ระบบการควบคุม/ป้องกันโรค - กลุ่ม พัฒนาการ ส่งเสริม สุขภาพ

Download Report

Transcript ระบบการควบคุม/ป้องกันโรค - กลุ่ม พัฒนาการ ส่งเสริม สุขภาพ

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
การพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ของประเทศไทย
โดย กรมควบคุมโรค
25 มิถุนายน 2554
ระบบควบคุมป้องกันโรค
ปั จจุบน
ั
มีปัจจัยทั้งภายนอกและภายในที่มีผลกระทบต่อ
ระบบป้องกันควบคุมโรคของประเทศ
New technology/
innovation
Drug
company
Politics
Pandemic
threat
โรคติดต่อ
โรคไม่ตดิ ต่อ
ภัยพิบตั ิ
Economics
crisis
ระบบ
ป้องกัน
ควบคุมโรค
Health
system
ภัยคุกคาม (Threats)
Environment
Drug Industries
Epidemiology
change
โอกาส (Opportunities)
Complex Health
issues
ความก้าวหน้าทาง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วิกฤติการ
ทางการเมือง
การพัฒนาระบบ
สาธารณสุขมานาน
การกระจายอานาจ
(transitional period)
International policy
(sometimes mislead,
irrelevant to country
context)
กระทรวง
สาธารณสุข
แผนการพัฒนาของ กพร.
(บางครั้งอาจไม่เหมาะกับ
6 องค์กรอิสระ
ทุกหน่วยงานภายใต้ (การกาหนดบทบาทหน้าที่ที่ไม่
เงื่อนไขเดียวกัน)
ชัดเจนในการดาเนินงานด้าน
ต่างๆ)
กรม
ควบคุมโรค
การปฏิรปู โครงสร้างกสธ
เครือข่ายภายในและ
ระหว่างประเทศ
Strategic partners
collaborations
(6 ส และหน่ วยงานอื่น)
Change to “Think
tank of Thailand”
หลักการระบบป้องกันควบคุมโรคที่พึงประสงค์
Epidemiological data
Situation of PH problems
(Global/national/local)
Evidence-based
knowledge


Policy

Implementation

Regional
Provincial
อปท/
ชุมชน
Local


การป้องกันควบคุมโรคเป็ นความรับผิดชอบ/
ความมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วน
ประชาชน ชุมชน และท้องถิ่น เป็ นผูม้ ีบทบาท
สาคัญที่สุด และเป็ นฐานของการป้องกันและ
ควบคุมโรคของประเทศ
หน่วยงานส่วนท้องถิ่น ส่วนภูมิภาค และ
ส่วนกลาง มีบทบาทชัดเจนและทางานสอด
ประสาน/บูรณาการอย่างมีประสิทธิภาพ
การดาเนินงานบนพื้นฐานของสภาพปั ญหา
และวิชาการมากกว่าตอบโจทย์ระบบราชการ
และการเมือง
มีแผนการพัฒนาที่ตอ่ เนื่องและยั ่งยืน ทันต่อ
สถานการณ์
มีความคล่องตัวและความยืดหยุน่ สูง
ผลผลิตที่พึงประสงค์
Epidemiological data
Situation of PH problems
(Global/national/local)
Evidence-based
knowledge


