Click - สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์

Download Report

Transcript Click - สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์

คณะผู ศ
้ ก
ึ ษาวิจย
ั :
ทัศนัย ขันตยาภรณ์
ยุทธพงษ์ ศรีวลัย
สุภา วิตตาภรณ์
ศวิ นารถ เยีย
่ งสว่าง
มาล์ลค
ิ
รณานันท์ บุญโญ
เปลี่ยน “ภาระ”
เป็น
“ภารกิจที่ท้าทาย”
ก่อเกิด
บริการที่เป็นมิตร
2547-48
คาถามหลัก “บริการสุขภาพที่เป็นมิตร”
1. การทบทวนเอกสารในช่วง 10 ปี ประเทศไทยเป็นอย่างไรบ้าง
2. ประสบการณ์ของยุโรปเป็นอย่างไร นามาประยุกต์ใช้อย่างไร
3. แนวทางการดาเนินงานของประเทศไทยมีอะไรบ้าง
4. อะไรคือปัจจัยที่เอื้ออานวยที่ทาให้เกิดขึ้นได้และประสบผล
5. อะไรคือการประเมินความสาเร็จ (ในมุมผู้ให้และผู้ใช้บริการ)
6. อะไรคือช่องว่างของที่ต้องพัฒนา (ในมุมผู้ให้และผู้ใช้บริการ)
7. อะไรคือข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาสาหรับประเทศไทย
ในเวลา 3.5 เดือน (กย.-ธค 2557)
หน่วยบริการ
1. รพ.จังหวัด/อาเภอ
2. รพสต./ศูนย์เทศบาล/
คลินิก NGO
3. Drop-in Center
4. Health post ศสมช.
Mae sort, Tak
Samuthsakorn
Trad
พื้นที่ศึกษา
บริการสุขภาพ
• ป้ องกัน
• ส่งเสริม
• ดูแลร ักษา
• ฟื ้ นฟู
ศึกษาเชิงคุณภาพ รวม 60 คน:
รัฐ 26, NGO 10, migrant จากพม่า กัมพูชา ลาว 24 คน
ข้อจากัดในการศึกษา
ึ ษาในพืน
1. ศก
้ ทีด
่ าเนินงานค่อนข ้างดีและมี
ประสบการณ์
ึ ษาในโรงพยาบาลเอกชน
2. ไม่ได ้ศก
้ การ สว่ นใหญ่เป็ น พสต. อสต.
3. กลุม
่ ผู ้ใชบริ
มีประสบการณ์ตรงกับบริการทีเ่ ป็ นมิตร
สะท ้อนความเห็นของตนเอง และ
ประชากรข ้ามชาติ
เนื้อหาในรายงาน
 บทที่ 1
 บทที่ 2
 บทที่ 3
 บทที่ 4
 บทที่ 5
บทนา วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา
ความหมาย องค์ประกอบ การพัฒนาที่ผ่านมา
แนวทางในยุโรป ตัวอย่างบริการ การปรับใช้
ภาพรวม แนวทางการจัดบริการ ปัจจัยเอื้ออานวย
ตัวชี้วัด ช่องว่างที่ต้องพัฒนา
เสียงสะท้อนผู้รับบริการ ข้อท้าทายในการพัฒนา
ภาพรวมบริการที่เป็นมิตรในประเทศไทย
สถานการณ์
เคลือ
่ นย ้าย
ประชากร
ื่ ภาษา
มีลา่ มสอ
การทางานเชงิ รุก
ควบคุมป้ องกัน
โรค
Drop-in Center
Health post
จานวนผู ้รับบริการ
ื่ สารภาษา
มากสอ
ไม่ได ้ มีการแพร่
ระบาดของโรค
ระดับปฎิบต
ั ิ
การแก ้ไข
ปั ญหา
แสวงหา
ทางออก
• มีโครงการ
พิเศษ และ
NGO ร่วม
สนับสนุน
แนวทาง/ ชุด
ประสบการณ์ จากการ
ปฏิบ ้ติงานจริง
มาตรการประกันสุขภาพ
แผนแม่บท/ยุทธศาสตร์
“เกิดรูปธรรมความร่วมมือ
ระหว่าง รัฐ และ NGO ที่ชัดเจน
ผสานความเชี่ยวชาญของแต่ละภาคส่วน”
องค์ประกอบ
บริการสุขภาพที่เป็นมิตร (11 ด้าน)
