กรอบแนวคิดในการวิจัย

Download Report

Transcript กรอบแนวคิดในการวิจัย

กรอบแนวคิดในการวิจยั
ประเด็น


กระแสโลกาภิวตั รส่งผลให้ปัจจัยต่างๆ ที่เคยเกื้อกูลและสร้าง
ความสามารถในการแข่งขันเชิงเปรียบเทียบ (Competitive
Advantage) และความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ
(Comparative advantage) ของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลง
ไป
การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกผลกระทบประเทศไทยได้เริ่มหันมาให้
ความสาคัญ ในการพัฒนาระบบเศรษฐกิจโดยมุ่งเน้นการพัฒนาตลาด
ภายในประเทศ (Domestic Market) และตลาดภูมิภาค (Region
Market) และมุ่งเน้นการเชื่อมโยงกิจกรรมทางเศรษฐกิจกับประเทศ
เพื่อนบ้านมากขึ้น
จุดแข็งและโอกาส


ประเทศไทยมีความได้เปรียบเชิงที่ตง้ั ในฐานะเป็ นประเทศศูนย์กลางของ
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในการเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ประเทศ
พม่า ลาว กัมพูชา จีนตอนใต้ และภูมิภาคตอนล่าง ได้แก่ ประเทศมาเลเซีย
กรอบยุทธศาสตร์ ความร่วมมือGMSที่ทาให้เกิดเส้นทางยุทธศาสตร์การ
เชื่อมโยงทางกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้านที่มี
ศักยภาพด้านเศรษฐกิจผ่านสปป.ลาว(ที่เป็ นประเทศที่มีประชากรน้อย)
สาคัญ 2 เส้นทาง คือ ไทย-จีนตอนใต้ (เส้นทางหมายเลข R3E จาก
จังหวัดเชียงราย-ลาวตอนเหนือ-จีนตอนใต้) และไทย-เวียตนาม
(เส้นทางหมายเลข 9 เชื่อมโยงจังหวัดมุกดาหาร-ลาวตอนกลางเวียตนาม)
การเชื่อมโยงระหว่างภาคเหนือของไทย
กับจีนตอนใต้
เส้นทางแม่น้ าโขง
(ท่าเรือเชียงแสน-ท่าเรือกวน
เล่ย-ท่าเรือจิง่ หง)
เส้นทาง R3E ผ่านลาว
เส้นทาง R3W ผ่านพม่า
(แม่สาย-ท่าขี้ เหล็ก-เชียงตุง-เมือง
ลา-ต้าลั ่ว-จิง่ หง)
(เชียงของ-ห้วยทราย-หลวงน้ าทาบ่อเต็น-บ่อหาน-จิ่งหง)
ยุทธศาสตร์เพื่อนบ้านที่สาคัญ


รัฐบาลประเทศลาวได้มีการกาหนดยุทธศาสตร์พฒ
ั นาเศรษฐกิจและสังคม
ระยะ 10 ปี (ค.ศ. 2001-2010)) ซึ่งรวมถึงการปรับปรุงและพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐาน และการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั ่งยืน
รัฐบาลจีนได้ประกาศ "นโยบายดาเนินการมุ่งตะวันตก" เมื่อวันที่ 21
ธันวาคม 2544 โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อกระจายความเจริญ และยกระดับ
การพัฒนาพื้นที่ทางภาคตะวันตกให้ทดั เทียมกับภาคอื่นๆของประเทศ
โดยรัฐบาลจีนจะเข้าไปลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และระบบ
สาธารณูปโภคต่างๆภายใต้ "นโยบาย Xibu Da Kaifa" หรือ Great
Western Development Strategy
ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่สาคัญของจีนตอนใต้
การขับเคลื่อน มี 2 ยุทธศาสตร์คือ
1. ยุทธศาสตร์ 1 แกน 2ปี ก (1 Axis 2 wings) หรืออีกชื่อหนึ่งคือ
ยุทธศาสตร์ 3M ที่มุ่งเน้นการเชื่อมต่อผืนแผ่นดินของประเทศเพื่อนบ้านเป็ นแกน
หลัก (Axis-Mainland) จากจีนตอนใต้ เข้ากับเวียดนาม สปป.ลาว ไทย
มาเลเซีย และสิงคโปร์ เป็ นแกนหลัก และ ปี กแม่น้ าโขง (Wing-Mekong) ที่
เชื่อมโยงจีนตอนใต้ (ยูนนาน) พม่า สปป.ลาว ไทย กัมพูชาและเวียดนามเข้า
ด้วยกัน อีกหนึ่งปี ก (Wing-Marine) คือการเชื่อมโยงชายฝั ่งทะเลตะวันออกของ
เขตปกครองตนเองชนชาติจว้ งกว่างซี (กวางสี) จากอ่าวเป้ยปู้ เข้ากับท่าเรือหลัก
ของเวียดนามเช่นท่าเรือไฮฟอง ท่าเรือวินห์ ท่าเรือดานัง ท่าเรือคัมรานห์ ท่าเรือ
ไซ่ง่อน เข้าสู่ท่าเรือของกัมพูชาและท่าเรือแหลมฉบังของไทย
2.ยุทธศาสตร์การพัฒนาอ่าวเป้ยปู่ (Pan Beibu Development) ซึ่งรัฐบาล
ทุ่มเทและให้ความสาคัญเป็ นอย่างมากที่จะพัฒนาอ่าวเป้ยปู่ เป็ นทางออกทะเลของ
จีนตอนใต้และตะวันตก
การศึกษาขบวนการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ ระหว่าง
ไทย-สปป.ลาว-จีนตอนใต้ผ่านเส้นทาง R3A/ E
แม้ว่าเส้นทางคมนาคมจะเป็ นปั จจัยพื้นฐานสาคัญที่ช่วย
ส่งเสริมการเชื่อมโยงกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่าง
ประเทศด้านการขนส่งคนและสินค้า แต่หากระบบสถาบัน
ระหว่างประเทศ เช่นกฎหมาย กฎระเบียบ และวิธีปฏิบตั ิ
อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องขาดประสิทธิภาพและประสิทธิผลก็จะ
เป็ น ข้อจากัด อุปสรรคในการที่จะทาให้เกิดการเชื่อมโยง
ทางกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างกันอย่างมีประสิทธิผล
เป้าหมาย
การนาไปสู่การกาหนดยุทธศาสตร์ที่จะให้
ภาคเอกชนได้ใช้ประโยชน์เส้นทางการค้า
R3A/E
อย่างมีประสิทธิผล
(Cost
Effectiveness) และเพิ่มขีดความสามารถใน
การแข่งขันของประเทศไทย
(Competitiveness)
สมมุตฐิ าน
สมมุตฐิ านที่สาคัญสองประการในการศึกษานี้คือ
1 การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมทางบกระหว่าง ไทยลาว-จีนตอนใต้ในเส้นทางนี้สามารถอานวยประโยชน์ดา้ น
กายภาพในการขนส่งได้เป็ นอย่างดี และ
2 ข้อตกลงระหว่างประเทศภายใต้กรอบ GMS
สามารถสร้างประโยชน์รว่ มได้กบั ทุกฝ่ าย หากมีการ
ปฏิบตั ติ ามข้อตกลงดังกล่าว
คาถาม
“ข้อจากัดและอุปสรรคในการค้าชายแดนและ
ผ่านแดนผ่านเส้นทางนี้คืออะไร และ
ผูป้ ระกอบการไทยจะขยายโอกาสในการค้า
ชายแดนและผ่านแดนบนเส้นทางดังกล่าวได้
อย่างไร”
ประโยชน์ตอ่ ระบบเศรษฐกิจไทย



การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้โครงข่ายพื้นฐานคมนาคมขนส่งสินค้าที่มี
อยู่ โดยการพัฒนาระบบการจัดการที่นาไปสูก่ ารลดต้นทุนให้กับ
ผูป้ ระกอบการของไทย
การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กบั ผูป้ ระกอบการไทยให้
สามารถปรับตัวได้ทนั กับการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในกระแสยุคโลกาภิ
วัตร และการพัฒนาเศรษฐกิจและการลงทุนที่มีพฒ
ั นาสูร่ ะบบตลาด
อย่างเดียวหรือการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
การทาให้ภาคเอกชนรับได้ทราบถึงปั ญหา และอุปสรรคของของ
ผูป้ ระกอบการไทย เพื่อนาไปสูก่ ารกาหนดยุทธศาสตร์ สนับสนุนการ
ขยายโอกาสให้ผปู ้ ระกอบการต่อไป
ทฤษฎีการศึกษาและระเบียบวิธีการวิจยั
(Research Methodology)
กรอบแนวคิดทฤษฏีการวิเคราะห์ปัจจัย 4 ด้าน
(Diamond of Advantage)
(Diamond of Advantage)
( Industry strategy,
Structure and imputativeness)
( Home Demand
Conditions)
(Factor Conditions)
(Related and
Supporting Industries)
:
ระบบการจัดการโลจีสติกส์
,
,
,
-
(Transports)
,
(Inspections)
(Control)
(Business Logistics)
(Trade Facilities)
,
*
,
กรอบแนวทางในการดาเนินงาน
งานที่ 1 : ศึกษานโยบาย/ ยุทธศาสตร์/กรอบความร่วมมือ GMS / กฎหมายและ
กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับข้อตกลงทางการค้า การลงทุน และ การขนส่ง
ระหว่างประเทศ ไทย-ลาว-จีนตอนใต้
งานที่ 2 : ศึกษาทาความเข้าใจการไหลเวียนและเคลื่อนย้ายสินค้า และคน ใน
สภาพปั จจุบนั และแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นบนแนวเส้นทางที่จะทาการศึกษา
งานที่ 3 : ศึกษาเส้นทาง รูปแบบการขนส่งสินค้าและระบบการจัดการโลจีสติกส์ใน
พื้นที่เกี่ยวเนื่องที่เป็ นอยูใ่ นปั จจุบนั และแนวโน้มในอนาคตในแนวเส้นทาง
เชื่อมโยงและเส้นทางเกี่ยวเนื่อง
งานที่ 4 : ศึกษาการตัดสินใจของผูป้ ระกอบการในการคัดเลือกใช้หมวดการขนส่ง
เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดภายใต้กฎหมาย อุปสรรค ข้อจากัด และ
กฎระเบียบความร่วมมือระหว่างประเทศที่เป็ นอยูใ่ นปั จจุบนั
งานที่ 5 : การจัดวางยุทธศาสตร์เพื่อเพิ่มประโยชน์และการเพิ่มความสามารถใน
การแข่งขันให้กบั ผูป้ ระกอบการไทย