โรงเรียนอนุบาลด่านช้าง กฎบัตรของประชาคมอาเซียน หน้าหลัก หน้าถัดไป

Download Report

Transcript โรงเรียนอนุบาลด่านช้าง กฎบัตรของประชาคมอาเซียน หน้าหลัก หน้าถัดไป

A
N
U
B
A
N
D
A
N
C
H
A
N
G
หน้ าหลัก
หน้ าถัดไป
ย้ อนกลับ
อาเซี ยน หรื อ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
(Association of South East Asian Nations หรื อ ASEAN) ก่อตั้งขึ้นโดย
ปฏิญญากรุ งเทพ (The Bangkok Declaration) เมื่อวันที่ 8 สิ งหาคม 2510
หน้ าหลัก
หน้ าถัดไป
ย้ อนกลับ
โดยสมาชิกผูก้ ่อตั้งมี 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซี ย ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์
และไทย ซึ่ งผูแ้ ทนทั้ง 5 ประเทศ ประกอบด้วย นายอาดัม มาลิก
(รัฐมนตรี ต่างประเทศอินโดนีเซี ย) ตุน อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซน
(รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี กลาโหมและรัฐมนตรี กระทรวงพัฒนาการ
แห่งชาติมาเลเซี ย) นายนาซิ โซ รามอส (รัฐมนตรี ต่างประเทศฟิ ลิปปิ นส์)
หน้ าหลัก
หน้ าถัดไป
ย้ อนกลับ
นายเอส ราชารัตนัม (รัฐมนตรี ต่างประเทศสิ งค์โปร์ และพันเอก
(พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ (รัฐมนตรี ต่างประเทศไทย) ในเวลาต่อมาได้มี
ประเทศต่างๆ เข้าเป็ นสมาชิกเพิม่ เติม ได้แก่ บรู ไนดารุ สซาลาม
(เป็ นสมาชิกเมื่อ 8 ม.ค. 2527) เวียดนาม (วันที่ 28 ก.ค. 2538) ลาว พม่า
(วันที่ 23 ก.ค. 2540) และ กัมพูชา (วันที่ 30 เม.ย. 2542) ตามลาดับ จาก
การรับกัมพูชาเข้าเป็ นสมาชิก ทาให้อาเซี ยนมีสมาชิกครบ 10 ประเทศใน
เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
หน้ าหลัก
หน้ าถัดไป
ย้ อนกลับ
เพื่อส่ งเสริ มความร่ วมมือและความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจสังคม
วัฒนธรรม เทคโนโลยี และการบริ หาร ส่ งเสริ มสันติภาพและความมัน่ คง
ของภูมิภาค ส่ งเสริ มความร่ วมมือระหว่างอาเซี ยนกับต่างประเทศและ
องค์กรระหว่างประเทศ
ข้ อมูลพืน้ ฐานที่สาคัญ
หน้ าหลัก
ประเทศสมาชิก
หน้ าถัดไป
พืน้ ที่
ประชากร
ภาษา
(ตารางกม)
(ล้านคน)
ราชการ
ผลิตภัณฑ์ ดัชนีการ
มวลรวมของ พัฒนา
ชาติ (GDP) ทรัพยากร
มนุษย์
(พันล้าน
ดอลลาร์ )
(HDI)
432.9
0.728
ย้ อนกลับ
อินโดนีเซีย
5,193,250
245.5
อินโดนีเซีย
ฟิ ลิปปิ นส์
298,170
91
ฟิ ลิปิโน
และอังกฤษ
142.3
0.771
147.5
0.922
272.13
13.54
0.781
0.984
อังกฤษ
หน้ าหลัก
สิงคโปร์
699.4
4.6
หน้ าถัดไป
จีนกลาง
มลายู
และทมิฬ
ย้ อนกลับ
ไทย
บรูไน ดารุสซาลาม
63
5,765 0.381371
514,000
ไทย
มาเลย์
หน้ าหลัก
หน้ าถัดไป
ย้ อนกลับ
เวียดนาม
331,690
87
เวียดนาม
73.5
0.733
ลาว
236,880
6
ลาว
3.94
0.601
พม่ า
657,740
48.8
พม่ า
9.3
0. 583
กัมพูชา
181,035
14.45
เขมร
8.63
0.598
หน้ าหลัก
หน้ าถัดไป
ย้ อนกลับ
สัญลักษณ์ของอาเซี ยน คือ รู ปรวงข้าว สี เหลืองบนพื้นสี แดงล้อมรอบ
ด้วยวงกลมสี ขาวและสี น้ าเงิน
รวงข้าว 10 ต้น หมายถึง ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ สี เหลืองหมายถึง
ความเจริ ญรุ่ งเรื อง สี แดง หมายถึง ความกล้าหาญและการมีพลวัติ สี ขาว
หมายถึง ความบริ สุทธิ์ และสี น้ าเงิน หมายถึง สันติภาพและความมัน่ คง
หน้ าหลัก
หน้ าถัดไป
ย้ อนกลับ
