การรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล4 - Tanit Sorat V

Download Report

Transcript การรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล4 - Tanit Sorat V

ยุทธศาสตร์ การรักษาผลประโยชน์ ของชาติทางทะเล เพือ่
การขนส่ งสิ นค้ า
โดย
ดร.ธนิต โสรัตน์
ประธานกรรมการ V-SERVE GROUP
รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย
3-2010
1
ความสาคัญของปัญหาการขนส่ ง
สิ นค้ าทะเลเป็ นร้ อยละ 96 ของการ
ขนส่ งระหว่ างประเทศ
ประเทศไทยมีพนื้ ทีช่ ายฝั่งทะเล ทั้งฝั่ง
อ่าวไทยและอันดามันรวมเป็ นระยะทาง
2,614 กิโลเมตร
2
ปี 2553ภาคส่ งออก-นาเข้า มีผลต่อเศรษฐกิจไทย 120% ของ GDP
6.77% ลงทุน
9.03%
61.34%ส่ งออก
54%
บริโภคภายใน
10%
23.60%
58.79%นาเข้ า
GDP ปี 53
GDP ปี 52
GDP ปี 51
9.39 ล้านล้านบาท
8.862 ล้านล้านบาท
9.232 ล้านล้านบาท3
ความมัน่ คงของเศรษฐกิจไทยผูกติดกับเส้ นทางขนส่ งทางทะเล
สิ นค้ าอุตสาหกรรมไทยติด Top Ten
(เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ และ
อุปกรณ์ สานักงาน)
(ยานยนต์ )
33 , 0.5%
176,877.00ลบ.
18 , 1.18%
176,877.00ลบ.
(อุปกรณ์ โทรคมนาคม)
(เหล็ก)
สิ่ งทอ :18,1.3%
เครื่องนุ่งห่ ม: 15,1.4%
หมายเหตุ:ตัวเลขข้ างหน้ าคืออับดับในตลาดโลก
ตัวเลขข้ างหลังคือส่ วนแบ่ งการตลาด
ทีม่ า: WTO
(แผงวงจร และ
ชิ้นส่ วนอิเล็กทรอนิกส์ )
4
เศรษฐกิจในเอเซียน มีการเติบโตที่สงู สุดในโลก
ประเทศไทยกับการเป็ นHUB ของภูมิภาค
5
การส่ งออกของไทยกับประเทศในภูมภิ าค = 53.6%
ประเทศ
จีน
มาเลเซีย
สิ งคโปร์
มูลค้ า (ล้ านบาท)
1,135,042
556,179
455,331
อินโดนีเซีย
ฟิ ลิปปิ นส์
เวียดนาม
289,825
164,209
206,970
พม่า
ลาว*
กัมพูชา*
148,628
71,989
56,578
บรู ไน
รวม
7,802
3,092,553
ข้อมูล ปี 2552
กระทรวงพาณิ ชย์
6
1. การพัฒนาท่าเรื อในฐานะเป็ นประตูเศรษฐกิจ
Regional Sea Port
ท่าเรื อแหลมฉบัง Main gateway ของไทย
– Capacity ปัจจุบนั (2552) 7.5 ล้านTEU
» ปี 2559 11.1 ล้านTEU
» ปี 2564 20.0 ล้านTEU
7
ประเทศไทยขาดการพัฒนาท่ าเรือฝั่งตะวันตก
West Gate Port Development
New Port
Ranong Port
Penang Port
Lamchabang Port
Klang Port
8
2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาและส่ งเสริ มพาณิ ชย์นาวีแห่งชาติ
• การจัดตั้งกองเรือแห่ งชาติ
• การพัฒนาอุตสาหกรรมต่ อเรือ ให้ ไทยเป็ น “อู่ต่อเรือของโลก”
• การพัฒนาบุคลากรประจาเรือ
9
ท่ าเรือกวนเล่ย
3. Land & Sea
Link East – West
and North – South ,
Economic Corridor
เชื่อมโยงประเทศ
เพื่อนบ้าน GMS /
MJ
ท่ าเรือทวาย
R3E
ท่ าเรือดานัง
R9
ท่ าเรือแหลมฉบัง
ท่ าเรือหลักฝั่ง
ตะวันตก ???
ธนิต โสรัตน์
TANIT SORAT
ท่ าเรือกรัง
ท่ าเรือตันจุง เพเลพาส10
New Multi Pollar Hub
เศรษฐกิจอาเชียนจะเป็ นเศรษฐกิจใหม่ ทมี่ กี ารเติบโตสู งสุ ดของโลก
ACMECS
ไทย
GMS
จีน
BIMSTCE
อินเดีย
IMT-GT
อินโดนีเซีย
11
4. 20 ปี ที่ผา่ นมาเศรษฐกิจไทยขับเคลื่อนจากอุตสาหกรรมชายฝั่งทะเล
ภาคตะวันออก (Eastern Seaboard )
12
อนาคตเศรษฐกิจไทยอยู่ที่ อุตสาหกรรมต้ นนา้ ชายฝั่งทะเล
Southern Sea Board
13
