การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา สู่ประชาคม อาเซียน ในปี 2558 เฉลียว
Download
Report
Transcript การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา สู่ประชาคม อาเซียน ในปี 2558 เฉลียว
การเตรียมความพร้ อมของสถานศึกษา
สู่ ประชาคม อาเซียน ในปี 2558
เฉลียว อยู่สีมารักษ์
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ความเป็ นมา
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of
South East Asian Nations) หรื อ ASEAN - อาเซียน เป็ นองค์กร
ทางภูมิรัฐศาสตร์และองค์การความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ ในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบนั มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10
ประเทศ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ อินโดนีเซีย สิ งคโปร์ บรูไน
ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพม่ า
ปฏิญญากรุงเทพ
อาเซียนมีจุดเริ่ มต้นจากสมาคมอาสา ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม
พ.ศ. 2504 โดยไทย มาเลเซีย และฟิ ลิปปิ นส์ แต่ได้ถูกยกเลิกไป ต่อมา
ในปี พ.ศ. 2510 ได้มีการลงนามใน "ปฏิญญากรุงเทพ" อาเซียนได้
ถือกาเนิดขึ้นโดยมีรัฐสมาชิกเริ่ มต้น 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย
ฟิ ลิปปิ นส์ มาเลเซีย สิ งคโปร์ และไทย โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อความ
ร่ วมมือในการเพิ่มอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม
วัฒนธรรมในกลุ่มประเทศสมาชิก และการธารงรักษาสันติภาพและ
ความมัน่ คงในภูมิภาค และเปิ ดโอกาสให้คลายข้อพิพาทระหว่าง
ประเทศสมาชิกอย่างสันติ
ประชาคมอาเซียน
หลังจาก พ.ศ. 2527 เป็ นต้นมา อาเซียนมีรัฐสมาชิกเพิ่มขึ้นจนมี 10
ประเทศในปัจจุบนั
เดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 ได้มีการลงนามใน กฎบัตรอาเซียน ซึ่งทา
ให้อาเซียนมีสถานะคล้ายกับสหภาพยุโรปมากยิง่ ขึ้น เขตการค้าเสรี
อาเซียนได้เริ่ มประกาศใช้ต้ งั แต่ตน้ ปี พ.ศ. 2553 และกาลังก้าวสู่ความ
เป็ นประชาคมอาเซียน ซึ่งจะประกอบด้วยประชาคม 3 ด้าน คือ
- ประชาคมอาเซียนด้านการเมืองและความมัน่ คง
- ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
- และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558
กฏบัตรอาเซียน
วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ที่ประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศ
ของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ จัดขึ้นที่
สานักงานเลขาธิการอาเซียน ในกรุ งจาการ์ตา ประเทศ
อินโดนีเซีย ได้ประกาศใช้ “กฎบัตรอาเซียน – ASEAN
Charter” อย่างเป็ นทางการ ส่ งผลให้การดาเนินงานของ
อาเซียน เป็ นไปภายใต้กฎหมายเดียวกันและปูทางไปสู่การ
สร้างตลาดเดียวในภูมิภาคภายใน 7 ปี
กฏบัตรอาเซียน
กฎบัตรอาเซียน เป็ นร่ างสนธิสญ
ั ญาที่ทาร่ วมกันระหว่าง
ประเทศสมาชิกในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออก
เฉี ยงใต้ เพื่อเป็ นเครื่ องมือในการวางกรอบทางกฎหมายและ
โครงสร้างองค์กรของสมาคม ทั้งนี้เพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพของ
อาเซียนในการดาเนินการตามวัตถุประสงค์และเป้ าหมาย
โดยเฉพาะอย่างยิง่ การขับเคลื่อนการรวมตัวเป็ นประชาคม
อาเซียน ภายในปี พ.ศ. 2558 ตามที่ผนู้ าอาเซียนได้ตกลงกัน
ไว้
คาขวัญอาเซียน
“วิสัยทัศน์ เดียว อัตลักษณ์ เดียว ประชาคมเดียว-One Vision,
