7.จิตวิทยาอรพรรณ เลาหัตถพงษ์ภูริ

Download Report

Transcript 7.จิตวิทยาอรพรรณ เลาหัตถพงษ์ภูริ

จิตวิทยาเด็กกระทาความผิด
อรพรรณ เลาหัตถพงษ์ภูริ
พฤติกรรมเด็กกระทาผิด
ดื้อ ต่อต้าน ก้าวร้าว เกเร
 อะไรเป็ นสาเหตุทที่ าให้มพ
ี ฤติกรรมดังกล่าว
 ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้อง

 ตัวเด็ก
 ครอบครัว
 สังคม
– โรงเรียน เพือ่ น สภาพแวดล้อม สือ่
ปัจจัยทีต่ วั เด็ก
ขนาดร่างกาย ความผิดปกติของร่างกาย
 โรคและความผิดปกติของสมอง เช่น

 ลมชัก
ซึมเศร้า สมาธิสนั้ การเรียนรู้บกพร่อง โรคดื้อ เชาวน์ปญั ญาต่า
ลักษณะนิสยั พืน้ อารมณ์ หงุดหงิดง่าย เครียดง่าย มองโลกแง่ร้าย ไม่เห็น
คุณค่าในตนเอง ขาดการยับยัง้ ชัง่ ใจ
 มีความประพฤติเกเรตามเกณฑ์วนิ จิ ฉัยแยกโรคทางจิตเวช

 ก้าวร้าวต่อคนและสัตว์
 หลอกลวง
ลักขโมยไม่เผชิญหน้า
- ทาลายสิง่ ของ
- ละเมิดฎเกณฑ์
ปัจจัยครอบครัว
รูปแบบการเลีย้ งดู แบบเข้มงวด ปล่อยปละละเลย
 การฝึ กวินยั ทีใ่ ช้การลงโทษ
 ความขัดแย้งของครอบครัว หรือการแยกกัน
 การเป็ นแบบอย่างไม่ดขี องพ่อแม่พนี่ อ้ ง
 การใช้ความรุนแรง หรือทอดทิ้ง
 ความสัมพันธ์ ของพ่อแม่กบั เด็ก

ปัจจัยสิง่ แวดล้อม

โรงเรียน
 การเข้าเรียน
 ผลการเรียน

เพือ่ น
 การถูกเพือ่ นปฏิเสธ
ถูกกลัน่ แกล้ง
 คบเพือ่ นไม่ด ี
สภาพแวดล้อม ไม่เหมาะสม – มัว่ สุม กดดัน การเรียนรู้
 สือ่ ตัวแบบไม่เหมาะสม

ทฤษฎีเกีย่ วกับการเกิดพฤติกรรม
ทฤษฎีโครงสร้างของจิต Sigmund Freud
 ประกอบด้วย Id Ego Superego
 เมือ่ Ego ไม่สามารถทาตาม Id ได้เพราะขัดกับ Superego จึงวิตกกังวล เครียด
และผลักดันเป็ นกลไกป้ องกันตนเอง Defense Mechanism
 เก็บกด
- เลียนแบบ
-แสดงพฤติกรรมตรงข้าม
 ตาหนิผูอ้ นื่
-ถดถอย
-ทดแทน
-แทนที่

ทฤษฎีเกีย่ วกับการเกิดพฤติกรรม

ทฤษฎีลาดับขัน้ ความต้องการ ๕ ขัน้ Abraham Maslow
 ขัน้ ที่ ๑
ความต้องการทางร่างกาย
 ขัน้ ที่ ๒ ความมัน่ คงปลอดภัย
 ขัน้ ที่ ๓ ความรักความเป็ นเจ้าของ
 ขัน้ ที่ ๔ ความภูมใิ จในตนเอง
 นับถือตนเอง
ประสพความสาเร็จ
 ได้รบั ยกย่อง มีชอื่ เสียง
 ขัน้ ที่ ๕
ความรู้สกึ ว่าตนเองมีคุณค่า
 ความต้องการรู้และเข้าใจ
 ความต้องการทาสิง่ ทีด
่ งี าม
ทฤษฎีเกีย่ วกับการเกิดพฤติกรรม
ทฤษฎีการเรียนรู้
 ทฤษฎีการวางเงือ่ นไขแบบคลาสสิก Ivan Pavlov
 ทดลองกับสุนขั โดยให้อาหารพร้อมกับการสัน่ กระดิง่ แล้วน้าลายไหล
 US + CS = CR
 ทฤษฎีการเสริมแรง B.F.Skinner
 ทดลองกับหนู เมือ่ กดคานแล้วได้อาหาร
 A -------> B -------> C