Policy

Implementation

Regional
Provincial
อปท/
ชุมชน
Local


การบริหารจัดการด้านป้องกันควบคุมโรค/ภัย
สุขภาพในภาพรวมของประเทศ มีการบูรณาการที่
มีประสิทธิภาพ
ระบบเฝ้ าระวังที่มีความครอบคลุมสูง ตรวจจับได้
เร็ว เป็ นแบบเชิงรุกมากกว่าเชิงรับ และมีการนา
ข้อมูล มาใช้ประโยชน์จริง
การพัฒนาการจัดการความรู ้ งานวิชาการ วิจยั และ
พัฒนา ที่ตอบสนองและแก้ปัญหาโรค/ภัยสุขภาพ
ของประเทศอย่างแท้จริง
การเตรียมความพร้อมและตอบโต้ตอ่ โรค/ภัย
สุขภาพ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยทุกคนเป็ น
เจ้าของและมีส่วนร่วม
การพัฒนาและปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบที่
เกี่ยวข้อง มีความสะดวก รวดเร็ว ตอบสนองได้ทนั
ต่อสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา
พัฒนาบุคลากรเป็ นระบบและต่อเนื่อง เพื่อความ
ยั ่งยืนของงาน
ระบบที่มีอยูใ่ นปั จจุบนั
Epidemiological data
Situation of PH problems
(Global/national/local)
Evidence-based
knowledge
ผลผลิตที่พึงประสงค์ : ปั จจุบนั VS สิ่งที่คาดหวัง
Policy
Policy
Risk com
Technical
Implementation
Regional
Response
Provincial
Surveillance
Present
อปท/
ชุมชน
Local
Wish
•All levels
•Right information
•Appropriate route
•Right person
•Risk communicatn
•Passive
•Require systematic approach
•Multi sectoral involvement
•Evidence-based
•Mechanism/driven/laws and regulation
enforcement
•Focus on R&D/KM for PH
•Assessment and evaluation
•Systematic approach
•R&D/KM Infrastructures
(MCRC, lab, database)
•Capacity buildings
•Networking, collaboration
•Interdepartmental
•MOPH-non-MOPH
•international
•M&E Body
•Maintain expertise
•Strong technical
background
•Good system and
feedback
•Cross cutting
•Management/Integration
•EVB leading/strong technical
•HRM/HRD, expertise (policy, technical >
implementation)
•Multisectoral involvement
•Passive
•Multiple information systems
•Quality assessment
•Capacity buildings
•integration/collaboration/
coordination
ระบบป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพของไทยในปั จจุบนั
•กาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์
แนวทาง มาตรฐาน
•สนับสนุนวิชาการ ปฏิบตั ิการ
•กากับ ประเมินผล
•บังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
องค์กรและเวทีระหว่างประเทศ
ระดับทวิภาคี ระดับภูมิภาคและ ระดับโลก
เช่น WHO, FAO, OIE, UNICEF,
ASEAN, APEC, ACMECS, etc.
สธ
กรม
ศวข
สสจ รพศ
รพท
่ น
ภาคสว
่
อืน
่ ๆ เชน
สสอ รพช
ธุรกิจ เอกชน
มหาวิทยาลย
ั
รพสต
NGOs
•สนับสนุนวิชาการ ปฏิบตั ิการ
•กากับ ประเมินผล
•ปฏิบตั ิการป้องกันควบคุมโรค
อปท
ชุมชน
ผูน้ าชุมชน อาสาสมัคร
กลุม่ กิจกรรมในชุมชน
•สนับสนุนปฏิบตั ิการ
•ปฏิบตั ิการป้องกันควบคุมโรค
•ออกข้อบัญญัติทอ้ งถิ่น
กิจกรรม