One Identity, One Community ” คือคาขวัญของอาเซียนที่
จะช่วยส่ งเสริ มอัตลักษณ์ร่วมกันของตนและความรู ้สึกเป็ น
เจ้าของในหมู่ประชาชนของตน เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายและ
คุณค่าร่ วมกันของอาเซียน โดยในระยะเวลาอันใกล้น้ ีจะได้มี
การประกาศปฏิญญาเรี ยกร้องให้รัฐสมาชิกให้สตั ยาบันต่อกฎ
บัตรโดยเร็ ว
วัตถุประสงค์ กฏบัตรอาซียน
วัตถุประสงค์ ของกฎบัตรเป็ นการประมวลบรรทัดฐาน (Norm) และค่านิยม
(Value) ของอาเซี ยนที่สรุ ปได้ดงั นี้
ภาพรวมของประชาคมอาเซี ยน การรักษาและเพิ่มพูนสันติภาพ ความมัน่ คง
เสถียรภาพ การเพิม่ ความร่ วมมือด้านการเมือง ความมัน่ คง เศรษฐกิจและสังคม
วัฒนธรรม เป็ นเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์และอาวุธที่มีอานุภาพทาลายล้างสู ง
ด้ านเศรษฐกิจ สร้างตลาดและฐานการผลิตเดียวและความสามารถในการ
แข่งขันสู ง การรวมตัวทางเศรษฐกิจที่มีการเคลื่อนย้ายเสรี ของสิ นค้า/บริ การ
การลงทุนและแรงงาน การเคลื่อนย้ายทุนเสรี ยงิ่ ขึ้น
ด้ านความมัน่ คงของมนุษย์ บรรเทาความยากจน และลดช่องว่างการพัฒนา
ส่ งเสริ มพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ผา่ นความร่ วมมือด้านการศึกษาและการเรี ยนรู้
ตลอดชีพ
วัตถุประสงค์ กฏบัตรอาซียน
ด้ านสั งคม ส่ งเสริ มอาเซี ยนที่มีประชาชนเป็ นศูนย์กลาง สร้างสังคมที่ปลอดภัย
มัน่ คงจากยาเสพติด เพิ่มพูนความกินดีอยูด่ ีของประชาชนอาเซี ยน ผ่านโอกาสที่
ทัดเทียมกันในการเข้าถึงการพัฒนามนุษย์, สวัสดิการ และความยุติธรรม
ด้ านสิ่ งแวดล้ อม สนับสนุนการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนที่คุม้ ครองสภาพแวดล้อม
ความยัง่ ยืนของทรัพยากรธรรมชาติ
ด้ านวัฒนธรรม ส่ งเสริ มอัตลักษณ์ของอาเซี ยนโดยเคารพความหลากหลายและ
อนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม
ด้ านการเมืองความมัน่ คง คุม้ ครองสิ ทธิ มนุษยชนและเสรี ภาพขั้นพื้นฐาน
เสริ มสร้างประชาธิ ปไตย เพิม่ พูนธรรมาภิบาลและหลักนิติธรรม ตอบสนองต่อ
สิ่ งท้าทายความมัน่ คง เช่น การก่อการร้าย
ความร่ วมมือภายใต้ กรอบการศึกษา
ประเทศไทยเป็ นประเทศเริ่ มต้นในการก่อตั้งอาเซียน ในการ
ประชุมอาเซียนครั้งล่าสุ ดในปี ที่ผา่ นมาที่ชะอาและหัวหิ น ได้มี
ความร่ วมมือกันที่จะนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงใน 4 เรื่ องที่สาคัญ คือ
1) พัฒนาอาเซียนให้เป็ นหนึ่งเดียวทั้ง 600 ล้านคน
2) ร่ วมพัฒนา 3 เสาหลักของอาเซียนคือ เศรษฐกิจหนึ่งเดียว ความ
มัน่ คงและการเมือง และการศึกษาสังคมและวัฒนธรรม
3) ใช้ภาษาอังกฤษเป็ นภาษากลางของอาเซียน
4) ลงทุนความร่ วมมือ MOU ในทุกระดับ
การประชุมรัฐมนตรีศึกษาอาเซียน
ครั้งที่ 6
ที่ประชุมได้เห็นชอบแผนยุทธศาสตร์ 9 ประการ เพื่อแสดงเจตนารมณ์ในการ
เข้าสู่ ประชาคมอาเซี ยน ภายในปี 2558 ดังนี้
1. การสร้างความตระหนักรู ้ของประชากรในการก้าวสู่ ประชาคมอาเซี ยน
2. ความร่ วมมือในการพัฒนาภาษาที่ให้ใช้ภาษาอังกฤษเป็ นภาษากลาง
3. การแลกเปลี่ยนครู และนักเรี ยน
4. ส่ งเสริ มเทคโนโลยีทางการศึกษาของกลุ่มประเทศอาเซี ยน
5. ส่ งเสริ มความเป็ นเลิศของบุคลากรประเทศภาคีในกลุ่มอาเซี ยน เพื่อการ
แลกเปลี่ยนช่วยเหลือกันในการพัฒนาศักยภาพของประชาคมอาเซี ยนให้
สามารถแข่งขันกับประชาคมโลกต่อไปได้
การประชุมรัฐมนตรีศึกษาอาเซียน
ครั้งที่ 6
6. ธารงรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่นของประชากรในแต่ละภูมิภาค
