แนวทฤษฎีพัฒนาด้านคุณธรรมจริยธรรม
Download
Report
Transcript แนวทฤษฎีพัฒนาด้านคุณธรรมจริยธรรม
1. ทฤษฏีทางจริยศาสตร์
1) ความดีอยู่ในสิ่งที่คนเห็นว่ามันดี เพราะคนเราต้องการสิ่ง
หนึ่ ง เพื่อสิ่งหนึ่ ง และเพื่อสิ่งอื่นๆ อีกไปหยุด ที่ความสุขซึ่งเป็ นสิ่ง
ดี สุ ด ท้า ย หรื อ จุ ด หมายสุ ด ท้า ยแต่ ค วามสุ ข ต้อ งเป็ นผลจาก
กิ จ กรรมทางปั ญญาด้ว ย ปฏิ บั ติ คุ ณ ธรรมของบุ ค คล ส่ ว น
ความสุขที่เกิดจาก ผัสสะ เป็ นความสุขระดับตา่ สัตว์เดรัลฉานก็มี
ได้ ( อริสโตเติล )
2) การกระทาไม่ได้ดีหรือชัว่ ถูกหรือผิด อย่างแน่ น อนตายตัว
มัน ขึ้ นอยู่กับ สภาพแวดล้อ มที่ ก ระท ามากกว่า หรื อ ขึ้ นอยู่กับ
บุคคลหรือสังคม (สัมพันธนิ ยม Relativism )
3) การแสวงหาความสุ ขให้ตัวเองมากที่ สุด ไม่ตอ้ งนึ กถึ งผู้อื่น ช่วย
ผูอ้ ื่นต้องมีผลนาความสุขมาสู่ตวั เรา ( อัตนิ ยม Egoism )
4) ความสุ ขของคนส่วนใหญ่ ในสังคมไม่ใช่ของผูห้ นึ่ งผูใ้ ด ความสุ ข
เป็ นสิ่ ง ดี แต่ เ ป็ นความสุ ข ทางใจ ไม่ ใ ช้ท างกาย (ประโยชน์ นิ ย ม
Utilitarianism )
5) ความสุ ข เป็ นสิ่ ง ที่ ดี ที่ สุ ด ของชี วิ ต การกระท าใดๆ ทุ ก อย่ า งมี
จุดมุง่ หมายอยูท่ ี่ความสุขสบายเท่านั้น( สุขนิ ยม Hedonism)
6) ค่าจริยธรรมต้องแน่ นอนตายตัว ไม่เลือกเวลาสถานที่สิ่ง แวดล้อม
หรือบุคคล สังคม การกระทาที่ ถูกหรือดี เกิดจากเจตนาดี สานึ กใน
หน้าที่ไม่ใช่อารมณ์ หรือความรูส้ ึก กระทาตามกฎศีลธรรม ไม่ใช้ชีวิต
ที่มีความสุข (คานท์ Kant’ Moral Theory)
จิตวิเคราะห ์ (Phychoalytic T )
บุคลิกภาพพัฒนาจากพลังงานทางจิต ที่เรียกว่า (id) อีโก้ (ego)
และซุปเปอร์อีโก้ ( Superego ) อิดติดตัวมาแต่เกิด ผลัก ดันให้
เด็ ก ตอบสนองความต้อ งการตาม สั ญ ชาติ ญ าณ และกระตุ ้น ให้
แสวงหาความสุ ข ด้ว ยตนเองซึ่ ง บ้า งครั้ง ไม่ พ อตอบสนอง จึ ง ต้อ ง
พัฒนาขึ้ นใหม่โดย อีโก้คิดวางแผนตอบสนองความต้องการนั้ น โดย
ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เป็ นจริงเมื่ออายุ 3-6 ปี ซุปเปอร์
อีโก้พฒ
ั นาขึ้ นมาเพื่อควบคุมระบบคุณธรรมจริยธรรมในตัว บุคคล ทา
ให้มีการถ่ายทอดค่านิ ยม มาตรฐานทางคุณธรรมจริยธรรมของสังคม
ผ่านกระบวนการเลียนแบบ จากพ่อแม่หรือผูอ้ บรมเลี้ ยงดู (ซิกมันด์
ฟรอยด์ )
คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมควรเริ่ ม ปลู ก ฝั ง ตั้ ง แต่ เ ด็ ก บุ ค คลจะเพิ่ มพู น
คุณธรรมจริยธรรม จึงขึ้ นอยูก่ บั การอบรมเลี้ ยงดูที่ถกู ต้อง
