ในงานเสวนา 6 ก.ค.57
Download
Report
Transcript ในงานเสวนา 6 ก.ค.57
การศึกษารูปแบบและการดาเนินการด้านสุขภาพที่
เหมาะสมของกองทุนระบบประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว
ในประเทศไทย
ดร.ภญ.อุษาวดี สุตะภักดิ์
มูลนิธิภิวฒ
ั น์สาธารณสุขไทย (ภวส.)
รายงานนี้ เป็ นส่วนหนึง่ ของแผนงานการเข้าถึงสิทธิข้ นั พื้ นฐานด้าน
สาธารณสุขของแรงงานต่างด้าว มูลนิธิภิวฒ
ั น์สาธารณสุขไทย (ภวส.)
โดยการสนับสนุนงบประมาณจาก สานักงานกองทุนสนับสนับการสร้าง
เสริมสุขภาพ (สสส.)
ความเป็ นมา
ระบบบริการด้ านสุขภาพ
กระทรวงสาธารณสุข
แรงงานต่างด้ าว แรงงานต่างด้าว
กลุ่มผ่อนผัน
กลุ่มพิสูจน์
ทร. 38/1
สัญชาติ
แรงงานต่างด้าว
กลุ่มนาเข้า
ประกันสังคม
แรงงานกลุ่มใต้ดิน
รวมถึงผูต้ ิดตาม
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
• เพือ่ ศึกษารูปแบบและการดาเนินการด้านสุขภาพที่เหมาะสม
ของกองทุนระบบประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าวทีบ่ ริหาร
โดยกระทรวงสาธารณสุขในอนาคต
วิธีการศึกษาวิจยั
• ทบทวนการดาเนินงาน สิทธิประโยชน์ วิธีการจ่ ายเงินให้หน่วย
บริการ ของระบบประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าวทีบ่ ริหารโดย
กระทรวงสาธารณสุข
• วิเคราะห์อตั ราการใช้บริการด้านการรักษาพยาบาล การ
ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
• การสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview)ผูใ้ ห้บริการ
ผูร้ บั บริการ และนักวิชาการ ในพื้ นที่ 4 แห่ง (สมุทรสาคร
กาญจนบุรี ระนอง ตาก) ในประเด็นปั ญหา อุปสรรค และ
ข้อจากัด ในการดาเนินการของกองทุน
วิธีการศึกษาวิจยั (ต่อ)
• การศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการ (health seeking
behavior) ของแรงงานต่างด้าว ภายใต้กองทุนระบบประกัน
สุขภาพของแรงงานต่างด้าว
• การใช้เทคนิคเดลฟายด์ประยุกต์ (EDFR) เพือ่ หาแนวทาง
และรูปแบบการดาเนินการทีเ่ หมาะสมของระบบประกัน
สุขภาพแรงงานต่างด้าว
• การสังเคราะห์เป็ นข้อเสนอในการพัฒนาระบบการประกัน
สุขภาพของแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย
พัฒนาการระบบประกันสุขภาพของแรงงานต่างด้าวใน
ประเทศไทย*
• ปี พ.ศ. 2544 ดาเนินการตรวจและประกันสุขภาพแรงงานต่างด้ าวอย่าง
เป็ นระบบเป็ นปี แรก
• ปี พ.ศ. 2548-49 ขยายขอบข่ายของการตรวจและประกันสุขภาพใน
แรงงานต่างด้ าวไปยังผู้ติดตามและครอบครัวตามความสมัครใจ
• ปี พ.ศ. 2550 ประกันสุขภาพแรงงานต่างด้ าวเป็ นหลัก สาหรับผู้ติดตาม
และครอบครัวให้ สถานบริการสุขภาพพิจารณาดาเนินการตามความ
เหมาะสม เนื่องจากมติคณะรัฐมนตรีไม่มคี วามชัดเจนในสิทธิอาศัยอยู่ของ
คนกลุ่มนี้
ที่มา: ทัศนัย ขันตยาภรณ์ และคณะ. การพัฒนาแนวทางการคาดประมาณประชากรต่างด้ าว บริการวางแผนครอบครัว
อนามัยแม่และเด็กและสร้ างเสริมความครอบคลุมของวัคซีนเด็กในพื้นที่กรุงเทพมหานคร. 2556.