5. สะพานเศรษฐกิจตะวันออก - ตะวันตก
ขนอม
สิชล
East-West
Costal
Land
Bridge
ทับละมุ
กระบี่
การพัฒนาโครงการเศรษฐกิจฝั่งทะเลภาคใต้
Southern Seaboard
แนว Landbridge
กระบี่ – ขนอม
ทับละมุ – สิชล
สงขลา
สตูล
สตูล - สงขลา
14
ธนิต โสรัตน์
ท่ าเทียบเรือทวาย Gateway ฝั่งตะวันตก
MYANMAR CHINA
MYANMAR –THAILAND LAOS
MYANMAR –THAILAND VIETNAM
Gateway
DAWEI
MYANMAR –THAILAND CAMBODIA
15
ศตวรรษที่ 21 PRC
ประเทศไทย บริบทเวทีการค้ าโลก
การเป็ นศูนย์ กลางการผลิตการค้ าและการลงทุนของภูมิภาค
Myanmar
Chiang Rai
Mukdahan Savannakhet
MaeSodMyawaddy
Danang
Yangon
Andaman Sea
Develop Sister Cities
as a production bases
Lao PDR
BKK.
Cambodia
Vietnam
EWEC
NSEC
Dawai
SEC
Trad- Koh Kong
Hochiminh City New Port
Gulf of Thailand
Song-Kla
Pak-Bara
16
New Global Marin time Route
การปรับเปลีย่ นเส้ นทางการเดินเรือใหม่
17
ผลประโยชน์ ของชาติทางทะเลกับ ผลประโยชน์ ร่วมของเพือ่ นบ้ าน
วิเคราะห์ SWOT ของไทย
1. Strengths จุดแข็งของไทยคือ ไทยเป็ น Hub ของภูมิภาค
• ประเทศไทยเป็ นประเทศ Export And Manufacture Country
2. Weaknesses จุดอ่ อนของไทยคือ การเมืองในประเทศ , การไม่ มีท่าเรือชายฝั่ง
ตะวันตก
• การไม่ มีการท่ าเรือแห่ งชาติ
• การขาดอานาจการต่ อรองทางทะเล
3. Opportunities โอกาสของไทยคือ การเติบโตทางเศรษฐกิจของภูมิภาคบนเส้ นทาง
เรือใหม่
4. Threats อุปสรรคของไทยคือ พืน้ ที่ทับซ้ อนทางทะเล, ความไม่ มีเสถียรภาพทาง
การเมืองของประเทศ,การขาดแคลงคนและทรัพยากรธรรมชาติและ การเพิม่ ดีกรี
ของการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่ งขันของประเทศเพือ่ นบ้ าน
18
แผนและขั้นตอนในการพัฒนาการใช้ ประโยชน์ และรักษาผลประโยชน์ ทาง
ทะเลที่เกีย่ วข้ องกับการขนส่ งทีช่ ัดเจน ประกอบด้ วย
1. ต้องมีการทายุทธศาสตร์ และนโยบายที่ชดั เจนว่าไทยจะเอาอย่างไรเรื่ อง
Land Bridge
2. ต้ องมีการแก้ปัญหาการทับซ้ อนพืน้ ที่ทางทะเลทีเ่ กีย่ วข้ องกับการขนส่ งทางทะเล
3. แนวทางการมีกองเรือแห่ งชาติและศูนย์ กลางอู่ต่อเรือของภูมภิ าค รวมถึงการมีกอง
เรือติดอาวุธคุ้มกัน ปกป้ อง ผลประโยชน์ ทางทะเลด้ านการขนส่ ง
4. ต้ องมีแผนพัฒนาพืน้ ที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้ ทเี่ ป็ น Master Plan เป็ นแผนระยะยาว
กาหนดไว้ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11
แผนและขั้นตอนในการพัฒนาการใช้ ประโยชน์ และรักษาผลประโยชน์ ทาง
ทะเลที่เกีย่ วข้ องกับการขนส่ งทีช่ ัดเจน ประกอบด้ วย
5. ต้ องมีแผนปฏิบัติการลักษณะ Action Plan มีงบประมาณการศึกษาวิจัย
6. มีการตั้งคณะกรรมการร่ วมจัดทายุทธศาสตร์ การรักษาผลประโยชน์ ทางทะเล
ประกอบด้ วย ภาครัฐและภาคเอกชน
7. ต้องมีการประสาน และบูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการดูแลพื้นที่
ทางทะเล ไม่วา่ จะเป็ นกองทัพเรื อ กรมเจ้าท่า กรมประมง หน่วยงานที่
เกี่ยวข้องกับทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ด้านพลังงาน เช่น ปตท. และ
คณะกรรมการพัฒนากิจการพาณิ ชย์นาวี
END
ข้ อมูลเพิม่ เติมที่ www.tanitsorat.com
หรือ
www.fti.or.th
21