1.
2.
3.
4.
5.
เข้าใจความหลากหลายของวิถีชีวิตและวัฒนธรรม
มีความสอดคล้องกับลักษณะอาชีพและความเป็นอยู่
หน่วยบริการอยูใ
่ กล้ชุมชนเข้าถึงได้โดยสะดวก
สื่อสารด้วยภาษาที่เข้าใจกัน ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน
บริการด้วยทัศนคติและท่าทีที่เคารพในศักดิ์ศรีความเป็น
มนุษย์ สิทธิสุขภาพ โดยไม่คานึงถึงสถานะทางกฎหมาย
องค์ประกอบ
บริการสุขภาพที่เป็นมิตร (11 ด้าน)
6.
7.
8.
9.
มาตรฐานบริการสุขภาพที่เท่าเทียมกับคนไทย
บริการสุขภาพสอดคล้องกับกาลังจ่ายของผู้ใช้บริการ
ผู้ให้บริการและใช้บริการเข้าใจสิทธิสุขภาพที่พึงได้
สร้างความเข้าใจและการมีส่วนร่วมของนายจ้าง หรือ
ผู้ประกอบการ
10. สร้างการมีรว
่ มของผู้ใช้บริการกลุ่มประชากรข้ามชาติ
ครอบครัวและชุมชน
11. สร้างการเชื่อมโยงการให้บริการสุขภาพระหว่างประเทศ
ต้นทางและปลายทาง
แนวทางในยุโรป
 มีนโยบายระดับชาติชัดเจน ที่มีมุมมอง
เรื่องสิทธิสุขภาพ ความแตกต่างทาง
วัฒนธรรม+ภาษา และไม่เลือกปฎิบัติ
 เน้นพัฒนาบุคลากร (Cultural Competency)
“การให้บริการสุขภาพต่างวัฒนธรรม”
เพื่อให้คนไปพัฒนาระบบ/บริการ
 ออกแบบบริการที่สร้างสมดุล ระหว่าง
demand (ประชากรข้ามชาติ) และ
supply (ระบบบริการสุขภาพ)
 มีแนวปฎิบต
ั ิ (service protocol) ที่ชัดเจน
 ออกนโยบาย ข้อกฎหมายสนับสนุนและ
เอื้ออานวย
ตัวอย่าง
โครงสร้างหน่วยบริการ ยืดหยุ่น-ปรับ-พัฒนา-ให้สอดคล้องได้
พัฒนาบุคลากรให้บริการต่างวัฒนธรรม
พัฒนาแนวปฎิบัติการให้บริการสุขภาพ
เปิดบริการให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตและการทางาน
จัดบริการด้านการแปลสื่อสารภาษา (พูดและเขียน)
พัฒนาสัมพันธภาพและทัศนะเชิงบวกต่อกัน (ผู้ให้และผู้รับ)
สร้างความเข้าใจให้กับประชากรข้ามชาติในสิทธิสุขภาพ
ระบบบริการ และการเข้าใช้บริการสุขภาพ
8. สร้างการมีสว
่ นร่วมของประชากรข้ามชาติ
9. พัฒนาหน่วยบริการในชุมชน Drop-in Center
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
ไทย VS ยุโรป
พัฒนางานจากสถานการณ์ และ
พัฒนาคน ให้คนไปพัฒนาระบบ
การหาทางออกต่อปัญหาที่พบ
ใช้มาตรการประกันสุขภาพ
และแผนแม่บทฯ /ยุทธศาสตร์
นโยบายรองรับสิทธิสุขภาพ และ
บริการต่างวัฒนธรรม
ให้บริการโดยใช้ระบบบริการ
สุขภาพที่มีอยู่แล้ว
ออกแบบระบบที่สร้างสมดุล
ระหว่าง demand and supply
ใช้แนวปฎิบัติเดียวกันกับการ
ให้บริการคนไทย
มี Service protocol สาหรับ
ประชากรข้ามชาติ
นโยบายที่เกี่ยวข้อง
เป็นอุปสรรค
ออกนโยบายใหม่
ให้เอื้ออานวย
ผู ใ้ ช้บริก
ารคิด
อย่างไร
?
เสียงสะท้อนจากผู้ใช้บริการ-1
 เห็นด้วยกับการแยกบางแผนกกับคน




