AEC Asean Economic Community

Download Report

Transcript AEC Asean Economic Community

Asean Economic Community
Asean Economic Community
สามารถเคลื่อนย้ ายไปมาได้ อย่าง
เสรี ไม่ต้องเสียภาษี ระหว่างกันแต่ละ
ประเทศยังคงสามารถตังอั
้ ตราภาษี ตอ่
ประเทศนอกกลุม่ ได้
สามารถเคลื่อนย้ ายปั จจัยการผลิต
สินค้ าได้ อย่างเสรี
บูรณาการทางเศรษฐกิจโดย
สมบูรณ์ ประเทศสมาชิกมี
นโยบายการเงิน และการ
คลัง ร่วมกัน
Free Trade Area
Custom Union
Common Market
Single Market
Economic Union
มีกาแพงภาษี ตอ่
ประเทศภายนอก
ในอัตราเดียวกัน
มีมาตรการเพื่อทา
ให้ ปัจจัยการผลิต
เคลื่อนย้ ายได้ อย่าง
สมบูรณ์
ความเป็ นมา
• Asean รวมตัวกัน เพือ่ เร่ งรัดความเจริ ญก้าวหน้าทาง
เศรษฐกิ จ สังคม และวัฒนธรรม ในภูมิภาค
• มีสมาชิกทังหมด10ประเทศ
้
คือ ไทย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์
อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน ลาว กัมพูชา เวียดนาม พม่า
• อาเซียนได้ ลงนามจัดตัง้ “เขตการค้ าเสรี ” (ASEAN Free
Trade Area: AFTA)
• ลงนามใน “กฏบัตรอาเซียน” วางกรอบทางกฎหมายและ
โครงสร้ างองค์กร เพื่อก้ าวสูค่ วามเป็ น ประชาคมอาเซียน
ประกอบด้ วยสามด้ าน
ความเป็ นมา
• ประชาคมอาเซียนด้ านการเมืองและความมัน่ คง
(ASEAN Security Community: ASC)
• ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(ASEAN Economic Community: AEC)
• ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
(ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC)
ประชาคมเศรษฐกิจของอาเซียน (AEC)
• ให้ ภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีความมัน่ คง มัง่ คัง่
และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆ ได้
จุดมุ่งหมาย
• อาเซียนเป็ นตลาดเดียวและเป็ นฐานการผลิต หรื อ
Single market
• การเคลื่อนย้ ายปั จจัยการผลิตได้ อย่างเสรี
• ให้ ความช่วยเหลือแก่ประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซียน คือ
กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม (CLMV)
ประชาคมเศรษฐกิจของอาเซียน (AEC)
• ส่งเสริ มความร่วมมือในนโยบายด้ านการเงิน เศรษฐกิจมห
ภาค ตลาดการเงิน และตลาดเงินทุน รวมถึง พัฒนา
โครงสร้ างพื ้นฐานในด้ านต่างๆ
จุดมุ่งหมาย
• ส่งเสริ มการ outsourcing หรื อการผลิตสินค้ า โดยใช้
วัตถุดิบและชิ ้นส่วนที่ผลิตภายในอาเซียน
• AEC ได้ มอบหมายให้ ประเทศต่างๆ ทาหน้ าที่รับผิดชอบ
เป็ นผู้ประสานงานหลัก (Country Coordinators) ในการ
