ วยพักงาน จัดหาคนทางานแทน
 ช่วยเหลือเจ้าหน้าทีแ่ ละครอบครัวทีป่ ระสบภัย ได้อย่างเหมาะสม
 คงการ สือ่ สาร บริการแก่ลูกค้า ตามสถานการณ์
• หลังระบาดใหญ่ ฟื้ นตัวไว ไม่อบั จน
29 May 08
พัฒนำบุคลำกรเพื่อให้จดั ทำแผนประคองกิจกำร
กรมควบคุมโรคได้ จดั อบรมและ
สนับสนุนให้ หน่ วยงานต่ างๆ จัดทา
แผนประคองกิจการตามคู่มือฯ
ชุดคู่มือการเรียนรู้ด้วยตนเอง เรื่อง การจัดทา
แผนประคองกิจการภายในองค์ กร ( BCP)
เพือ่ เตรียมความพร้ อมสาหรับการระบาดใหญ่
ของโรคไข้ หวัดใหญ่ ปี พ.ศ. 2552
ปรากฎอยู่ใน web site สานักโรคติดต่ ออุบัตใิ หม่
ที่ http://beid.ddc.moph.go.th
7 ขัน้ ตอนการประคองกิจการภายในองค์กร
ขัน้ ที่ 1
ทำควำมเข้ำใจใน
กิจกำรของท่ำน
ขัน้ ที่ 7
ฝึกซ้อมและปรับปร ุงแผน
ขัน้ ที่ 2
ค้นหำควำมเสี่ยง
ขัน้ ที่ 6
ขัน้ ที่ 3
ประชำสัมพันธ์แผน
ให้ผอ้ ู ื่นทรำบ
ลดผลกระทบจำก
ควำมเสี่ยง
ขัน้ ที่ 5
ขัน้ ที่ 4
ระบ ุมำตรกำรสำหรับ
ควำมเสี่ยงที่อำจเกิดขึ้น
เตรียมกำร
และปฏิบตั ิตำมแผน
1. ธนำคำรแห่งประเทศไทย ได้ออกแนวปฏิบตั ิ
เรือ่ งการจัดทาแผนรองรับการดาเนินธุรกิจ
อย่างต่อเนื่อง (BCP) สาหรับกรณีการระบาด
ของโรคติดต่อร้ายแรง โดยบังคับใช้ตงั ้ แต่
วันที่ 4 สิงหำคม 2551 เพือ่ ให้ธนาคารต่างๆ
ได้ปฏิบตั ิ โดยเน้นการจัดระบบงานเพือ่ รองรับ
ภัยและฟื้นตัวได้เร็วหลังเกิดโรคระบาด
2. สมาคมธนาคารไทยร่วมสนับสนุนและผลักดัน
ให้มกี ารเตรียมการของภาคธนาคาร
3. ธนำคำรทหำรไทย เป็ นตัวอย่างทีร่ เิ ริม่ การ
จัดทำแผน BCP และเป็ นวิทยากรพีเ่ ลีย้ ง
ให้กบั ธนาคารอื่นๆ ด้วย
1. จัดอบรมให้หน่ วยงำนในสังกัดจำก
ส่วนกลำงและภูมิภำค
2. สนับสนุนและให้คำแนะนำกำร
จัดทำแผนประคองกิจกำรในองค์กร
แก่หน่ วยงำนต่ำงๆ
3. หน่ วยงำนสังกัดกรมควบคุมโรคได้
จัดทำแผน BCP โดยระบุกิจกรรมที่
สำคัญและจำเป็ น พร้อมทัง้ วิธีกำร
ปฏิบตั ิ งำน ปรำกฏใน web site
สำนักโรคติดต่ออุบตั ิ ใหม่
จัดทำแผน BCP โดย
1. จัดระบบงานทีส่ าคัญและจาเป็ น เมือ่
เกิดการระบาดใหญ่ โดยใช้
ประสบการณ์การเกิดโรคซาร์ส ไข้หวัด
นก ,ไข้หวัดใหญ่ และ โรคติดต่ออื่นๆ
2. จัดการหมุนเวียน กาลังสารองบุคลากร
3. ทบทวนการจัดระบบข้อมูลข่าวสาร
จัดการความรูก้ ารป้องกันการติดเชือ้
การสือ่ สารประชาสัมพันธ์ และการ
ประสานงาน โดยระบุทงั ้ กิจกรรมและ
แนวทางปฏิบตั งิ านอย่างชัดเจน
1. ในปี 2552 จัดทำแผน BCP โดยหน่ วยงำน
ทุกภำคส่วนในจังหวัด
2. ปรับใช้จำก 7 ขัน้ ตอนกำรจัดทำแผน
ประคองกิจกำร กรมควบคุมโรค
3. แบ่งกลุ่มจัดทำแผนตำมภำรกิจ ได้แก่ สสจ./
รพ./ ปศุสตั ว์ / รัฐวิสำหกิจ/สสอ. / ศึกษำ /
เอกชน และ ด่ำน
4. สำมำรถระบุกิจกรรมที่สำคัญและจำเป็ น
และวิธีกำรปฏิบตั ิ เพื่อให้กิจกรรมนัน้
ดำเนินงำนต่อไปได้
