โครงการฟ้ามิตร PHAMIT-Prevention on HIV/AIDS Among Migrant

Download Report

Transcript โครงการฟ้ามิตร PHAMIT-Prevention on HIV/AIDS Among Migrant

ประสบการณ์ และข้ อเสนอแนะ
แนวทางการเฝ้ าระวังโรคและภัยสุ ขภาพด้ านต่ างๆ
ของแรงงานข้ ามชาติ
วันที่ 13 มีนาคม 2557
การประชุมวิชาการป้องกันควบคุมโรคแห่งชาติประจาปี 2557
โครงการฟ้ามิตร
• PHAMIT-Prevention on HIV/AIDS Among Migrant Worker
in Thailand เป็ นโครงการด้ านการส่ งเสริมการป้ องกันการติดเชื้อ
เอชไอวีรายใหม่ ในกลุ่มแรงงานข้ ามชาติในประเทศไทย ทีไ่ ด้ รับ
การสนับสนุนจากกองทุนโลกเพือ่ ต่ อสู้ กบั เอดส์ วัณโรค และ
มาลาเรีย ดาเนินงานมาตั้งแต่ ปี 2546 จะสิ้นสุ ดโครงการ 30
กันยายน 2557
• พืน้ ที่ 36 จังหวัดทั่วประเทศ
• มุ่งเน้ นทางานกับแรงงานข้ ามชาติ 3 สั ญชาติ คือ พม่ า ลาว และ
กัมพูชา ทั้งทีจ่ ดทะเบียนและไม่ จดทะเบียน
• 5 อาชีพคือ ประมง ต่ อเนื่องประมง ก่ อสร้ าง โรงงาน และแรงงาน
ในสวนเกษตร(เชิงธุรกิจ)
แรงงานข้ ามชาติ
• ประเทศไทยมีความต้ องการแรงงานข้ ามชาติมาทางานใน
อาชีพที่คนไทยไม่ ทา และในงาน 3 D คือ งานสกปรก
(Dirty) งานอันตราย(Dangerous) งานยกลาบาก
(Difficult)
• แรงงานข้ ามชาติมสี ่ วนทาให้ GDP ของประเทศไทย
เติบโตไม่ น้อยกว่ า 3% จ่ ายภาษีทางอ้ อมผ่ านการซื้อสิ นค้ า
บริการต่ างๆ
หลักการพืน้ ฐาน
สิทธิสุขภาพ เป็ นสิทธิมนุษยชนขัน้ พืน้ ฐาน
• เคารพในศักดิ์ความเป็ นมนุษย์
• ไม่ เลือกปฏิบัติ มาตรฐานเดียวกับคนไทย
• มีส่วนร่ วม
ฟ้ามิตรทาอะไร
•
•
•
•
•
•
ให้ ข้อมูล ความรู้ Outreach ทางานร่ วมกับ พสต.
Drop in Center
บริการถุงยางอนามัย
ส่ งต่ อ
เยี่ยมบ้ าน
ส่ งกลับ
ปัญหาสาคัญ
• รั ฐบาลไม่ มีนโยบายที่ชัดเจนระยะยาวในการจัดการปั ญหาแรงงานข้ ามชาติ
และผู้ตดิ ตาม กาหนดให้ การบริหารจัดการแรงงานข้ ามชาติเป็ นเรื่องความ
มั่นคง
• ยังไม่ มีการอนุญาตให้ จ้างแรงงานข้ ามชาติให้ ทาหน้ าที่เป็ นพนักงาน
สาธารณสุขต่ างด้ าว(พสต.)
• การเข้ าถึงระบบประกันสุขภาพแรงงานข้ ามชาติยังมีน้อย เหตุผลสาคัญคือ
ไม่ เห็นความสาคัญของการซือ้ บัตรประกันสุขภาพ ราคาแพงเกินไป บริ การไม่
ประทับใจ เป็ นต้ น รวมทัง้ ยังไม่ มีการจัดบริการตามนโยบายที่ประกาศ
(ประกาศกระทรวงสาธารณสุขลงวันที่ 13 สิงหาคม 2556 กาหนดราคาค่ า
ประกันสุขภาพใหม่ จาก 1,900 บาท เป็ น 2,200 บาท และขยายสิทธิประโยชน์
ครอบคลุมการรั กษาด้ วยยาต้ านไวรั สเอชไอวี แต่ ในความเป็ นจริงไม่ เกิด)
ข้ อเสนอแนะ
• ใช้ หลักการสิทธิมนุษยชนในการบริหารจัดการปั ญหาแรงงานข้ ามชาติ
• รั ฐบาลต้ องมีนโยบายที่ชัดเจนในการดูแลสุขภาพแรงงานข้ ามชาติทุก
คนที่อยู่บนผืนแผ่ นดินไทย มีระบบบริการรองรั บ
• ทบทวนระบบการบริหารจัดการกองทุนประกันสุขภาพแรงงานข้ าม
ชาติ และทาให้ เป็ นมาตรฐานเดียวกับคนไทย
• อนุญาตให้ จัดจ้ าง พสต.อย่ างถูกต้ องตามกฎหมาย เพื่อส่ งเสริมการ
เข้ าถึงบริการสุขภาพของแรงงานข้ ามชาติ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ที่เป็ นมิตร และให้ แรงงานข้ ามชาติมีส่วนร่ วมในการให้ บริการ