ผลิตสินค้ า
• ไทย : สาขาการท่องเที่ยว (Tourism) และสาขาการบิน
(Air Travel)
พิมพ์ เขียวเพื่อจัดตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(AEC Blueprint)
• เป็ นแผนบูรณาการงานด้ านเศรษฐกิจให้ เห็นภาพรวมใน
การมุ่งไปสู่ AEC
• กาหนดยุทธศาสตร์ การก้ าวไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน ที่สาคัญดังนี ้
1. การเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน
2. การเป็ นภูมิภาคที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูง
3. การเป็ นภูมิภาคที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน
4. การเป็ นภูมิภาคที่มีการบูรณาการเข้ ากับเศรษฐกิจโลก
ผลผูกพันของ AEC ต่ อไทย
การเคลื่อนย้ ายสินค้ าเสรี
• การยกเลิกภาษีเหลือ0% ในปี 2553 ยกเว้ น สินค้ าใน
Sensitive List ภาษีไม่ต้องเป็ น 0% แต่ต้อง
< 5% ประเทศไทยมี 4 รายการ คือ กาแฟ มันฝรั่ง ไม้
ตัดดอก มะพร้ าวแห้ ง
• การขจัด NTBs
การเคลื่อนย้ ายบริการเสรี
• ลดอุปสรรคในการเข้ าสูต่ ลาดในด้ านต่างๆ ลง
• เพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นให้ กบั บุคคล/นิติบคุ คลในสัญชาติ
อาเซียน ดังนี ้
ผลผูกพันของ AEC ต่ อไทย
การเคลื่อนย้ ายเงินทุนเสรีขึน้
• ด้ านตลาดทุน
- เสริ มสร้ างความแข็งแกร่งของตลาดทุนในอาเซียนโดย
สร้ างมาตรฐานด้ านตลาดทุน
- สร้ างความตกลงสาหรับการยอมรับในคุณสมบัติและ
คุณวุฒิการศึกษา
• ด้ านเงินทุนเคลื่อนย้ าย
- เปิ ดให้ มีการเคลื่อนย้ ายเงินทุนที่เสรี ยิ่งขึ ้นอย่างค่อยเป็ น
ค่อยไป
- ให้ สมาชิกมีมาตรการปกป้องเพื่อรองรับผลกระทบจาก
ปั ญหาความผันผวนของเศรษฐกิจมหภาค และความเสี่ยง
เชิงระบบ
ผลผูกพันของ AEC ต่ อไทย
การเคลื่อนย้ ายการลงทุนเสรี
• อยู่ภายในขอบเขตความตกลงว่าด้ วยการลงทุนอาเซียน
(ACIA)
การเคลื่อนย้ ายแรงงานฝี มือเสรี
• มีการจัดการหรื ออานวยความสะดวกในการเดินทาง
โดยอานวยความสะดวกในการตรวจตราและออก
ใบอนุญาตทางาน
ความตกลงว่ าด้ วยการลงทุนอาเซียน: ACIA
- เป็ นผลมาจากการรวมและการทบทวนความตกลงด้ าน
การลงทุนของอาเซียน 2 ฉบับ
- ความตกลงว่าด้ วยเขตการลงทุนอาเซียน ปี ค.ศ.1998
(Framework Agreement on ASEAN
Investment Area: AIA Agreement)
- ความตกลงอาเซียนว่าด้ วยการส่งเสริ มและการคุ้มครอง
การลงทุน ปี ค.ศ. 1987 (ASEAN Investment
Guarantee Agreement: ASEAN IGA) รวมทัง้
พิธีสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ อง
ความตกลงว่ าด้ วยการลงทุนอาเซียน: ACIA
วัตถุประสงค์