ทฤษฎีเกีย่ วกับการเกิดพฤติกรรม
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม Bandura
 พฤติกรรมเกิดจากการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือการเลียนแบบ
 ตัวแบบ ได้แก่ คน สัญลักษณ์
 กระบวนการสังเกต ได้แก่

 การตัง้ ใจ
 การจดจา
 การนามาแสดงเป็ นพฤติกรรม
 การจูงใจ
ทฤษฎีเกีย่ วกับการเกิดพฤติกรรม
ทฤษฎีพฒั นาการทางบุคลิกภาพของ Sigmund Freud
 ขัน้ ปาก อายุเกิดถึง ๑๘ เดือน การดูด การกิน (สูบบุหรี่ กินจุ พู ดนินทา)
 ขัน้ ทวารหนัก ๑๘ เดือน – ๓ ปี การขับถ่าย (เจ้าระเบียบ รก สุร่ ุยสุร่าย ตระหนี่ ขีห้ งึ )
 ขัน้ อวัยวะสืบพันธุ์ ๓ – ๕ ปี เด็กชายรักแม่ อิจฉาพ่อจึงเลียนแบบพ่อ (รักร่ วมเพศ)
 ระยะแฝง ๖ – ๑๒ ปี เล่นกับเพศเดียวกัน เริม่ ปรับตัวสู่วยั ผู ใ้ หญ่
 ระยะพึงพอใจเพศตรงข้าม ๑๒ – ๒๐ ปี ความเป็ นตัวของตัวเอง

ทฤษฎีเกีย่ วกับการเกิดพฤติกรรม
ทฤษฎีพฒั นาการของ Erikson ๘ ขัน้
 ความรู้สกึ ไว้วางใจหรือไม่ไว้วางใจ เกิด – ๒ ปี
 ความเชือ่ มัน่ ในตัวเองหรือระแวงสงสัย ๒ – ๓ ปี
 ความคิดริเริม่ หรือความรู้สกึ ผิด ๓ – ๕ ปี
 ความขยันหมัน่ เพียรหรือความรู้สกึ ต่ าต้อย ๖- ๑๒ ปี
 ความมีเอกลักษณ์หรือสับสนในบทบาทของตน ๑๒ – ๑๗ ปี

 เลียนแบบบุคคลอืน่

เกิดปัญหาความสัมพันธ์กบั พ่อแม่ คล้อยตามเพือ่ น
ความรู้สกึ ว่ามีเพือ่ นหรือรู้สกึ อ้างว้าง ๑๗ – ๒๑ ปี
ทฤษฎีเกีย่ วกับการเกิดพฤติกรรม
ทฤษฎีจริยธรรม Kohlberg มี ๓ ระดับ ๖ ขัน้ ตอน
 ระดับที่ ๑ บุคคลยึดตนเองในการตัดสินการกระทา ๒ – ๑๐ ปี

 ขัน้ ที่ ๑
หลักการเชือ่ ฟั งคาสัง่ และหลีกเลีย่ งการถูกลงโทษ
 ขัน้ ที่ ๒ หลักการแสวงหารางวัล

ระดับที่ ๒ บุคคลเรียนรู้ทจี่ ะกระทาตามกฎเกณฑ์ ๑๐ – ๑๖ ปี
 ขัน้ ที่ ๓
หลักการทาตามทีผ่ ู อ้ นื่ เห็นชอบ
 ขัน้ ที่ ๔ หลักการทาตามหน้าทีท่ างสังคม กฎหมาย

ระดับที่ ๓ บุคคลตัดสินตามความคิดและเหตุผลของตนเอง ๑๖+ ปี
 ขัน้ ที่ ๕
หลักการทาตามคามัน่ สัญญา
 ขัน้ ที่ ๖ หลักการยึดอุ ดมคติสากล