ไทย แต่ควรมีล่ามประจา
พอใจกับการจัดบริการเชิงรุกในช่วง
เทศกาลหรือช่วงทีสะดวก
เชื่อมั่นในคุณภาพการดูแลรักษาไทย
หากมีแพทย์จากประเทศตนเองก็รู้สึก
อุ่นใจเพราะคุยกันเข้าใจ
ต้องการใช้สถานบริการใกล้บ้าน
บริการไม่ซับซ้อน มั่นใจ กล้าใช้ ถ้า
ใช้ประกันสุขภาพได้ก็จะดียิ่งขึ้น
อยากให้มียาสามัญ ยาคุมฯ ถุงยางที่
Drop-in Center health Post
เสียงสะท้อนจากผู้ใช้บริการ-2
 เห็นด้วยกับการมีล่าม ควรจัดให้
เพียงพอ ประจาทุกคลินิกเฉพาะ การ
ไปแผนกต่างๆ และจุดจ่ายยา
 สื่อสุขภาพมีความสาคัญ ควรมีป้าย
ต่างๆ ในรพ. และการดูแลหลังเข้ารับ
บริการ
 ขาดล่าม และ สื่อภาษาลาว
 คิดว่าผู้ให้บริการส่วนใหญ่เป็นมิตรดี
แต่ส่วนน้อยที่ไม่ดีส่งผลในภาพลบต่อ
สถานบริการในภาพรวม
 ระบบบริการสุขภาพมีความเท่าเทียม
กันกับคนไทย
เสียงสะท้อนจากผู้ใช้บริการ-3
 มีกาลังจ่ายในระดับปฐมภูมิ เข้าใจความจาเป็นในการเก็บ




ค่าบริการล่วงหน้า
เห็นความสาคัญและมีกาลังจ่ายค่าประกันสุขภาพ แต่ไม่พร้อม
หากซื้อทั้งครอบครัว อัตราเด็ก 7-15 ปีแพงเกินไป
กลุ่มไม่ซื้อประกัน มักไม่พึ่งพาโรงพยาบาล แต่ใช้บริการใกล้
บ้าน ที่มีกาลังจ่ายได้
ความไม่แน่นอนของนโยบาย
จดทะเบียนแรงงานส่งผลต่อ
การซื้อประกันสุขภาพ
ต้องการระบบประกันสุขภาพรายปี
และควรเข้าถึงโดยไม่ต้องมีนายจ้าง
ข้อท้าทายในการพัฒนา
1. พัฒนาศักยภาพบุคลากร ก่อน และระหว่าง
2. พัฒนาแนวปฎิบัติบริการสุขภาพ
3. สนับสนุนความต่อเนื่องของ DiC and HP
4. พสต. เพียงพอ บทบาทสื่อสาร เชิงรุก มี
ตาแหน่งงาน ค่าตอบแทน งบจัดจ้าง
5. สนับสนุนประกันสุขภาพแบบรายปี
ข้อท้าทายในการพัฒนา
6. พัฒนาตัวชี้วัดบริการที่เป็นมิตร
7. งบประมาณส่งเสริมสุขภาพเป็นชุมชน
8. พัฒนาฐานข้อมูลเฉพาะ เพื่อวางแผน
ประเมิน วิจัยพัฒนา
9. นโยบายที่เอื้ออานวย
Time to
Brainstorm