2) พัฒนาการทางสติปัญญา ( Cogntlive clopment T. )
จริยธรรมหรือความเชื่อเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ เกี่ยวกับการตัดสินถูกผิด
ไม่ได้เกิดจากการเรียนรู ้ ผ่านกระบวนการทางสังคม (
Socialisation ) แต่เกิดจากคิดไตร่ตรองตามเหตุผล ตามการ
พัฒนาสติปัญญา อายุ จากขั้นตา่ ถึงขั้นสูงกว่า ไม่มีการย้อนกลับและ
เร่งขึ้ น ( ลอเรนซ โคลเบิรก์ ) การใช้เหตุผลทางจริยธรรมของบุคคล
แบ่งเป็ น 3 ระดับ 6 ขั้นคือ
1) ก่อนมีจริยธรรม อายุ 2-10 ปี จะเลือกกระทาการตัดสินใจที่เป็ น
ประโยชน์ต่อตนเอง ไม่เกิดจะเกิดแก่ผอู้ ื่น ขั้นที่ 1 เชื่อฟั งเพื่อหลบ
หลักการทาโทษ ขั้นที่ 2 แสวงหารางวัลและการแลกเปลี่ยน
• 2) มีจริยธรรมตามเกณฑ์ อายุ 10-16 ปี ปฏิบตั ิตามเกณฑ์
ของกลุ่ ม ย่อยของตนเช่นท าตามกฎหมาย กฎเกณฑ์ศ าสนา
เอาใจเขามาใส่ใจเรา แสดงบทบาททางสังคมได้ แบ่งออกเป็ น
2 ขั้นคือ ทาตามผูอ้ ื่นเห็นชอบ คล้อยตามเพื่อนและทาตาม
กฎเกณฑ์ของสังคม รูบ้ ทบาทหน้าที่ในสังคม
• 3) ทาตามคามัน่ สัญญา อายุ 16 ปี ขึ้ นไปให้ความสาคัญของ
คนหมูม่ ากเคารพสิทธิผอู้ ื่น ควบคุมตนเองได้ มี 2 ขั้นคือ การ
มี เ หตุ ผ ลเคารพตนเอง ใช้สัญ ญาสัง คมเป็ นเหตุ ผ ลในการ
ตัดสินใจ และการยึดอุดมคติสากล ทาความดี เพื่อความดี มี
จิตใจกว้างขว้าง
• สรุ ป จริยธรรมของบุคคล มีความสัมพันธ์กบั ลัก ษณะ
หลายๆด้า น โดยเฉพาะสติ ปัญญา คนที่ มี อายุ มากขึ้ น
ย่อมมีโอกาสเรียนรู ้ จริยธรรมมากขึ้ น จะพัฒนาจากขั้น
ตา่ สุด ยุง่ ยากน้อยกว่า ซึ่งเกิดขึ้ นก่อนขั้นที่สงู ขึ้ น
• 3 ก า ร เ รี ย น รู้ ท า ง สั ง ค ม ( Social
Leanning T. )
• การเรีย นรู้ ของบุ ค คลส่ วนหนึ่ ง เกิด จาก
ประสบการณที
ั โดยตรงและอีกส่วน รับ
์ ร่ บ
จากตัว แบบ ( อัล เบิ ร ์ด แบนดู ร า ) 3
ประเภทคือ
• 1) ตัว แบบจริง แสดงพฤติก รรมจริง ให้
เห็ น
• 2) ตัว แบบสั ญ ญลัก ษณ ์ ได้แก่ตัว แบบใน
โทรทัศน์ ภาพยนตร ์ รูปภาพตางๆ
่
• 3) ตัว แบบค าบอกเล่า บัน ทึก ในรู ป ของ
• ผลจากประสบการณตรง
และสั งเกต
์
ตัวแบบ 3 ประเภท ทาให้เกิดการ
างสิ
มพันธระหว
ๆ
เรียนรูความสั
่ ่ งตาง
้
่
์
เหตุการณกั
์ บ สถานการณ ์
พฤติกรรมกับผลทีเ่ กิดจากพฤติกรรม
สามารถคาดหวังกับวิธท
ี าผลทีพ
่ งึ
ปรารถนามาสู่ตน หรือวิธก
ี ารทีจ
่ ะ
หลีกเลีย
่ งผลทีเ่ ลวราย
การคิดเชิง
้
ประเมินเช่นนี้ จะนาไปสู่การตัดสิ นใจ
ทาหรือไมท
เกิด
่ า พฤติกรรมตางๆ
่