และพฤติกรรม
ป้องกัน ควบคุมโรค
ในชุมชน
8
ระบบป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพของไทยในปั จจุบนั
ขยายกลไก สธ. ในการควบคุมโรค
• กาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์
แนวทาง มาตรฐาน
สธ
คร.SRRT
• สนับสนุนวิชการ ปฏิบัตก
ิ าร
• กากับ ประเมินผล
้
• บังคับใชกฎหมายที
เ่ กีย
่ วข ้อง
สคร กรม คร.
และเขต
• สนับสนุนวิชการ ปฏิบัตก
ิ าร
• กากับ ประเมินผล
• ปฏิบัตก
ิ ารป้ องกันควบคุมโรค
SRRT
จังหวัด
สสจ
รพท/รพศ
สสอ
รพช
รพสต
โครงการอาเภอ
SRRT
ควบคุมโรค
อาเภอ
เข้มแข็งแบบยั ่งยืน
• สนับสนุนปฏิบัตก
ิ าร
• ปฏิบัตก
ิ ารป้ องกันควบคุมโรค
• ออกข ้อบัญญัตท
ิ ้องถิน
่
SRRT
ตาบล
อปท
กิจกรรม
และพฤติกรรม
ป้องก ัน ควบคุมโรค
9
ในชุมชน
ระบบการเงินการคลังของระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในปั จจุบนั
Private Spending/partnership e.g. OOPs, CSR
Private
NGOs / International agency
NGOs/
Intl. agency
MoPH/DDC National Program /Other Public Sectors, e.g. MoI, MoD, MoSDHS, etc.
CSMB /SS
ThaiHealth Promotion Fund
UC-Benefit
package
10
UC-PPNational
Procurement
UC-PP-National Priority Program
Tambon Health Fund (UC-PP-Community+TAO)
Individual Care Community Care Capacity Building Social Movement
-campaign
-screening
-training
-Facility based
-public communication
-surveillance
-practice
-Home based
-law / measure
- Disease Prevention
-KM
-Community based &Control
enforcement
Public sector
ThaiHealth
National
Health
Security
Office
Disease
Control
Service
Delivery
ข้อเสนอการอภิบาลระบบ (Governance)
 มี Board ระดับชาติ และ Board บริหาร
ศูนย์ป้องกันควบคุมโรคแห่งชาติ โดยมี
กระบวนการคัดสรรที่เหมาะสม โปร่งใส และ
ประกอบด้วยผูท้ รงคุณวุฒิ นักบริหาร และ
ผูบ้ ริหารหน่วยงานทั้งในและนอกกระทรวง
สาธารณสุข
11
ข้อเสนอเรื่องการจัดตั้ง Board
National Board :
Disease Prevention and Control Policy
Disease Prevention and Control
National AIDS
…….
……
NIP
Policy
ส่วนกลาง : National program facilitator/M&E/coach
subcommittee
AIDS
ส่วนภูมิภาค : Regional policy facilitator/M&E/coach
Subcommittee
Immunization
…….
Board บริหาร
National Center for DC
Implementation
(จังหวัด/ชุมชน)
National
Center for DC
12
Policy
development
National Program
(facilitator/M&E)
KM/R&D/
clearing house
บทบาทในการกาก ับดูแล
ระบบป้องก ันควบคุมโรค
• ผ่านกฎหมาย
• ผ่านกลไกตลาด
• ผ่านบรรทัด
ฐานทางสังคม
• ผ่านข้อกาหนด
ตัวอย่าง : การควบคุม
การบริโภคแอลกอฮอล์/ยาสูบ
ตัวอย่าง :
• มาตรฐานการดาเนิน
งานป้องกันควบค ุมโรค
• การสอบสวนโรค
• ระบบเฝ้าระวัง
• รายงานโรค/
ภัยส ุขภาพ
• เอกสารวิชาการ
ข้อเสนอทางเลือกที่ 1
พัฒนาภายใต้ระบบราชการเดิม แต่ปรับการ
บริหารงานในสาขาที่ตอ้ งการความยืดหยุน่ /