• ปี พ.ศ. 2551 ประกันสุขภาพสามารถทาได้ ในแรงงานต่างด้ าว
ผู้ติดตาม และครอบครัว ทั้งที่ได้ รับการผ่อนผันและไม่ได้ รับการผ่อน
ผันให้ อาศัยอยู่ในประเทศไทย แต่การรับประกันหรือไม่ยังคงขึ้นอยู่กบั
หน่วยบริการสุขภาพเป็ นหลัก
• ปี พ.ศ. 2552-53 ประกันสุขภาพทาได้ ในแรงงานต่างด้ าวที่ต่อ
ทะเบียนแรงงาน และจดทะเบียนใหม่ ตามมติคณะรัฐมนตรี แต่มีความ
ชัดเจนว่าไม่รวมถึงผู้ติดตามและครอบครัว
• ปี พ.ศ. 2554 ประกันสุขภาพในแรงงานต่างด้ าวทั้งที่ต่อทะเบียนและ
ขึ้นทะเบียนใหม่ ตามมติคณะรัฐมนตรี รวมทั้งผู้ติดตามที่เป็ นบุตรที่
อายุไม่เกิน 15 ปี โดยสมัครใจโดยไม่รวมผู้ติดตามประเภทอื่นๆ
• ปี พ.ศ. 2556 มีนโยบายให้ประกันสุขภาพครอบคลุมคนต่างด้าว
ทุกคนซึ่งครอบคลุมถึง ผูต้ ิดตามและครอบครัวโดยสมัครใจ โดยมี
การแยกอัตราค่าทาประกันสุขภาพเป็ นคนต่างด้าวทัว่ ไป และเด็ก
อายุไม่เกิน 7 ปี และขยายชุดสิทธิประโยชน์ให้ครอบคลุมถึงการ
บริการ ARV และมีการเพิม่ อัตราค่าใช้จ่ายค่าประกันสุขภาพจาก
เดิม 1,300 บาท เป็ น 2,200 บาท
อัตราการใช้บริการผูป้ ่ วยนอก ปี พ.ศ. 25532555 (ครั้ง/คน/ปี )
อัตราการใช้บริการผูป้ ่ วยใน ปี พ.ศ. 2553-2555
(ร้อยละ/คน/ปี )
อัตราการจาหน่ายบัตรประกันสุขภาพ ปี งบประมาณ
2553-2555
819 ล้ าน
บาท
506 ล้ าน
บาท
297 ล้ าน
บาท
ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลแรงงานต่างด้าว
ปี งบประมาณ 2553-2555 (ล้านบาท)
ค่าใช้จ่ายด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ปี งบประมาณ 2553-2555 (ล้านบาท)
ความเจ็ บป่ วยและการใช้บริการสุขภาพของแรงงาน
ต่างด้าวและครอบครัว
• สารวจสถานะความเจ็บป่ วยและการใช้ บริการสุขภาพของแรงงาน
ต่างด้ าวและครอบครัว จานวน 831 ครัวเรือน ในพื้นที่ 4 จังหวัด
–อาเภอมหาชัย จังหวัดสมุทรสาคร
–อาเภอเมือง จังหวัดระนอง
–อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก
–อาเภอสังขละบุรีและอาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี
การมีหลักประกันด้านสุขภาพ จาแนกตามเพศและกลุ่ม
อายุ
0-12
377
276
321
891
37.0
26.7
56.8
37.2
642
758
244
1727
63.0
73.3
43.2
62.8
1,019
1,034
565
2,618
ความพึงพอใจต่อสถานพยาบาลของผูท้ ีม่ ีหลักประกัน
ด้านสุขภาพ
@การเดินทางไม่สะดวก
@ไม่อยูใ่ นภูมิลาเนาเดิม
@ไม่มนั่ ใจบริการ
@รู้สกึ ว่าได้ รับบริการที่แย่
กว่าคนไทย
ร้อยละความเจ็ บป่ วยที่ไม่ตอ้ งนอนในโรงพยาบาล
ใน 1 เดือนที่ผ่านมา
