แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางสังคมไทยฯ พม ดร.ประภัสสร์๋

Download Report

Transcript แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางสังคมไทยฯ พม ดร.ประภัสสร์๋

แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ของไทยเมื่อเข้าสูเ่ วทีอาเซียน
รศ.ดร.ประภัสสร์ เทพชาตรี
ผูอ้ านวยการ ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
27 กุมภาพันธ์ 2556
ความสาคัญของอาเซียนต่อไทย
•
•
•
•
•
•
•
การค้า
การผงาดขึ้นมาของอาเซียนเป็ นขั้วเศรษฐกิจโลก
อานาจการต่อรอง
อาเซียนเป็ นแกนกลางสถาปั ตยกรรมของภูมิภาค
ด้านความมั ่นคง
ด้านสังคมวัฒนธรรม
ประชาคมอาเซียน ครอบครัวเดียวกัน บ้านหลังเดียวกัน
วิวฒ
ั นาการของประชาคมอาเซียน
•
•
•
•
•
การก่อตั้งอาเซียน 1967
การประชุมสุดยอดบาหลี 1976
PTA, AIC, AIP, AIJV
เวียดนามบุกยึดเขมร 1978
อาเซียนในยุคหลังสงครามเย็น
• การประชุมสุดยอดที่สิงคโปร์ 1992
 AFTA , ARF
• การประชุมสุดยอดที่ กรุงเทพฯ 1995
 SEANWFZ
 SEA-10
• อาเซียนในยุควิกฤติเศรษฐกิจ
• Initiative for ASEAN Integration (IAI)
• การประชุมสุดยอดที่บาหลี 2003
 ASEAN Community by 2020/2015
ประชาคม
การเมืองและความมั ่นคง
A. การพัฒนาความร่วมมือด้านการเมือง
B. ภูมิภาคแห่งความร่วมมือ สันติภาพ และการ
ประนีประนอม ด้วยความรับผิดชอบร่วมเพื่อความ
มั ่นคงรอบด้าน
B.1 การป้องกันความขัดแย้ง/มาตรการ
ส่งเสริมความเชื่อมั ่น
B.2 การแก้ไขข้อขัดแย้ง และการจัดตัง้ กลไก
ในการระงับข้อพิพาทในภูมิภาคแปซิฟิก
B.3 การเสริมสร้างสันติภาพหลังความขัดแย้ง
B.4 ความมั ่นคงรูปแบบใหม่
B.5
สร้างความเข้มแข็งความร่วมมือการจัดการกับ
ภัยพิบตั แิ ละการเตรียมความพร้อมในการ
รับมือกับภาวะฉุกเฉิน
B.6 การตอบสนองอย่างมีประสิทธิภาพในเวลาที่
เหมาะสมต่อประเด็นเร่งด่วนและสถานการณ์
วิกฤตที่มีผลกระทบต่ออาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจ
A. การเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียว
A1. การเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี
A2. การเคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี
A3. การเคลื่อนย้ายการลงทุนเสรี
A4. การเคลื่อนย้ายเงินทุนเสรีข้ ึน
A5. การเคลื่อนย้ายแรงงานฝี มือเสรี
B. การไปสูภ่ ูมิภาคที่มีความสามารถในการ
แข่งขันสูง
B1. นโยบายการแข่งขัน
B2. การคุม
้ ครองผูบ้ ริโภค
B3. สิทธิในทรัพย์สินทางปั ญญา
B4. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
C. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเท่าเทียมกัน
C1. วิสาหกิจขนาดกลางและย่อม
C2. การลดช่องว่างการพัฒนา
D. การบูรณาการกับเศรษฐกิจโลก
D1. แนวทางการสร้างความเป็ นหนึ่ง
เดียวกันต่อปฏิสมั พันธ์ดา้ นเศรษฐกิจ
กับภายนอก
D2. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในเครือข่าย
อุปทานของโลก
ประชาคม
สังคมและวัฒนธรรม
A.
B.
C.
D.
E.
F.
การพัฒนามนุษย์
การคุม้ ครองและสวัสดิการสังคม
ความยุตธิ รรมและสิทธิ
ส่งเสริมความยั ่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม
การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
การลดช่องว่างทางการพัฒนา
ผลกระทบและการปรับตัวของไทย
ผลกระทบในภาพรวม
• เมื่อเกิดประชาคมอาเซียน ความร่วมมือจะเพิ่มมาก
ขึ้นในทุกๆด้าน
• การติดต่อระหว่างหน่วยงานราชการต่างๆของ
ประเทศสมาชิกอาเซียนจะเพิ่มมากขึ้น
• ข้าราชการเกือบทุกกระทรวง ทบวง กรม จะต้อง
เกี่ยวข้องกับเรือ่ งของอาเซียนมากยิง่ ขึ้น
• จึงต้องมีการปรับตัวเพื่อให้ทนั กับประเทศ
อาเซียนอื่นๆ
• ระบบราชการไทยต้องทางานให้ทนั กับ
ระบบราชการของประเทศอาเซียนอื่นๆ
• ภาคส่วนต่างๆจะเข้ามามีสว่ นร่วมมากขึ้น
• หน่วยงานราชการของไทยต้องเปิ ดกว้าง
มากขึ้น ในการดึงเอาภาคส่วนต่างๆเข้ามามี
ส่วนร่วม
การปรับตัวของภาคราชการไทย
• ต้องรูเ้ รื่องอาเซียนมากขึ้น
• ต้องรูจ้ กั ประเทศเพื่อนบ้านมากขึ้น
• ต้องรูภ้ าษาประเทศเพื่อนบ้านมากขึ้น
• ต้องเปลี่ยน mentality ต่อประเทศ
เพื่อนบ้าน
• ต้องสร้างคนรุน่ ใหม่ที่ให้ความสาคัญกับ
ประเทศเพื่อนบ้าน
• สร้างคนรุน่ ใหม่ที่มองประเทศเพื่อนบ้านใน
แง่บวก ไม่ใช่มองเป็ นศัตรู
• ภาษาอังกฤษเป็ นภาษากลางของอาเซียน
- ในอนาคต ปฏิสมั พันธ์ระหว่างอาเซียน
เพิ่มมากขึ้น ภาคราชการไทยต้องรีบ
ปรับตัวในด้านทักษะภาษาอังกฤษ
•
ภาคราชการไทยต้องรีบปรับปรุง
ประสิทธิภาพ
• ต้องเปิ ดกว้างการมีสว่ นร่วมของภาค
ประชาชน
ประชาคมการเมืองและความมั ่นคง
ผลกระทบ
• ให้ความสาคัญกับ ประชาธิปไตย และสิทธิมนุ ษยชน
มากขึ้น
• สิทธิเสรีภาพของประชาชน จะได้รบั การปกป้องดีข้ ึน
• จะมีขอ้ ตกลงมากขึ้น
• ความขัดแย้งจะลดลง เพราะอาเซียนจะมีกลไก
ป้องกันและแก้ไขความขัดแย้ง
การปรับตัว
• การพัฒนาทางการเมือง สิทธิมนุษยชน : กระทรวง
ที่เกี่ยวข้องต้องเพิ่มบทบาท ผลักดันความร่วมมือ
ด้านสิทธิมนุษยชน
• การพัฒนาบรรทัดฐาน : กระทรวงที่เกี่ยวข้องต้อง
เตรียมพร้อมการจัดทาข้อตกลงระหว่างประเทศ
• กลไกป้องกันและแก้ไขความขัดแย้ง :
หน่วยงานความมั ่นคงต้องเตรียมพร้อม
ประชาคมเศรษฐกิจ
ผลกระทบ