• สรุป การปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม
ตองใช
ี ารเรียนรู้ ทัง้ ทางตรงและ
้
้วิธก
อ
่ นไขให้
สรางเงื
ทางออม
้
้
ประสบการณด
หรือให้
้
์ วยตนเอง
แบบอยางที
ด
่ ี บอกเลาอบรมให
่
่
้เกิด
ความเชือ
่ และตระหนักถึงทีส
่ ุด เพือ
่ ให้
รูจั
้ กเลือกหรือยึดถือนามาควบคุม
พฤติกรรม ทีไ่ มเหมาะสม
แสดงออก
่
เฉพาะที่ เหมาะสมและพึง่ ปฏิบต
ั ิ
• 4) การกระจางค
านิ
่
่ ยม ( Values
clarification T. ) ราทฮามิน
และซิ
มัน ใช้แนวคิดของทฤษฏีสัมพันธนิ
์ ยม
ทีว่ าความถู
กตองดี
งามไมได
้ อยูกั
่
้
่ ขึ
้ น
่ บ
หลักการทีแ
่ น่นอน แตผั
่ นแปรตาม
บุคคล และสภาพการณต
ไม่
่
์ างๆ
กาหนดจริยธรรมทีป
่ ลูกฝัง ยอมรับ
การตัดสิ นใจ ความรูสึ้ ก คานิ
่ ยมที่
เลือกแลว
มี
่ นไข มา
้ อยางไม
่
่ เงือ
เพียงชีน
้ าเพือ
่ ตัง้ คาถามเพือ
่ ให้
1) เลือกของตนอย่างอิสระหรือเปล่า
2) พิจารณาทางเลือกอื่นหรือไม่
3) พิจารณาทางเลือกต่างๆหรือเปล่า
4) ภูมิใจหรือยินดีในสิ่งที่เลือกหรือเปล่า
5) ยืนยันเลือกอย่างเปิ ดเผยหรือไม่
6) จะทาซ้าหรือไม่
การแสดงลาดับเหตุผล เชิงจริยธรรม ของโคลเบิรก์
1) ก่ อ นเกณฑ์ 2-10 ปี ระดั บ ต า่ ขั้ น ที่ 1 หลั ก การและ
หลักการลงโทษ ( 2-7 ปี ) ขั้นที่ 2 หลักการแสวงหารางวัล 710 ปี
2) ตามเกณฑ์ 10-16 ปี ระดับกลาง ขั้นที่ 3 ทาตามที่ ผูอ้ ื่น
เห็นชอบ ( 10-13 ปี ) ขั้นที่ 4 ทาตามหน้าที่ทางสังคม ( 1316 )
3) เหนื อ กฎเกณฑ์ 16 ปี ขึ้ นไป ระดับ สูง ขั้น ที่ 5 ท าตาม
ค ามั น่ สั ญ ญา 16 ปี ขึ้ นไป ขั้ น ที่ 6 การยึ ด อุ ด มคติ ส ากล
(ผูใ้ หญ่)
สรุป
การปลูกฝังไม่ควรกาหนดตัวบ่งชี้ ให้ควรใช้คาพูดคาถาม กระตุน้
ให้เกิดการคิดใคร่ครวญ ก่อนการตัดสินใจจะทาสิ่งนั้ น ไม่มีการ
ชักจูง เป็ นการทาค่านิ ยมให้กระจ่าง ตัดสินใจเลือกที่จะปฏิบตั ิ
เห็นคุณค่าที่จะปฏิบตั ิจนเป็ นนิ สยั ขั้นตอนการสร้างค่านิ ยมการ
เลือกมีดงั นี้
1) โอกาสเลือกอย่างเสรี 2) มีทางเลือกหลายหลาก 3) ให้
โอกาสคิด พิจารณาอย่างรอบคอบ 4) มีความยอมรับพอใจหรือ
การเลือก 5) พอใจยืนยันความคิดเดิมและสามารถอธิบาย
เหตุผลให้ผอู้ ื่นฟั ง 6) แสดงพฤติกรรมตามทางเลือกที่ตดั สินใจ
7) ปฏิบตั ิซ้าจนเป็ นนิ สยั
• พฤติกรรมของคนเราถูกควบคุมด้วยเงื่อนไข การเสริมแรงและ
การลงโทษ วิธีปลูกฝัง คุณธรรมจริยธรรมใดต้องจัดเงื่อนไข
ต่างๆ ให้ผกู้ ระทาได้รบั การเสริมแรง หรือต้องการลด
พฤติกรรม ก็ไม่ตอ้ งให้รบั การเสริมแรง หรือเรียกว่าเสริมแรง