5. มีแผนกำรปรับปรุงให้ดีขึน้ ต่อไป
ตัวอย่ำงรัฐวิสำหกิจ : กำรไฟฟ้ ำฝ่ ำยผลิตแห่งประเทศไทย
1. จัด ท ำแผนด ำเนิ นธุร กิ จ อย่ ำ งต่ อ เนื่ อง
ตัง้ แต่ ปี 2547 ควบคู่ไ ปกับ แผนเตรี ยม
ควำมพร้อม และร่วมจัดทำแนวทำงกำร
เตรี ย มควำมพร้ อ มภำคธุ ร กิ จรับ กำร
ระบำดใหญ่ฯ ของกระทรวงสำธำรณสุข
2. เน้ นกำรจัด กำรด้ ำ นวัต ถุดิ บ และกำร
ขนส่ง ระบบกำรติดต่ อสื่อสำรทัง้ ภำยใน
และภำยนอก และ ส่งเสริมกำรให้ควำมรู้
พนักงำนและกำรปฏิบตั ิ งำน
3. ฝึ ก ซ้ อ ม แ ล ะ ป รั บ ป รุ ง แ ผ น อ ย่ ำ ง
สมำ่ เสมอ
4. ถ่ ำ ยทอดแนวทำงและคู่ มื อ ฯ ไปยั ง
หน่ วยงำนภูมิภำคเพื่อปรับใช้
 ปี 2551-52 โรงไฟฟ้ ำบำงปะกงได้จดั ทาแผน
เตรียมความพร้อมและฝึกซ้อมระบบการสังการ
่
(ICS) รับการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ ที่
สอดคล้องกับส่วนกลาง โดยผูบ้ ริหารระดับสูง
สนับสนุนและเข้าร่วมการซ้อม
ปี 2552 ได้รเิ ริม่ วางแผนการจัดทำแผน BCP
ควบคู่กนั ไป
 ปี 2553 จัดทำแผน BCP โดยกำรปรับใช้
กระบวนกำร 7 ขัน้ ตอนกำรประคองกิจกำร
เนื่องจากเป็ นขัน้ ตอนทีเ่ ข้าใจง่าย จนได้แผนทีม่ ี
ความสมบูรณ์ครบถ้วนมากขึน้
กระทรวงแรงงำน ร่วมกับองค์กรแรงงำนระหว่ำงประเทศ
(International Labour Organization : ILO)
1. ตัง้ แต่พบกำรระบำดของไข้หวัดนก กระทรวงแรงงำนร่วมกับ ILO ได้
เตรียมควำมพร้อมในสถำนประกอบกำร กลุ่ม SME (ขนำดกลำงและขนำด
ย่อม) โดยให้ควำมรู้ จัดระบบงำนและสถำนที่ ติดตำมประเมินผลตำมคู่มือ
และแบบสำรวจ
2. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่ำงภำครัฐ / สหภำพแรงงำนและลูกจ้ำง /
องค์กรนำยจ้ำง / เกษตรกร /สหประชำชำติ / องค์กรระหว่ำงประเทศ /
ผูเ้ ชี่ยวชำญด้ำนอำชีวอนำมัยและควำมปลอดภัยในกำรทำงำน /
ผูป้ ฏิบตั ิ งำน จำก 4 ประเทศ คือ กัมพูชำ ลำว มำเลเซีย และ เวียดนำม
3. ปรับปรุงคู่มือกำรจัดทำแผน BCP ในสถำนประกอบกำร โดยปรับใช้จำก 7
ขัน้ ตอนกำรจัดแผนประคองกิจกำร
แผนประคองกิจกำร 7 ขัน้ ตอน
ควำมร่วมมือประเทศสมำชิกทำงเศรษฐกิจในเอเซีย-แปซิฟิก 21 ประเทศ
กำรประชุม APEC SMEWG
Pandemic Influenza Train the Trainers Workshop
ล่ำสุดที่ Hong Kong, China - 8 June 2010
ิ รับการระบาดใหญ่ของ
1. อบรมให ้ความรู ้กับประเทศสมาชก
ไข ้หวัดใหญ่ในกลุม
่ SME โดยเน ้นมาตรการในสถาน
ประกอบการ
้
2. แนะนาการใชกระบวนการ
7 ขัน
้ ตอน
3. โครงการระหว่าง ILO กับ ก. แรงงาน พัฒนา SMEs
4. คูม
่ อ
ื แนวทาง / เอกสาร จาก WHO , CIDRAP,Checklist
และ สถานการณ์จาลอง
5. ไทย ( ผู ้แทนจาก ก. อุตสาหกรรม แรงงาน และ สาธารณสุข
เข ้าร่วมประชุม
What next?
• ขยายเครือข่าย
BCP สูท่ ุกภาคส่วน
• ภาครัฐ
• รัฐวิสาหกิจ
• เอกชน
ภาครัฐ
ภาคเอกชน
ภาคบริการพืน้ ฐาน