คล่องตัวสูงเพื่อให้การดาเนินงานมีประสิทธิภาพ
14
national
Support Policy
development
Regional
coacher/M&E
National
DC
Board
ร่วมบูรณาการงานวิจยั
เพื่อแก้ปัญหาระดับชาติ
Policy development
law/regulation enforcement
endorsement
Strategic partner
พ.ท.ต้นแบบการป้ องกันควบคุมโรค
สนับสนุนการวิ จยั ในบริ บทท้องถิ่ น
NCDC
Policy
National Policy facilitator
Policy
facilitator/M&E
Provincial/local
Regional
-นาผลงานวิ จยั ไปใช้และมีการวิ จยั ใน
บริ บทของพื้นที่
Technical/R&D
Implementator
Program-based mx
Surveillance
national
Share และใช้
ประโยชน์ ร่วมกัน
ในการแก้ปัญหา
สธ
Provincial/
local
Primary data source
รายงานข้อมูลแก่ส่วนกลางและส่วนกลาง share
ข้อมูลและให้ข้อแนะนาแก่พ.ท.ด้วย
ทางเลือก
ที่ 1
15
ข้อเสนอทางเลือกที่ 2
ระบบราชการเดิม ควบคู่กบั การตัง้ หน่วยงานอิสระ
ภายใต้กากับของ กสธ เพื่อทาหน้าที่พฒ
ั นาระบบ
การป้องกันควบคุมโรคของประเทศ
16
national
Policy development
Share และใช้
ประโยชน์
ร่วมกันในการ
แก้ปัญหาสธ
National Policy facilitator
Policy
facilitator/M&E
Provincial/
local
Primary data source
รายงานข้อมูลแก่ส่วนกลางและ
ส่วนกลาง share ข้อมูลและให้
ข้อแนะนาแก่พ.ท.ด้วย
Regional
NCDC
Surveillance
Implementator
Policy
National
programs
Technical/
Development
national
Support policy
development
ร่วมบูรณาการงานวิจยั
เพื่อแก้ปัญหาระดับชาติ
Regional
coacher/M&E
พ.ท.ต้นแบบการป้ องกันควบคุมโรค
สนับสนุนการวิ จยั ในบริ บทท้องถิ่ น
Technical
development/
support
Provincial/local
Strategic partner
-นาผลงานวิ จยั ไปใช้และมีการวิ จยั ใน
บริ บทของพื้นที่
ทางเลือก
17 ที่ 2
สรุปข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
 ระบบและโครงสร้างองค์กรที่ปรับขึ้นใหม่ มีผทู ้ ี่มีบทบาท
รับผิดชอบดูแลระบบป้องกันควบคุมโรค/ ภัยสุขภาพใน
ภาพรวมของประเทศ อย่างชัดเจน
 ทบทวนผลผลิตที่พึงประสงค์ของระบบและโครงสร้าง
องค์กรดังกล่าว ครอบคลุมตัง้ แต่การพัฒนานโยบาย
ยุทธศาสตร์ การสนับสนุนวิชาการ ศักยภาพบุคลากร
การประสานความร่วมมือระหว่างภาคส่วนและระหว่าง
ประเทศ รวมถึงการประเมินความเสี่ยงและประเมินผล
 ปรับระบบการบริหารและงบประมาณให้คล่องตัวและ
ยืดหยุน่ กว่าระบบราชการในปั จจุบนั
 พัฒนากลไกที่เครือข่ายทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมทุกขั้นตอน
ในระบบโดยเฉพาะอย่างยิง่ บทบาทของอปท. และชุมชน
Back up slides
ระบบการอภิบาล (Governance) การควบคุมป้องกันโรคของไทย
เปรียบเทียบกับต่างประเทศ
ประเทศ
ไทย
สหรัฐอเมริกา
แคนาดา
อังกฤษ
ญี่ปุ่น
สิงคโปร์
มาเลเซีย
รูปแบบหน่วยงานหลัก
รัฐบาล
การกากับดูแล
Agency /Director
Federal Advisory
Committee
Agency / CEO
Horizontal
Agency
Departmental Board
รัฐบาล
Vertical
แบ่งเป็ นกลุ่มงาน
??
Vertical
Vertical
Vertical
20
1. National board
National Board :