และการลงโทษ ทฤษฏีนี้ประยุกต์มาจากทฤษฏีการวางเงื่อนไข
การบริหาร( Operant conditionning ) เชื่อว่ามนุ ษย์
สามารถพัฒนาตนเองได้ โดยอาศัยหลักการปรับพฤติกรรมที่
สัมพันธ์ กับผลกรรม จากพฤติกรรมที่แสดงออก สามารถ
กาหนดพฤติกรรมในอนาคตได้ ( สกินเนอร์ )
• 1 ยึดถือตนเอง ( Self oriented morality
) คือ ยึด ถือ สนใจอยู่ที่ค วามพอใจของตน
พิจารณาสิ่ งอืน
่ ๆ ออกไป ในการปรับตน
ไ ด้ รั บ ป ร ะ โ ย ช น์ ห รื อ ถู ก ขั ด ข ว า ง
ประโยชน์
• 2 ยึดถือผู้มีอานาจ ( Authority o.m ) เด็ก
และผู้ ใหญ่ จะมีจุ ด ตกลงร่วมกัน ในตัว ตน
ของอานาจ พ่อแม่ หัวหน้า ผู้มีอานาจ
ระดับ ประเทศ และ ศาสนา มาเป็ นผู
• 3) ยึดเพื่อน ( Pear- o.m ) โดยยึดถือความสอดคล้อง
กลับกลุ่มมากกว่า อานาจจากใคร เพื่อนนับเป็ นผูต้ ัดสินถูกผิด
จะพบมากในวัยรุ่น ที่ตอ้ งการการยอมรับ จากกลุ่มเพื่อน
• 4) ยึดถือกลุ่ม ( Collective- o.m ) ยึดถือความถูกต้อง
ของกลุ่มคนใหญ่ โดยไม่คานึ งถึ งตัวบุคคล หน้าที่ ของบุคคล
ทาเกณฑ์ ที่สงั คม กาหนด
• 5) ยึดถือจุดมุ่งหมาย ( Objective – o.m ) ไม่ได้
ขึ้ นอยู่กับ ผู้ใ ดหรื อ กลุ่ ม สัง คมใดเป็ นจริ ย ธรรมที่ เ ป็ นจริ ง ใน
ตัวเอง
การจะใช้รู ป แบบ จริ ย ธรรมใด ขึ้ นอยู่ กับ เหตุ ผ ลและ
สถานการณ์ ที่หลากหลาย
• สาหรับคนไทย ( ดวงเดือน พันธุมนาวิน ) แสดงจิตลักษณะ
พื้ นฐาน และองค์ประกอบทางจิตใจของพฤติกรรมทาง
จริยธรรม
• 1) ดอกผล เป็ นลักษณะพฤติกรรมของคนดี เก่ง ดอกผลดี
จะต้องมาจากต้น และรากสมบูรณ์
• 2) ลาต้น ลักษณะทางจิตใจที่เป็ นศาสนา ของพฤติกรรมที่ดี
5 ประการคือ 1) มีทศั นคติค่านิ ยมที่ดีมีคุณธรรม 2) มี
เหตุผลเชิงจริยธรรม 3) มุง่ อนาคตคาดการณ์ไกล 4) เชื่อ
อานาจในตน 5) มีแรงจูงใจใฝ่ สมั ฤทธิ์
• ลักษณะทางจิต 5 ประการ ถ้ามีมาก จะก่อให้เกิดพฤติกรรม
เก่ง และดีอย่างสมา่ เสมอ
• 3) ราก ลักษณะทางจิตที่หาอาหารเลี้ ยงลาต้น ให้สมบูรณ์
ได้แก่ 1) สติปัญญาความเฉลียวฉลาดตามอายุวยั ที่สามารถ
คิดเป็ นนามธรรมขั้นสูงขึ้ น 2) ประสบการณ์ทางสังคมเอาใจ
เขามาสู่ใจเรา 3) สุขภาพอันดี วิตกกังวลน้อย หรือเหมาะสม
กับเหตุการณ์
• ลักษณะทางจิตและพฤติกรรม ต้องส่งเสริมตั้งแต่เด็ก 2 ขวบ
ขึ้ นไป
• การปลูกฝังส่งเสริมให้บุคคลที่คุณธรรม จริยธรรม ต้องอาศัย
ทฤษฏีจริยธรรมเป็ นแนวทาง เพื่อคนหาวิธีการที่เหมาะสม
เป็ นที่ยอมรับกันในสังคม ไม่ขดั หลักการศาสนาที่บุคคลนับถือ
ตั้งอยูบ่ นความสุข ความดีงามของการประพฤติ