การเปิ ดเสรีการเคลื่อนย้ายสินค้า
◦ สินค้าบางตัว ไทยได้เปรียบ
◦ อุตสาหกรรมบางอุตสาหกรรมไทย
เสียเปรียบ
◦ สินค้าราคาถูกจากประเทศเพื่อนบ้าน
เช่น ข้าว
◦ ภาพรวม : ไม่กระทบต่อไทยมากนัก
เพราะมี AFTA อยูแ่ ล้ว

การเปิ ดเสรีภาคบริการ
◦ ไทยน่าจะแข่งขันได้
◦ ไทยน่าจะได้ประโยชน์มากกว่า
เสียประโยชน์

การเปิ ดเสรีดา้ นการลงทุนและ
การเคลื่อนย้ายเงินทุน
◦ ไทยน่าจะได้ประโยชน์
◦ โอกาสการลงทุนในประเทศอาเซียน

การเปิ ดเสรีแรงงานมีฝีมือ
◦
◦
◦
◦
◦
แพทย์
นักบัญชี
วิศวกร
พยาบาล
สถาปนิก
◦ โอกาสมากขึ้น แต่การแข่งขัน
ก็มากขึ้นด้วย
◦ ข้อจากัดเรื่องภาษาอังกฤษ
การปรับตัว
• กลุ่มที่ 1 : หน่วยงานด้านเศรษฐกิจ
ของไทย
• กลุ่มที่ 2 : ภาคเอกชน
• กลุ่มที่ 3 : ประชาชน
• หน่วยงานเศรษฐกิจต้องศึกษาผลกระทบจาก
การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจ
• หน่วยงานเศรษฐกิจต้องให้ความรูแ้ ก่
ภาคเอกชน และภาคประชาชน ถึงผลกระทบ
ทั้งในเชิงบวก และในเชิงลบ
• ต้องเตรียมมาตรการรองรับต่อผลกระทบ
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
ผลกระทบและการปรับตัว
• การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
• ความร่วมมืออาเซียน กระจายไปเกือบทุกกระทรวง
จึงมีหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
• หน่วยงานไทยต้องปรับตัวเพื่อเตรียมความพร้อม
มากขึ้น
• ต้องเข้าไปมีสว่ นร่วมในการจัดตั้งประชาคม
สังคมและวัฒนธรรม
• การคุม้ ครองสวัสดิการสังคม : เป็ นเรื่อง
ของ พ.ม. และกระทรวงอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
• สิ่งแวดล้อม : กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมเกี่ยวข้องโดยตรง
• การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน : เน้นส่งเสริม
ความร่วมมือทางวัฒนธรรม จึงมีกระทรวง
วัฒนธรรมเป็ นหน่วยงานเกี่ยวข้องโดยตรง
บทบาทของภาคราชการไทย
ในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน
• ภาคราชการไทยต้องมีบทบาทในการ
ผลักดันและเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดตัง้
ประชาคมอาเซียน
• ช่วยทาให้ไทยกลับมามีบทบาทนาใน
อาเซียน
• ผลักดันประเด็นต่างๆที่จะมีประโยชน์
ต่อไทย
Roadmap
1. การเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร
1.1 ความพร้อมด้านทักษะ
1.1.1 ทักษะภาษา
1.1.2 ทักษะการเจรจาต่อรอง
1.1.3 ทักษะการดาเนินการประชุม
1.1.4 ทักษะด้านกฎหมายระหว่างประเทศ
1.1.5 ทักษะการทางานเป็ นทีม
1.1.6 ทักษะด้านองค์ความรูเ้ กี่ยวกับอาเซียน
1.1.7 ทักษะด้านการสร้างและกาหนดมาตรฐานกลาง