**จากการสารวจในการศึกษานี้ และ การสารวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2556
การรักษาความเจ็ บป่ วยทีไ่ ม่ตอ้ งนอนในโรงพยาบาลของ
แรงงานต่างด้าว
OPD
/
/
43
23
10.1
5.4
6
93
26
1.4
21.8
6.1
130
30.4
20
4.7
63
23
14.8
5.4
427
100.0
ร้อยละโรคเรื้ อรังของแรงงานต่างด้าวและครอบครัว
จาแนกตามเพศและอายุ
เบาหวาน
ความดัน
ร้อยละความเจ็ บป่ วยทีต่ อ้ งพักรักษาในโรงพยาบาลใน
ระยะ 1 ปี ทีผ่ ่านมา
คลอดบุตร
16
13.4
14
ไข้สูง
12
10
9.8
8.4
8
6
5.6
5.5
5
4.3
4
2
0
แรงงานต่างด้ าว
คนไทย
ชาย
หญิง
เด็ก 0-12 ปี
รวม
การใช้สวัสดิการรักษาพยาบาลในการเจ็ บป่ วยทีต่ อ้ งพัก
รักษาตัวในโรงพยาบาล
@เดินทางไม่สะดวก
@ช้า รอนาน
การสูบบุหรีข่ องแรงงานต่างด้าวและครอบครัวจาแนก
ตามเพศ
263
25.8%
38
3.7%
301
14.7%
73
7.2%
18
1.7%
91
4.4%
54
5.3%
16
1.5%
70
3.4%
68
6.7%
15
1.5%
83
4.0%
561
55.1%
947
91.6%
1,508
73.5%
1019
100.0%
1034
100.0%
2,053
100.0%
การดืม่ สุราของแรงงานต่างด้าวและครอบครัว
(3-4
664
65.2%
986
95.4%
1,650
80.4%
44
4.3%
3
0.3%
47
2.3%
/
)
32
3.1%
11
1.1%
43
2.1%
(1-2
/
)
54
5.3%
5
0.5%
59
2.9%
1-2
48
4.7%
4
0.4%
52
2.5%
177
17.4%
25
2.4%
200
9.7%
1,019
100.0%
1,034
100.0%
2,053
100.0%
การบาดเจ็ บหรืออุบตั ิเหตุของแรงงานต่างด้าวในระยะ 1
เดือนทีผ่ ่านมา
0-12
946
92.8%
971
93.9%
550
97.3%
2467
94.2%
52
5.1%
50
4.8%
12
2.1%
114
4.4%
10
1.0%
3
0.3%
0
0.0%
13
0.5%
9
0.9%
7
0.7%
3
0.5%
19
0.7%
2
0.2%
3
0.3%
0
0.0%
5
0.2%
1,019
100.0%
1,034
100.0%
565
100.0%
2,618
100.0%
ปั ญหา อุปสรรคในการดาเนินการของกองทุนประกัน
สุขภาพแรงงานต่างด้าว (การสัมภาษณ์เชิงลึก)
ความครอบคลุมของการมีหลักประกันด้านสุขภาพของแรงงานต่างด้าว
และสถานการณ์การจาหน่ายบัตรประกันสุขภาพในระยะทีผ่ ่านมา
@ การไม่ทราบจานวนของแรงงานต่างด้าวและผูต้ ิดตามที่แท้จริ ง
@ การไม่มีสภาพบังคับในการซื้ อบัตรประกันสุ ขภาพ
@ ช่องว่างของการดาเนินนโยบายให้มีการพิสูจน์สัญชาติและเข้า
สู่ ระบบประกันสังคม
ปั ญหาในการให้บริการด้านสุขภาพ
ปั ญหาด้านการรักษาพยาบาล
@ การสือ่ สารกับผูป้ ่ วย
@ การติดตามการรักษาในกลุ่ม
ผูป้ ่ วยทีต่ อ้ งรักษาให้ครบ course
ปั ญหาด้านการสร้างเสริมสุขภาพ
และควบคุมโรค
@ การสือ่ สารกับผูป้ ่ วย
@ การค้นหาผูป้ ่ วยในชุมชน
@ ระเบียบการจัดจ้างในการปฏิบตั ิงานเป็ นพนักงานสาธารณสุ ขต่างด้าว (พสต.)