โดยเฉพาะการดูแลภาษาแม่ของแต่ละประเทศให้มีความเข้มแข็ง
ถึงแม้วา่ จะใช้ภาษาอังกฤษก็ตาม
7. การเชื่อมโยงด้านวัฒนธรรมของแต่ละประเทศในกลุ่มประเทศ
อาเซียน
8. ร่ วมมือแลกเปลี่ยนนักเรี ยนนักศึกษาในแต่ละระดับ
9. เชื่อมโยงการประชุมรัฐมนตรี ศึกษาอาเซียนและรัฐมนตรี ศึกษา
แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในทุก 2 ปี
การเตรียมความพร้ อมของ ศธ
การเตรี ยมความพร้อมเข้าสู่ ประชาคมอาเซี ยนในปี 2558 ศธ.มีนโยบายชัดเจน
ในการพัฒนาการศึกษาเพื่อรองรับการเป็ นประชาคมอาเซี ยนร่ วมกัน
พัฒนาหลักสู ตรอาเซี ยนศึกษา เพื่อให้เกิดความเข้าใจร่ วมกัน และมีเจตคติใน
การอยูร่ ่ วมกันที่ดี เพื่อการขับเคลื่อนการเป็ นประชาคมที่เข้มแข็งต่อไป
เตรี ยมพัฒนาสถาบันการศึกษาไปสู่ มาตรฐานสากล มีหลักสู ตรภาษาอังกฤษ มี
การสอนเรื่ องโลกศึกษา เพื่อให้นกั เรี ยนเข้าใจการอยูร่ ่ วมกันในสังคมโลก
ต่อไปในอนาคต
ดาเนินการร่ วมมือกับภาคส่ วนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการเปิ ดเสรี ทางการค้า การ
ลงทุน และการเปิ ดโรงเรี ยนนานาชาติเพิม่ มากขึ้น
โครงการพัฒนาสถานศึกษา สพฐ.
การเตรี ยมสถานศึกษาให้เป็ นศูนย์อาเซียนศึกษาหรื อ Buffer School
การเตรี ยมพร้อมทางด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา โดยจะพัฒนา 3N
ได้แก่ 1. NEdNet โครงข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. NEIS ศูนย์กลาง
รวบรวม จัดเก็บ และเชื่อมโยงข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา 3. NLC
ศูนย์เรี ยนรู ้แห่งชาติ เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้มีการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองตลอดเวลา
การพัฒนาหลักสูตรและสื่ อเกี่ยวกับอาเซียน
กิจกรรมค่ายเยาวชนเพื่อการเรี ยนรู ้สู่ประชาคมอาเซียน
นโยบายการดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงานตามปฏิญญาอาเซียนด้ านการศึกษา กาหนด
เป็ นนโยบายได้ ดังนี้
1. การเผยแพร่ ความรู้ ข้ อมูลข่ าวสารเกีย่ วกับอาเซียน เพื่อสร้างความ
ตระหนักและเตรี ยมความพร้อม ของครู /คณาจารย์และบุคลากร
ทางการศึกษา นักเรี ยน นักศึกษา และประชาชน
2. การพัฒนาศักยภาพของนักเรียน นักศึกษาและประชาชน เช่น
ความรู ้ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะ
และความชานาญที่สอดคล้องกับการปรับตัวและเปลี่ยนแปลงทาง
อุตสาหกรรมและการเพิม่ โอกาสในการหางานทาของประชาชน
นโยบายการดาเนินงาน
3. การพัฒนามาตรฐานการศึกษาเพือ่ ส่ งเสริมการหมุนเวียนของ
นักศึกษาและครูอาจารย์ ในอาเซียน รวมทั้งให้มีการยอมรับใน
คุณสมบัติทางวิชาการร่ วมกันในอาเซียน การส่ งเสริ มความร่ วมมือ
ระหว่างสถาบันการศึกษาต่างๆและการแลกเปลี่ยนเยาวชน การ
พัฒนาระบบการศึกษาทางไกล ซึ่งช่วยสนับสนุนการศึกษาตลอด
ชีวิต การส่ งเสริ มและปรับปรุ งการศึกษาด้านอาชีวศึกษาและการ
ฝึ กอบรมทางอาชีพทั้งในขั้นต้นและขั้นต่อเนื่อง ตลอดจนส่ งเสริ ม
และเพิ่มพูนความร่ วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาของประเทศ
สมาชิกอาเซียน
นโยบายการดาเนินงาน
4. การเตรียมความพร้ อมเพือ่ เปิ ดเสรีทางการศึกษาในอาเซียน เพื่อ
รองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประกอบด้วย การจัดทา
ความตกลงยอมรับด้านการศึกษา การพัฒนาความสามารถ
ประสบการณ์ในสาขาวิชาชีพสาคัญต่างๆ เพื่อรองรับการเปิ ดเสรี
การศึกษาควบคู่กบั การเปิ ดเสรี ดา้ นการเคลื่อนย้ายแรงงาน
5. การพัฒนาเยาวชนเพือ่ เป็ นทรัพยากรสาคัญในการก้าวสู่
ประชาคมอาเซียน