ระหว่างประเทศ
1.2 ความพร้อมด้านทัศนคติ
1.2.1 ทัศนคติทางบวกต่อประชาคมอาเซียน
1.2.2 ทัศนคติความเท่าเทียมและเป็ นกลุ่ม
เดียวกันต่อประเทศสมาชิก
1.2.3 ทัศนคติในการทางานแบบมืออาชีพ
1.3 ความพร้อมด้านสมรรถนะ
1.3.1 การมุ่งผลสัมฤทธิ์
1.3.2 การบริการที่ดี
1.3.3 การสั ่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ
1.3.4 จริยธรรม
1.3.5 ความร่วมแรงร่วมใจ
1.4 ความพร้อมด้านบุคลากร
1.4.1 มีความเป็ นมืออาชีพ
1.4.2 มีความเป็ นนานาชาติ
1.4.3 มีความเป็ นผูส้ นับสนุน
1.5 ความพร้อมด้านการกาหนดบุคคล/หน่วยงาน
รับผิดชอบด้านอาเซียนโดยตรง
1.6 ความพร้อมด้านระบบฐานข้อมูลบุคลากรที่
รับผิดชอบด้านอาเซียน
1.7 ความพร้อมด้านแผนพัฒนาบุคลากรสู่อาเซียน
ระยะ 4 ปี
1.8 ความพร้อมด้านการเพิ่มบุคลากรภาครัฐที่มีองค์
ความรูเ้ รือ่ งอาเซียน
1.9 ความพร้อมด้านการเพิ่มสัดส่วนบุคลากรด้าน
อาเซียนให้ได้ตามเป้าหมายที่กาหนด
1.10 ความพร้อมด้านการจัดการความรูเ้ รือ่ ง
อาเซียนขององค์กร
1.11 ความพร้อมด้านการสร้าง career path
แก่บุคลากรด้านอาเซียน
1.12 ความพร้อมด้านระบบสรรหา คัดเลือก และ
พัฒนาบุคลากรด้านอาเซียน
1.13 ความพร้อมด้านแผนฝึ กอบบรมบุคลากรด้าน
อาเซียน
2. การเตรียมความพร้อมด้านงบประมาณ
3. การเตรียมความพร้อมด้านองค์กร
4. การเตรียมความพร้อมด้านยุทธศาสตร์
4.1 ยุทธศาสตร์ในเชิงตัง้ รับ
4.1.1 บทบาทการตั้งรับในประชาคมการเมืองและ
ความมัน่ คงอาเซียน
4.1.2 บทบาทการตั้งรับในประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน
4.1.3 บทบาทการตั้งรับในประชาคมสังคมและ
วัฒนธรรมอาเซียน
4.2 ยุทธศาสตร์ในเชิงรุก
4.2.1 บทบาทเชิงรุกในด้านกฎบัตรอาเซียน
4.2.2 บทบาทเชิงรุกในประชาคมการเมืองและ
ความมั ่นคงอาเซียน
4.2.3 บทบาทเชิงรุกในประชาคมเศรษฐกิจ
4.2.4 บทบาทเชิงรุกในประชาคมสังคมและ
วัฒนธรรม
5. การเตรียมความในการจัดทาแผนปฏิบตั กิ ารเพื่อ
แปลงนโยบายไปสู่การปฏิบตั ิ
6. การเตรียมความพร้อมในการสร้างกลไกควบคุม
ตรวจสอบ ประเมินผลการดาเนินงานตาม
แผนปฏิบตั กิ ารสูอ่ าเซียนของส่วนราชการ
7. การเตรียมความพร้อมในการติดตามความ
คืบหน้าการดาเนินงานตามแผนของหน่วยงาน
ต่างๆ ในส่วนราชการ
8. การเตรียมความพร้อมของส่วนราชการในการ
ประชาสัมพันธ์ ให้ขอ้ มูล และเปิ ดโอกาสในการ
มีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ในการขับเคลื่อนสู่
อาเซียน
9. การเตรียมความพร้อมของส่วนราชการในการ
ประสานงานกับส่วนราชการอื่นๆ หรือภาคส่วน
อื่น สูก่ ารเป็ นประชาคมอาเซียนอย่างมีเอกภาพ
END