กระบวนการวินิจฉัยชุมชุน - ภาควิชาการพยาบาลอนามัยชุมชน

Download Report

Transcript กระบวนการวินิจฉัยชุมชุน - ภาควิชาการพยาบาลอนามัยชุมชน

กระบวนการวินิจฉัยชุมชน
แบบให้ชุมชนมีส่วนร่ วม
(PROCESS of COMMUNITY
DIAGNOSIS and
COMMUNITY PARTICIPATION)
พ.ต.หญิง ศศิพร อุ่นใจชน
การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องต่อ “ชุมชน”
• การเข้ าใจชุ มชน การเข้ าถึงชุ มชน การเข้ าหาชุ มชน
การทางานสร ้างเสริมสุขภาพของ
ี พยาบาล
วิชาชพ
พยาบาลควรคานึงถึง ...




้
ปร ับมามองสุขภาพมากขึน
สร้างสุขภาพทงผู
ั้ ป
้ ่ วยและผูไ้ ม่ป่วย
ผสมผสานกิจกรรมสร้างสุขภาพในทุกระด ับ
ของการพยาบาล
ผสมผสานกิจกรรมสร้างสุขภาพในทุก
หน่วยของการพยาบาล
การทางานสร ้างเสริมสุขภาพของ
ี พยาบาล
วิชาชพ
พยาบาลควรคานึงถึง...


ประยุกต์แนวคิดหลักการบริการสร ้างเสริมสุขภาพ
ในการพยาบาล
ขยายกลุม
่ เป้ าหมาย
• ครอบครัว
• ชุมชน
่ คนพิการ ผู ้ด ้อยโอกาส
• กลุม
่ เป้ าหมายพิเศษ เชน
การทางานสร ้างเสริมสุขภาพของ
ี พยาบาล
วิชาชพ
พยาบาลควรคานึงถึง...