@ ประชากรมีการเคลื่อนย้ายสู ง เป็ นอุปสรรคต่องานสร้างเสริ มสุ ขภาพฯ
@ งบประมาณดาเนิ นการด้านสร้างเสริ มสุ ขภาพฯของแรงงานต่างด้าว
ปั ญหาการไม่จาหน่ายบัตรประกันสุขภาพให้แก่แรงงานต่างด้าว
ปั ญหาการประสานงานระหว่างส่วนกลางและพื้ นที่ และปั ญหาด้าน
โปรแกรมสนับสนุนการดาเนินงานในพื้ นที่
ข้อกังวลต่อการเปลีย่ นแปลงนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข
@ การเพิม่ อัตราบัตรประกันสุขภาพ
@ การเปิ ดขายบัตรประกันสุขภาพตลอดทั้งปี
@ การบริหารจัดการในบริการรักษาพยาบาลผูป้ ่ วยเอดส์
@ การขยายกลุ่มเป้าหมายการจาหน่ายบัตรไปยังคนต่างด้าวที่มี
ศักยภาพในการจ่ าย
ข้อเสนอในการพัฒนาระบบประกันสุขภาพแรงงาน
ต่างด้าวของกระทรวงสาธารณสุข
แรงงานต่างด้าวและผูต้ ิดตามต้องมีหลักประกันสุขภาพอย่างใดอย่าง
หนึง่ และต้องเข้าถึงบริการสุขภาพขั้นพื้ นฐาน ครอบคลุมการ
รักษาพยาบาล การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค รวมถึงการ
ควบคุมโรค โดยไม่คานึงถึงสถานะทางกฎหมาย
ระบบประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าวของกระทรวงสาธารณสุขต้องมี
สภาพบังคับต่อการขออนุญาตทางานของแรงงานต่างด้าว
มีแนวทางในการขึ้ นทะเบียนผูต้ ิดตามและครอบครัวของแรงงานต่าง
ด้าวโดยกระทรวงสาธารณสุข เพือ่ ใช้ในการวางแผนด้านสาธารณสุข
ควรกาหนดอัตราการประกันสุขภาพทีเ่ หมาะสม สอดคล้องกับการ
ทางานของแรงงานต่างด้าว เช่น แรงงานเกษตรกรรมทีเ่ ข้ามาเฉพาะ
บางฤดูกาล หรือแรงงานประมง เป็ นต้น และอาจกาหนดอัตราการ
ประกันให้สอดคล้องกับระยะเวลาการขออนุญาตทางานของแรงงาน
เพิม่ สิทธิประโยชน์การใช้บริการจากสถานพยาบาลอื่นในกรณีเจ็ บป่ วย
ฉุ กเฉินได้ตามความจาเป็ นโดยไม่จากัดจานวนครั้ง และครอบคลุมการ
รักษากรณีอุบตั ิเหตุทุกประเภท
เพิม่ เติมงบประมาณของกองทุนทีจ่ ดั สรรให้โดยตรงแก่สถานพยาบาล
ในส่วนค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค และค่าบริการ
ทางการแพทย์ และมีมาตรการช่วยเหลือสถานพยาบาลทีป่ ระสบปั ญหา
การขาดทุนในระบบหลักประกันสุขภาพคนต่างด้าว
ให้ การบริการยาต้ านไวรัสเอดส์ อยู่ภายใต้ การรักษาพยาบาลที่มีค่าใช้ จ่าย
สูง และใช้ ระบบการบริหารจัดการยาของสานักงานหลักประกันสุขภาพ
แห่งชาติ
ให้มีพนักงานสาธารณสุขต่างด้าว (พสต.) เป็ นองค์ประกอบในงาน