- ตอบสนองต่อสภาพแวดล้ อมในโลกที่มีการแข่งขันเพิ่มขึ ้น
- ทาให้ อาเซียนสามารถเป็ นฐานการลงทุน เพื่อให้ บรรลุ
เป้าหมายการรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจของอาเซียน
สาระสาคัญของ ACIA ประกอบด้ วย 4 หลักใหญ่ ได้ แก่
1.การเปิ ดเสรี
2.การให้ ความคุ้มครอง
3.การส่งเสริ มการลงทุน
4.การอานวยความสะดวกด้ านการลงทุน
อุปสรรคและปั ญหาของ AEC
• ขาดความจริ งจังในระดับต่างๆ
• ขาดการบูรณาการภายในประเทศ
• เป็ นการเปิ ดเสรี แบบมีเงื่อนไข
• ข้ อบังคับด้ านกฎหมายของแต่ละประเทศที่ไม่สอดคล้ องกัน
• ผู้คนในแต่ละประเทศขาดความรู้เกี่ยวกับ AEC
• ขาดความรู้ในด้ านกฎหมายทรัพย์สินทางปั ญญา อาจทาให้
เกิดการขโมยภูมิความรู้เฉพาะด้ านของแต่ละประเทศได้
• ความเสียเปรี ยบด้ านภาษา
บทวิเคราะห์
ผลที่เกิดขึน้ เมื่อสหภาพยุโรปเข้ าสู่ระดับ Economic Union
• เงินสกุลเดียวช่วยลดต้ นทุนในการทาธุรกิจระหว่างกันในกลุม่
• ขจัดความเสี่ยงจากการผันผวน อัตราแลกเปลี่ยนภายในกลุม่
AEC & EU
• ขนาดของตลาดเงินและตลาดทุนในกลุม่ มีขนาดใหญ่อนั จะ
เป็ นการเอื ้ออานวยความ สะดวก และลดต้ นทุนในการระดม
รวมทังดึ
้ งดูดเงินทุนจากต่างประเทศ
• ขนาดของตลาดใหญ่ก่อให้ เกิดการประหยัดต่อขนาด
บทวิเคราะห์
• เกิดแรงจูงใจให้ มีการหลัง่ ไหลเงินทุนเข้ ามาในกลุม่ มากขึ ้น
• เพิ่มอานาจการต่อรองในเวทีการค้ า
• ป้องกันการถูกโจมตีคา่ เงินของแต่ละประเทศ
AEC & EU
• การรวมกันเป็ นเงินสกุลเดียวและให้ ธนาคารกลางยุโรป
(ECB) ดูแลนโยบายการเงิน ทาให้ แต่ละประเทศสมาชิก
สูญเสียอานาจในการใช้ นโยบายการเงิน
บทวิเคราะห์
กรณีวิกฤตในประเทศ กรีซ
AEC & EU
• เมื่อมีการรวมกลุม่ เป็ นสหภาพยุโรป
• ประเทศที่จดั อยู่ในกลุม่ ร่ ารวยจะมีการเคลื่อนย้ ายเงินทุนที่อยู่
ในรูปของการลงทุนทางตรง ไปสูป่ ระเทศสมาชิกที่มีต้นทุนทาง
การเงินต่ากว่า
• ประเทศกรี ซ อัตราการเติบโตของเศรษฐกิจประเทศกรี ซดี
ขึ ้น การกู้ยืมเงินง่ายขึ ้น
• การกู้ยืมและการใช้ จ่ายเกินตัวทังจากภาครั
้
ฐและภาคเอกชน
จึงขาดดุลทางการค้ าและการขาดดุลในงบประมาณเป็ น
ปั ญหาวิกฤตหนี ้
บทวิเคราะห์
กรณีวิกฤตในประเทศ กรีซ
AEC & EU
• เกิดปั ญหาวิกฤตเศรษฐกิจในประเทศสหรัฐอเมริ กา
• นักลงทุนจึงทยอยกันหยุดลงทุนในรูปของการลงทุนทางตรงใน
ประเทศกรี ซ
• การกู้ยืมและการใช้ จ่ายเกินตัวทังจากภาครั
้
ฐและภาคเอกชนจ
จึงขาดดุลทางการค้ าและการขาดดุลในงบประมาณเป็ น
ปั ญหาวิกฤตหนี ้
• ในที่สดุ ประเทศกรี ซก็ไม่สามารถจ่ายหนี ้ของประเทศได้ จน
European Central Bankต้ องเข้ ามาช่วยเหลือโดย