เพิม
่ ขอบข่ายการประเมินผู ้ป่ วยให ้ครอบคลุมกาย
ใจ สงั คม เศรษฐกิจ จิต วิญญาณ เพิม
่ ระบบการ
สง่ ต่อ และ การดูแลต่อเนือ
่ ง
ั ยภาพชุมชน และ เพิม
ประเมินศก
่ การทางานให ้
ชุมชนมีสว่ นร่วมในการดูแลสุขภาพชุมชน
เครื่องมือศึกษาชุมชน
แผนที่เดินดิน
ผังเครือญาติ
โครงสร้ างองค์ กรชุมชน
ระบบสุ ขภาพชุมชน
ปฏิทนิ ชุมชน
ประวัตศิ าสตร์ ชุมชน
ชีวประวัติบุคคลสาคัญ
1. แผนที่เดินดิน
สาคัญทีส่ ุ ดเพราะ….
เห็นภาพรวม
ได้ ข้อมูลมาก / เร็ว
ข้ อมูลเชื่อถือได้
ประเภทของแผนทีช่ ุมชน
1. แผนทีท่ างภูมศิ าสตร์ (หรือทางกายภาพ) ประกอบด้ วย
การกาหนดทิศ มาตราส่ วน ระยะทาง
เครื่องหมายสั ญลักษณ์ วัน เดือน ปี ทีท่ าแผนที่
และชื่อผู้ทาแผนที่ เป็ นการให้ ความสาคัญกับ
พืน้ ที่ทางกายภาพ(Physical space)
2. แผนทีเ่ ดินดิน เน้ นพืน้ ที่ทางสั งคม (social space)
และหน้ าทีท่ างสั งคม (social function) ของสมาชิก
กลุ่มต่ างๆ ในชุมชนนั้น
2.
ผั
ง
เครื
อ
ญาติ
ความสั มพันธ์ รากฐานของชีวติ
80% ของการเจ็บป่ วยเกิดขึน้ และถูกเยียวยา
ในครอบครัวและเครือญาติ
3.โครงสร้ างองค์ กรชุมชน
เศรษฐกิจ: อาหาร รายได้ แหล่งเงินกู้
สัอาชี
งคมพ: กลุ่ม/องค์กรทางสังคม/วัฒนธรรม
การเมือง: องค์กร/ผูน้ าทางการ/ไม่เป็ นทางก
4. ระบบสุขภาพชุมชน
ระบบการแพทย์ พหุลกั ษณ์
MEDICAL PLURALISM
80%
PROFESSIONAL
SECTOR
ภาควิชาชีพ
POPULAR
SECTOR
ภาคประชาชน
FOLK SECTOR
พืน้ บ้ าน
5. ปฏิทนิ กิจกรรมชุมชน
คือวิถชี ีวิต
ปฏิทินเศรษฐกิจ
ปฏิทินวัฒนธรรม
6. ประวัตศิ าสตร์ ชุมชน
เศรษฐกิจ
สั งคม
การเมือง
สาธารณสุข
7. ชีวประวัติ
คนจน
คนทุกข์
คนป่ วย
หมอบ้ าน
คนเฒ่ าคนแก่
ผู้นาทางการ/ธรรมชาติ
Process of
Community diagnosis
COMMUNITY
NURSING PROCESS
1. COMMUNITY ASSESSMENT
2. DATA COLLECTION & DATA ANALYSIS
6. PROJECT EVALUATION
& CONTINUATION
3. PRIORITY SETTING
4. PROBLEM ANALYSIS
5. PROJECT INTERVENTION
* Community assessment
- Demographic characteristic
- Community background
- Physical environment
- Socio-cultural environment
- Network assessment : social & support
network
- Economic resource : financial, health
insurance
- Health behaviors :
: HSU & illness behaviors
: health promoting & preventing
behaviors
* Nursing activity
- primary care, BMC
- health education
- health counselling
- home visiting
- surveillance
- school health promotion
- coordination & advocation
- etc.
Family
Well-being
Planning
* Community participation
- sharing life experiences
- problem diagnosis &
prioritization
- problem analysis (emic view)
- planning
- intervention
- evaluation (emic view)
- project continuation
* Nursing role
- Health educator
- Health counsellor
- Home visitor
- Mediator &
Advocator
- Coordinator
- Researcher
Intervention
QOL
Community
Well-being
Conceptual framework of community diagnosis process
ขันตอนที
้
่ 1 การทาแผนที่ชม
ุ ชน
แผนที่ชุมชน แผนที่เดินดิน
 Overview Mapping Community

Family Folder
- ผังเครือญาติของครอบครัว
- ปฏิทินชีวติ
- แผนเชิงรุก
- ประวัติชีวติ
2. DATA COLLECTION & DATA ANALYSIS
การประมวลข้ อมูล การวิเคราะห์ และการนาเสนอข้ อมูล

การวิเคราะห์ ข้อมูล: ต้ องจัดหมวดและแจกแจงข้ อมูลพืน้ ฐาน
ของประชากรได้ โดยต้ องคานวณจานวนประชากรกลางปี , อัตรา
การเพิม่ ประชากร, อัตราการเกิด, อัตราการตาย, อัตรา
อุบัตกิ ารณ์ การเกิดโรคต่ างๆ ฯลฯ
การนาเสนอข้ อมูลของชุมชน เน้ นเรื่องสาคัญ คือ
- จานวนประชากร จาแนกตามเพศและอายุ ทีแ่ บ่ งเป็ นช่ วง ทุก 5 ปี โดย
การสร้ างแผนภูมิปิรามิดประชากร
- จาแนกประชากรตาม ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ สถานภาพสมรส
ศาสนา ฯลฯ
- ข้ อมูลทางด้ านสุ ขภาพของชุมชน ด้ วยตาราง กราฟ แผนภูมิชนิดต่ างๆ
ตามความเหมาะสม เช่ น แผนภูมิแท่ ง แผนภูมิกง ฯลฯ