5. ลาว (Laos)
ประกอบด้วย
6. มาเลเซี ย (Malaysia)
1. บรู ไนดารุ สซาลาม (Brunei Darussalam) 7. ฟิ ลิปปิ นส์ (Philippines)
2. ไทย (Thailand)
8. สิ งคโปร์ (Singapore)
3. กัมพูชา (Cambodia)
9. เวียดนาม (Vietnam)
4. อินโดนีเซี ย (Indonesia)
10. พม่า (Myanmar)
หน้ าหลัก
หน้ าถัดไป
ย้ อนกลับ
เป็ นร่ างสนธิ สัญญาที่ทาร่ วมกันระหว่างประเทศสมาชิกในสมาคม
ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ เพื่อเป็ นเครื่ องมือในการวาง
กรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กรของสมาคม ทั้งนี้เพื่อเพิ่ม
ประสิ ทธิภาพของอาเซี ยนในการดาเนินการตามวัตถุประสงค์และ
เป้ าหมาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ การขับเคลื่อนการรวมตัวเป็ นประชาคม
อาเซี ยน
หน้ าหลัก
หน้ าถัดไป
ย้ อนกลับ
ภายในปี พ.ศ. 2558 ตามที่ผนู ้ าอาเซี ยนได้ตกลงกันไว้ ประชาคม
อาเซี ยนประกอบด้วยเสาหลัก 3 เสา ดังนี้
1.เสาหลักด้านการเมืองและความมัน่ คงของภูมิภาค (ASEAN Security
Community – ASC) มุ่งให้ประเทศในภูมิภาคอยูร่ ่ วมกันอย่างสันติ มี
ระบบแก้ไขความขัดแย้ง ระหว่างกันได้ดว้ ยดี มีเสถียรภาพอย่างรอบด้าน
มีกรอบความร่ วมมือเพื่อรับมือกับภัยคุกคามความมัน่ คงทั้งรู ปแบบเดิม
และรู ปแบบใหม่ๆ เพื่อให้ประชาชนมีความปลอดภัยและมัน่ คง
หน้ าหลัก
หน้ าถัดไป
ย้ อนกลับ
2. เสาหลักทางด้ านเศรษฐกิจอาเซียน
(ASEAN Economic Community – AEC) มุ่งให้เกิดการรวมตัวกันทาง
เศรษฐกิจ และการอานวยความสะดวกในการติดต่อค้าขายระหว่างกัน อัน
จะทาให้ภมู ิภาคมีความเจริ ญมัง่ คัง่ และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆ
ได้เพื่อความอยูด่ ีกินดีของประชาชนในประเทศอาเซี ยน โดย
มุ่งให้เกิดการไหลเวียนอย่างเสรี ของ สิ นค้า บริ การ การลงทุน เงินทุน
การพัฒนาทางเศรษฐกิจ และการลดปั ญหาความยากจนและความเหลื่อม
ล้ าทางสังคมภายในปี 2020
หน้ าหลัก
หน้ าถัดไป
ย้ อนกลับ
ส่ งเสริ มความร่ วมมือในนโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหภาคตลาด
การเงินและตลาดทุน การปะกันภัยและภาษีอากร การพัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐานและการคมนาคม พัฒนาความร่ วมมือด้านกฎหมาย การเกษตร
พลังงาน การท่องเที่ยว การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการยกระดับ
การศึกษาและการพัฒนาฝี มือแรงงาน
หน้ าหลัก
หน้ าถัดไป
ย้ อนกลับ
กลุ่มสิ นค้าและบริ การนาร่ องที่สาคัญ ที่จะเกิดการรวมกลุ่มกัน
คือ สิ นค้าเกษตร / สิ นค้าประมง / ผลิตภัณฑ์ไม้ / ผลิตภัณฑ์ยาง / สิ่ งทอ /
ยานยนต์ /อิเล็กทรอนิกส์ / เทคโนโลยีสารสนเทศ (e-ASEAN) / การ
บริ การด้านสุ ขภาพ, ท่องเที่ยวและการขนส่ งทางอากาศ (การบิน)
กาหนดให้ปี พ.ศ. 2558 เป็ นปี ที่เริ่ มรวมตัวกันอย่างเป็ นทางการ โดยผ่อน
ปรนให้กบั ประเทศ ลาว กัมพูชา พม่า และเวียดนาม
ประเทศไทยได้รับมอบหมายให้ทา Roadmap ทางด้านท่องเที่ยวและ
การขนส่ งทางอากาศ (การบิน)
หน้ าหลัก
หน้ าถัดไป
ย้ อนกลับ
3. เสาหลักทางสั งคมและวัฒนธรรมของประชาคมอาเซียน
(ASEAN Socio-Cultural Community - ASCC) เพื่อให้ประชาชนแต่ละ
ประเทศอาเซี ยนอยูร่ ่ วมกันภายใต้แนวคิดสังคมที่เอื้ออาทร มีสวัสดิการ
ทางสังคมที่ดี และมีความมัน่ คงทางสังคม
หน้ าหลัก
ย้ อนกลับ