บริการสุขภาพของคนต่างด้าวทั้งด้านการรักษาพยาบาลและการสร้าง
เสริมสุขภาพ โดยมีการจัดจ้างทีถ่ ูกต้องตามระเบียบราชการ
ควรมีการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ (primary care) ในการให้การ
ดูแลแรงงานต่างด้าว และมีการพัฒนาอาสาสมัครต่างด้าว (อสต.) ใน
การดาเนินงานด้านสุขภาพในชุมชนของคนต่างด้าว
ควรมีระบบการประเมินผล ความครอบคลุมของผูม้ ีสิทธิ ความพึง
พอใจในการรับบริการ คุณภาพบริการ และความคุม้ ทุนของ
สถานพยาบาลในการให้บริการแรงงานต่างด้าวและผูต้ ิดตาม
กระทรวงสาธารณสุขควรมีการกาหนดนโยบายทีช่ ดั เจน รวมถึงมีระบบ
สนับสนุนทีม่ ีศกั ยภาพ เช่น ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ ระบบการ
ลงทะเบียนต่างๆ เพือ่ สนับสนุนการดาเนินงานบริการสุขภาพให้แก่
แรงงานต่างด้าวและผูต้ ิดตามในพื้ นที่ มีช่องทางในการรับฟั งความเห็น
ของพื้ นทีเ่ พือ่ การพัฒนางาน
ข้อเสนอต่อการพัฒนาระบบบริการสุขภาพของ
แรงงานต่างด้าวโดยรวม
กระทรวงสาธารณสุขควรมีบทบาททีช่ ดั เจนในการผลักดันให้การมี
หลักประกันสุขภาพของแรงงานต่างด้าวและครอบครัวเป็ นความจาเป็ น
เพือ่ ประกันความมันคงด้
่
านสุขภาพของประชาชนไทย และประชากร
ต่างด้าวทีม่ าอาศัยในประเทศไทย โดยการทาความเข้าใจกับหน่วยงาน
ทีเ่ กีย่ วข้องทั้งระบบ
กระทรวงสาธารณสุขและสานักงานประกันสังคมต้องมีมาตรการทาง
กฎหมายทีช่ ดั เจน และมีผลในทางปฏิบตั ิ เพือ่ แก้ไขปั ญหาการหลบ
เลีย่ งเข้าสู่ระบบประกันสุขภาพของแรงงานต่างด้าวและครอบครัว
ควรมีนโยบายและแนวทางทีช่ ดั เจนในการดาเนินงานด้านสร้างเสริม
สุขภาพและป้องกันโรคให้แก่แรงงานต่างด้าวและผูต้ ิดตาม รวมถึงมี
มาตรการด้านงบประมาณทีช่ ดั เจนจากหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง อัน
ประกอบด้วย กระทรวงสาธารณสุข สานักงานประกันสังคม และ
สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ควรให้ความสาคัญต่อบริการด้านสุขภาพทีส่ าคัญนอกเหนือจากบริการ
รักษาพยาบาล เช่น งานอนามัยเจริญพันธุแ์ ละการวางแผนครอบครัว
ควรมีแนวทางทีช่ ดั เจนในการช่วยเหลือสถานพยาบาลทีป่ ระสบปั ญหา
ขาดทุน อันเนือ่ งมาจากการให้บริการสุขภาพแก่แรงงานต่างด้าวและ
ผูต้ ิดตามทีไ่ ม่มีหลักประกันสุขภาพใดๆ
ขอบคุณครับ ที่จะช่วยกัน
ดูแลสุขภาพของพวกเรา
อย่างเท่าเทียม และไม่
กังวลว่าผมมาอย่างถูก
กฎหมายหรือไม่