3. PRIORITY SETTING
ต้ องเลือกแก้ ไขปัญหาที่เร่ งด่ วนและจาเป็ นทีส่ ุ ดก่อน
...
1.เนื่องจากทรัพยากรในการแก้ไขปัญหาจากัด
2. ระยะเวลาในการปฏิบตั ิงานไม่เอื้ออานวย
หรื อระยะเวลาในการปฏิบตั ิงานมีไม่เพียงพอ
การจัดลาดับความสาคัญของปัญหา ต้ องเน้ น
ให้ ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่ วม : การทาเวทีประชาคม
การระบุปัญหาและความต้องการของชุมชน
ปัญหาของชุมชนทางด้านสุ ขภาพอนามัย
หมายถึง โรคหรื อภาวะเสี่ ยงอันอาจจะ
ก่อให้เกิดโรคอื่น ๆตามมา มีผลให้ประชาชน
ไม่สามารถมีชีวติ ยืนยาวได้เท่าที่ควรเป็ น
การเขียนปัญหา
1. ระบุวา่ ใคร เป็ นอะไร
2. จานวนเท่าไร
3. คิดเป็ นร้อยละเท่าไร
ตัวอย่างปัญหา
ประชาชนป่ วยด้วยโรคอุจจาระร่ วง จานวน
300 คน คิดเป็ นร้อยละ81.20
วิธีการจัดลาดับความสาคัญของปั ญหา
พิจารณา 3 องค์ประกอบ ดังนี ้
1. ด้ านสุขภาพอนามัยของประชากรในชุมชน
โดยพิจารณาถึง
1.1 ขนาดของปั ญหา
(size of problem or prevalence)
1.2 ความรุ นแรงของปั ญหา
(Severity of problem)
2. ด้ านความยากง่ ายในการแก้ ปัญหา
(Ease of management หรือ Feasibility)
2.1 ด้ านวิชาการ
2.2 ด้ านการบริหาร
2.3 ระยะเวลา
2.4 ด้ านกฎหมายและศีลธรรม
3. ความวิตกกังวลต่ อปัญหาของชุมชน
(Community concerns)
การที่ประชาชนในชุมชนเห็นว่าปั ญหาที่เกิดขึ ้นมี
ความสาคัญหรื อไม่ มีความวิตกกังวลห่วงใยหรื อ
ต้ องการแก้ ไขปั ญหาหรื อไม่ หรื อมีความต้ องการ
ร่วมมือในการแก้ ไขปั ญหามากน้ อยเพียงไร
การจัดลาดับความสาคัญของปั ญหาตามขนาดของปั ญหา
ร้ อยละของผู้ป่วย
มากกว่าร้ อยละ 0 ถึง 25
26 ถึง 50
51 ถึง 75
76 ถึง 100
คะแนน
1
2
3
4
การจัดลาดับความสาคัญของปั ญหาตาม
ความรุนแรงของปั ญหา
ความรุนแรงของปั ญหา
มากกว่าร้ อยละ 0 ถึง 25
26 ถึง 50
51 ถึง 75
76 ถึง 100
คะแนน
1
2
3
4
การจัดลาดับความสาคัญของปั ญหาตาม
ความยากง่ายในการแก้ ปัญหา
การแก้ ปัญหา
ยากมาก
ยาก
ง่าย
ง่ายมาก
คะแนน
1
2
3
4
การจัดลาดับความสาคัญของปั ญหาตาม
ความวิตกกังวลต่อปั ญหาของชุมชน
ความวิตกกังวลต่อปั ญหา
วิตกกังวลน้ อยมาก / ให้ ความร่วมมือน้ อยมาก
วิตกกังวลน้ อย / ให้ ความร่วมมือน้ อย
วิตกกังวลมาก / ให้ ความร่วมมือมาก
วิตกกังวลมากที่สดุ / ให้ ความร่วมมือมากที่สดุ
คะแนน
1
2
3
4
ตัวอย่ างการคิดคะแนนเพือ่ จัดลาดับความสาคัญของปัญหา
ปัญหา
1. เด็กแรกคลอด
มีน้ าหนักต่ากว่า
2,500 กรัมร้อยละ
38.3
2. ครัวเรื อนไม่มี
น้ าสะอาดดื่มเพียง
พอ ร้อยละ 76.4
คะแนนองค์ประกอบ
คะแนนรวม
ขนาด ความรุ นแรง ความยากง่าย วิตกกังวล วิธีบวก วิธีคูณ
2
2
3
1
8
12
4
2
2
3
11
48
4. PROBLEM ANALYSIS
การวิเคราะห์ สาเหตุของปัญหา (Problem Analysis) หรือ
การโยงใยสาเหตุของปัญหา (Web of causation)
1. การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาตามแนวคิดของวิทยาการระบาด
(Host – Agent – Environment) ... DHF
2. การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาตามแนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์ ... HT
3. การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาตามแนวคิดวัฏจักร (Vicious cycle)
(โง่ - จน – เจ็บ) ... Malnutrition
5. PROJECT INTERVENTION
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการสุ ขภาพในงานสาธารณสุ ข