Disease Prevention and
Control
subcommitte
e AIDS
Subcommittee
Immunization
…
….
Board บริหาร
NCDC

NCDC
Policy
developm
ent
National
Program
(facilitator/M&
KM/R&D/
clearing
house
"คณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคแห่งชาติ"
โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็ นประธาน และ
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสุขเป็ นรอง
ประธาน ผูบ้ ริหารสูงสุดของศูนย์ป้องกันควบคุม
โรคแห่งชาติเป็ นเลขานุ การ คณะกรรมการ
ประกอบด้วยผูบ้ ริหารของหน่ วยงาน/องค์กรต่างๆ
ที่มีบทบาทสาคัญต่อการดาเนิ นงานป้องกัน
ควบคุมโรคของประเทศ ทั้งภายในและภายนอก
กระทรวงสาธารณสุข
เพื่อกาหนดนโยบายการป้องกันควบคุมโรคของ
ประเทศ โดยมีศนู ย์ป้องกันควบคุมโรคแห่งชาติ
เป็ นแกนกลางในการประสาน/ขับเคลื่อนและ
ติดตามกากับการดาเนิ นงานตามนโยบายฯ




ให้มีคณะอนุกรรมการที่มีบทบาทในการให้ขอ้ เสนอแนะต่อคณะกรรมการฯ ใน
ประเด็นสาคัญต่างๆ ตามยุทธศาสตร์
คณะอนุกรรมการฯ ชุดต่างๆ เหล่านี้(อาจแบ่งตามยุทธศาสตร์ หรือตามกลุ่มโรค)
ประกอบด้วยผูเ้ ชี่ยวชาญหลายสาขาจากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกัน
ควบคุมโรคของประเทศ เช่น สาขาการพัฒนานโยบาย เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
สื่อสารสาธารณะ รัฐศาสตร์ สาธารณสุข ตัวแทน NGO เป็ นต้น โดยมีผบู ้ ริหาร
สูงสุดของ national program เป็ นเลขานุการ
ให้มีคณะกรรมการบริหารศูนย์ป้องกันควบคุมโรคแห่งชาติเพื่อทาหน้าที่บริหาร
จัดการให้ศูนย์ฯ สามารถดาเนินการได้สาเร็จ บรรลุตามวิสยั ทัศน์และพันธกิจที่วาง
ไว้
ทั้งนี้การอภิบาลด้วยระบบคณะกรรมการ ควรดาเนินการภายใต้หลักการความ
โปร่งใส การมีสว่ นร่วมของภาคส่วนต่างๆ รวมถึงภาคประชาสังคม และตั้งอยูบ่ น
หลักการเพื่อประโยชน์ของประเทศชาติและประชาชน
1. National mechanism
Budget allocation
 Authority
 Laws and regulation ( พ.ร.บ. โรคติดต่อ)
ประโยชน์
 เพื่อบูรณาการงานในภาพรวมของประเทศ/ความเชือ
่ มโยงกับกลไกอื่นๆ
 กากับทิศทาง, งบประมาณ
 พัฒนาเครื่องมือ/กลไก

2. Regional mechanism, assessment








1 Board (PH: ศวข ของกรมต่างๆ และภาคส่วนสาคัญในพ.ท.)
เชื่อมโยงงานสธในระดับภูมิภาค
งานแต่ละด้านไม่ถกู ลดทอนความสาคัญ, maintain expertise
สคร : 4 s (Strategic formulation, Support,
supervision/M&E, special service)
Regional policy facilitator
Technical development and support (coach)
Assessment of Programs, local level
Adapt for regional/local context
3. Civil society participation


Health NGO : as part of Board member
มีบทบาทในเบื้องต้นในด้าน risk communication
4. Surveillance vs policy


Surveillance ควรเป็ นอิสระจาก policy เพื่อการรายงานที่เหมาะสม
ไม่มี conflict of interest เพื่อให้ได้ขอ้ มูลที่ตรงกับความเป็ นจริง
ขอข้อคิดเห็นจากผูท้ รงคุณวุฒิ [1]

ข้อเสนอ board ของแต่ละระบบ
 บทบาทหน้าที่
 องค์ประกอบ
 กลไกการขับเคลื่อนการดาเนินงาน
 ควรมี
Board ชาติที่รวมทุกระบบหรือไม่
ขอข้อคิดเห็นจากผูท้ รงคุณวุฒิ [2]


ในระดับเขต (ศูนย์วิชาการเขตที่เสนอมา มีความชัดเจนแล้ว)
 ปรับอย่างไรให้เชื่อมโยงกับท้องถิ่น
 ควรมีรายละเอียดที่จาเป็ นในระดับหนึ่ง เพื่อ ensure กระบวนการ
strengthen หน่วยงานระดับล่าง
 กติกาการจัดการการเงิน/บุคลากรให้ทางานได้ดี
หน่ วยงานตั้งแต่ระดับจังหวัดลงไป ควรจะอยูก่ บั ใคร และแต่ละส่วน
ควรมี role ในด้านใดบ้าง
 กรมฯ จะทาหน้าที่ในเชิง regulate อย่างไรให้มีประสิทธิภาพ จะ
regulate ประเด็นใดบ้างและใช้กระบวนการ/เครื่องมือใด
ปญั หาสุขภาพ
Communicable diseases

HIV,
TB, Malaria, EPI, FWB, VBD
Emerging infections , zoonoses
 Non-communicable diseases
Life style related diseases (Non-communicable
diseases)
Environmental and occupational health hazards
Injuries
 Disaster related health problems
29