การรับซื ้อหุ้นกู้ของรัฐบาลกรี ซเป็ นจานวนมาก
บทวิเคราะห์
AEC & EU
• ผลกระทบที่เรี ยกว่า Hub-and-Spoke effect
- เกิดขึ ้นเมื่อประเทศหรื อกลุม่ ประเทศขนาดใหญ่ทาความ
ตกลงการค้ าเสรี แบบทวิภาคีกบั ประเทศขนาดเล็กอื่นๆอีก
หลายประเทศ และประเทศขนาดเล็กเหล่านันไม่
้ ได้ มีความตก
ลงการค้ าเสรี ระหว่างกัน
บทวิเคราะห์
- ประเทศขนาดใหญ่กลายเป็ นประเทศศูนย์กลาง (hub) ทาง
การค้ าและการลงทุน
AEC & EU
- ประเทศขนาดเล็กอื่นๆกลายเป็ นประเทศบริ วาร (spoke)
- นักลงทุนต่างชาติจะเข้ ามาลงทุนในประเทศ hub แทนการ
ลงทุนในประเทศ spoke
- ทาให้ ประเทศกาลังพัฒนาอื่นๆ สูญเสียประโยชน์ที่ควรได้ รับ
จากการลงทุนในส่วนนี ้ไป
บทวิเคราะห์
แนวโน้ มปั ญหาของเอเชียเมื่อเข้ าสู่ AEC
- กลุม่ ประเทศสมาชิกอาเซียนนันยั
้ งมีความเลื่อมล ้าทาง
เศรษฐกิจและประชากร เช่น
- เป็ นไปได้ ว่ากลุม่ ประเทศในสมาชิกอาเซียนอาจมีแนวโน้ มที่
จะเกิดวิกฤติทางการเงินดังเช่นที่เกิดขึ ้นในกรี ซได้ เช่นกันหาก
มีการพัฒนาไปถึงระดับ Economic Union
บทวิเคราะห์
แนวโน้ มผลกระทบต่ อไทย : ผลกระทบเชิงลบ
• สินค้ าของประเทศอาเซียนอื่นเข้ าสูต่ ลาดไทยได้ โดยไม่มีภาระ
ภาษี ทาให้ ผ้ ปู ระกอบการของไทยต้ องแข่งขันมากขึ ้น
• ในด้ านการลงทุน อาจทาให้ มีการย้ ายฐานการผลิตจาก
ประเทศไทยไปยังประเทศอื่นๆ ใน ASEAN ที่เหมาะสมกว่า
• การเคลื่อนย้ ายแรงงานได้ อย่างเสรี ทาให้ เกิดการเคลื่อนย้ าย
ของแรงงานมีฝีมือของไทยไปประเทศที่ให้ ค่าตอบแทนสูงกว่า
หรื อที่เรี ยกว่าปั ญหา “สมองไหล (brain drain )”
• ตลาดสินค้ าในประเทศ (Domestic Market) ได้ รับ
ผลกระทบจากสินค้ าต่างประเทศที่มีราคาถูกกว่า
บทวิเคราะห์
แนวโน้ มผลกระทบต่ อไทย : ผลกระทบเชิงบวก
• เนื่องจากตลาดอาเซียนเป็ นตลาดส่งออกอันดับหนึง่ ของไทย
การลดและยกเลิกมาตรการทางภาษีเป็ นร้ อยละ 0 เป็ นการ
เพิ่มโอกาสในการส่งออกของไทย
• ต้ นทุนในการผลิตของไทยต่าลง สามารถนาเข้ าวัตถุดิบและ
สินค้ าขันกลางที
้
่ใช้ ในการผลิต ได้ ในราคาที่ถกู ลง
• สร้ างเสริ มโอกาสการลงทุนเมื่อประเทศอาเซียนมีการ
เคลื่อนย้ ายเงินทุนได้ เสรี มากยิ่งขึ ้น
• เพิ่มพูนขีดความสามารถของผู้ประกอบการไทย เมื่อมีการใช้
ทรัพยากรการผลิตร่วมกัน
• เพิ่มอานาจการต่อรองของไทยในเวทีการค้ าโลก
ผู้จัดทา
สุ ทินี เจริ ญยิง่
ปพนวิช เหล่าวิเศษศรี
จิรวัฒน์ คณาพงศ์รัศมี
ศุภลักษณ์ สู่ เสรี ดารง
ณัฐยา แววสวัสดิ์
ศรัณยวิทย์ อดุลยธรรม
5104610810
5204610595
5204611239
5204611429
5204680267
5204680663