องค์ ประกอบของโครงการ
1. ชื่อโครงการ เป็ นการสื่ อความถึงผู้อ่านให้ เข้ าใจใน
ภาพรวม/ภาพกว้ างของโครงการนีว้ ่ าต้ องการดาเนินการเกี่ยวกับ
อะไร หรือมีเป้ าหมายหลักอย่ างไร
“นรพ.ร่ วมใจ ห่ วงใยสุขภาพ”
2. หลักการและเหตุผล หมายถึง ที่มาและปัญหาสุ ขภาพที่
ต้องการแก้ไขนั้นแสดงภูมิหลังของโครงการ
องค์ ประกอบของโครงการ
3. วัตถุประสงค์ ของโครงการ (Objective) เป็ นการกาหนดสิ่ งที่ตอ้ งการ
ให้เกิดขึ้นหลังเสร็ จสิ้ นโครงการ
__ประชาชนตระหนักถึงความสาคัญของการกาจัดลูกนา้ ยุงลาย
__นทน.มีคุณภาพชี วิตที่ดีขึน้ สี หน้ ายิม้ แย้ ม ไม่ เครี ยด
4. เป้าหมาย/ตัวชี้วดั ความสาเร็จของโครงการ (Targets/Indicators)
เป็ นการกาหนดสิ่ งที่ตอ้ งการให้เกิดหลังดาเนินโครงการโดยกาหนด
ไว้อย่างเฉพาะเจาะจง ชัดเจน สามารถวัดได้ประเมินได้
__อัตราผู้ป่วยโรคไข้ เลือดออกลดลง ไม่ เกิน ร้ อยละ 0.05
__ไม่ มีผ้ ปู ่ วยตายด้ วยโรคไข้ เลือดออก
__นทน.มีความรู้ เพิ่มขึน้ หลังการอบรม ร้ อยละ 10
5. วิธีดาเนินการและกิจกรรม (Activity) ให้ระบุวิธีการ
ทางานเพื่อให้บงั เกิดผลดังกล่าว ช่องทางหรื อแนวทางปฏิบตั ิ
กิจกรรม รวมทั้งระบุข้ นั ตอนในการปฏิบตั ิและเครื่ องมือไว้ดว้ ย
... H/E, H/V, อบรมผู้นาชุมชน, จัดนิทรรศการ
6. ระยะเวลาดาเนินการ เป็ นการกาหนดวันหรื อช่วงเวลาที่จะปฏิบตั ิ
ตามโครงการ อาจจัดทาเป็ นผังควบคุมกากับงาน (Gantt
chart/Time table)
7. สถานที่ดาเนินการ ระบุสถานที่และอาณาเขตในการปฏิบตั ิการ
8. ทรัพยากร เป็ นการระบุปัจจัยทั้งหลายที่ถูกนามาใช้ท้ งั หมดใน
โครงการ ได้แก่ บุคคล อุปกรณ์ งบประมาณ แหล่งและจานวน
เงินทุน (money) รวมทั้งยอดค่าใช้จ่ายจาแนกตามหมวด
หรื อรายการจ่าย
 9. การประเมินผล เป็ นการกาหนดรายละเอียดของการประเมิน
ความสาเร็ จของโครงการ
... การสังเกตความสนใจ คะแนนสอบ จานวนผู้เข้ าร่ วม
 10. ผลที่คาดว่ าจะได้ รับ (Benefits/positive impacts) เป็ นการ
กาหนดผลที่จะบังเกิดในเชิงบวกที่จะเกิดกับประชาชน
กลุ่มเป้ าหมายเมื่อสิ้ นสุ ดโครงการ ทั้งนี้ให้พิจารณาตาม
วัตถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้

11. ผู้รับผิดชอบโครงการ นิยมระบุเป็ นหน่วยงานหรื อองค์กร มัก
ไม่ระบุชื่อเป็ นรายบุคคล
12. ผังควบคุมกากับงาน (Gantt chart) เป็ นการแสดง
รายละเอียดของกิจกรรม
 วัน-เวลา ทรัพยากรและการประเมินผล
6. PROJECT EVALUATION
การประเมินผลโครงการสุ ขภาพ
1. ชนิดของการประเมิน มี 2 แบบ คือ


แบบที่ 1 เป็ นการประเมินขณะดาเนินการเพื่อใช้เป็ นเครื่ องมือปรับปรุ ง
งานเป็ นระยะ (Formative evaluation)
แบบที่ 2 เป็ นการประเมินหลังดาเนินการ (Summative
evaluation) เป็ นการสรุ ปในภาพรวมว่าโครงการนี้สาเร็ จ
หรื อไม่ โดยใช้การประเมินในประเด็นต่างๆที่จะกล่าวในรายละเอียด
ต่อไป
ประเด็นการประเมิน
1.ประสิ ทธิผล (Effectiveness) หรื อ
ความสาเร็ จของงานสาธารณสุ ข เป็ นองค์ประกอบที่
สามารถประเมินได้จากการเปรี ยบเทียบผลงานที่ได้หรื อ
ผลสัมฤทธิ์ ของโครงการ กับเป้ าหมาย/ตัวชี้วดั ความสาเร็ จ
ของโครงการที่กาหนดไว้
*การประเมินประสิ ทธิผลจะทาได้เมื่อสิ้ นสุ ดโครงการแล้ว
(Summative evaluation) ด้วยข้อมูลเชิงปริ มาณเป็ นส่ วนใหญ่
**เกณฑ์ การประเมินประสิ ทธิผล ให้ พจิ ารณาจากเป้าหมาย/
ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จของโครงการ
2. ประสิ ทธิภาพ (Efficiency) สามารถประเมินได้จากการพิจารณาว่า
โครงการนั้นสามารถดาเนินไปตามแผนปฏิบตั ิการในแต่ละขั้นตอน
อย่างสะดวก ราบรื่ น เสร็ จสิ้ นตามเวลาและงบประมาณที่กาหนด
*เกณฑ์การประเมินประสิ ทธิภาพต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ
โครงการ
3. ความก้ าวหน้ า (Progress) การประเมินความก้าวหน้าเป็ นการวิเคราะห์
ความพยายามในการดาเนินกิจกรรมตลอดจนอัตราการปฏิบตั ิงานจริ ง
เมื่อเปรี ยบเทียบกับแผนงานที่กาหนดไว้ เป็ นลักษณะการประเมินขณะ
ดาเนินงาน(Formative evaluation) มากกว่าจะใช้ประเมินหลังสิ้ นสุ ด
โครงการแล้ว(Summative evaluation)
(Adequacy) เป็ นการประเมินการใช้
ทรัพยากรทุกด้านให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด เมื่อเปรี ยบเทียบกับ
ผลสัมฤทธิ์ที่บงั เกิด
4. ความคุ้มค่ าและพอเพียง
5. ความสั มพันธ์ สอดคล้ อง (Relevancy) ผูบ้ ริ หารมักใช้ประเด็นนี้ใน
การพิจารณาโครงการก่อนอนุมตั ิโครงการและงบประมาณ
สอดคล้องนโยบาย
6. ผลกระทบ (Impacts) เป็ นการติดตามผลที่เกิดจากโครงการในระยะ
ยาวหรื อเป็ นผลทางอ้อมที่ตอ้ งใช้ความละเอียดอ่อนในการเก็บข้อมูล
โดยเน้นการประเมินผลกระทบทางสุ ขภาพ (HIA : health impact
assessment )