“แรงจูงใจ” มาจากคำกริยาในภาษาละตินว่า

Download Report

Transcript “แรงจูงใจ” มาจากคำกริยาในภาษาละตินว่า

ความหมาย

คาว่า “แรงจูงใจ” มาจากคากริยาในภาษาละตินว่า “Movere”(Kidd,
1973:101) ซึ่งมีความหมายตรงกับคาในภาษาอังกฤษว่า “to move”
อันมีความหมายว่า “เป็ นสิง่ ที่โน้มน้าวหรือมักชักนาบุคคลเกิดการกระทาหรือปฏิบตั ิการ
(To move a person to a course of action)
ดังนั้นแรงจูงใจจึงได้รบั ความสนใจมากในทุกๆวงการ
 ถ้าบุคคลมีความสนใจในสิง่ ใดก็จะเลือกแสดงพฤติกรรม
 ความต้องการจะเป็ นแรงกระตุน้
 ค่านิ ยมที่เป็ นคุณค่าของสิง่ ต่างๆ
 ทัศนคติท่มี ีต่อสิง่ ใดสิง่ หนึ่ งก็มีผลต่อพฤติกรรมนั้น
 ความมุ่งหวังที่ต่างระดับกัน
 การแสดงออกของความต้องการ
 ความต้องการอย่างเดียวกัน
 แรงจูงใจที่แตกต่างกัน
 พฤติกรรมอาจสนองความต้องการได้หลายๆทาง
แรงจูงใจมี 2 ลักษณะดังนี้
 แรงจูงใจภายใน (Intrinsic motives)
แรงจูงใจภายในเป็ นสิ่งผลักดันจากภายในตัวบุคคลซึ่งอาจจะเป็ นเจตคติ ความคิด
ความสนใจ ความตัง้ ใจ การมองเห็นคุณค่า ความพอใจ ความต้องการฯลฯสิ่งต่างๆดังกล่าว
นี้ มีอทิ ธิพลต่อพฤติกรรมค่อนข้างถาวรเช่นคนงานที่เห็นองค์การคือสถานที่ให้ชีวิตแก่เขา
และครอบครัวเขาก็จะจงรักภักดีต่อองค์การ และองค์การบางแห่งขาดทุนในการดาเนิ นการ
ก็ไม่ได้จ่ายค่าตอบแทนที่ดีแต่ดว้ ยความผูกพันพนักงานก็ร่วมกันลดค่าใช้จา่ ยและช่วยกัน
ทางานอย่างเต็มที่
แรงจูงใจภายนอก (Extrinsic motives)
แรงจูงใจภายนอกเป็ นสิ่งผลักดันภายนอกตัวบุคคลที่ม ากระตุน้
ให้เกิดพฤติกรรมอาจจะเป็ นการได้รบั รางวัล เกียรติยศชื่อเสียง คาชม
หรื อ ยกย่ อ ง แรงจู ง ใจนี้ ไม่ ค งทนถาวร บุค คลแสดงพฤติ ก รรมเพื่อ
ตอบสนองสิง่ จูงใจดังกล่าวเฉพาะกรณี ท่ตี อ้ งการสิง่ ตอบแทนเท่านั้น
แรงจู ง ใจมี ท่ี ม าจากหลายสาเหตุด ว้ ยกัน เช่ น อาจจะ
เนื่ องมาจากความต้องการหรือแรงขับหรือสิ่งเร้า หรืออาจเนื่ องมาจาก
การคาดหวังหรือจากการเก็บกดซึ่งบางทีเจ้าตัวก็ไม่รูต้ วั จะเห็นได้ว่า
การจู ง ใจให้เ กิ ด พฤติ ก รรมที่ ไ ม่ มี ก ฎเกณฑ์แ น่ นอนเนื่ องจาก
พฤติกรรมมนุ ษย์มีความซับซ้อน แรงจู งใจอย่างเดียวกันอาจทาให้
เกิ ด พฤติ ก รรมที่ ต่ า งกัน แรงจู ง ใจต่ า งกัน อาจเกิ ด พฤติ ก รรมที่
เหมือนกันก็ได้ดงั นั้นจะกล่าวถึงที่มาของแรงจูงใจที่สาคัญพอสังเขป
ดังนี้
-
ความต้องการ(Need)
แรงขับ (Drives)
สิง่ ล่อใจ (Incentives)
การตื่นตัว (Arousal)
การคาดหวัง (Expectancy)
การตัง้ เป้ าหมาย (Goal setting)
 ทฤษฎีเนื้ อหาของการจูงใจ (Content
theories of
Motivation)
 ทฤษฎีกระบวนการ (Process Theories)
 ทฤษฎีการเสริมแรง (Reinforcement Theory)
 ทฤษฎีลาดับขัน้ ความต้องการของมาสโลว์ (Maslow’s
hierarchy of needs theory)
 ทฤษฎีการจูงใจ ERG ของ Alderfer
 ทฤษฎีแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ของแมคคลีแลนด์(McClelland)
 ทฤษฎีสองปัจจัยของเฮอร์ซเบอร์ก

ทฤษฎีความเสมอภาคหรือทฤษฎีความเท่าเทียมกันของ Adams
บุคคลจะมีการเปรียบเทียบอัตราส่วนระหว่างปัจจัยนาเข้าของตนเอง ( เช่น ความ
พยายาม ประสบการณ์ การศึกษา และความสามารถ) และผลลัพธ์ของตนเอง (เช่น
ระดับเงินเดือน การเลื่อนตาแหน่ ง การยกย่อง และปัจจัยอืน่ กับบุคคลอืน่ )

ทฤษฎีความคาดหวังของ Vroom
ทฤษฎีความคาดหวังถูกนาเสนอโดย Victor Vroom (1964) ได้
เสนอรูปแบบของความคาดหวังในการทางานซึ่งได้รบั ความนิ ยมอย่างมากในการอธิ บาย
กระบวนการจูงใจของมนุ ษย์ในการทางานโดยVroom มีความเห็นว่าการที่จะจูงใจ
ให้พนักงานทางานเพิ่มขึ้นนั้นจะต้องเข้าใจกระบวนการทางความคิดและการรับรู ข้ อง
บุคคลก่อน
 ทฤษฎีการวางเงือ่ นไขแบบคลาสสิก (Classical
Conditioning theory) )
โดยนักจิตวิทยาชาวรัสเชียชื่อพาฟลอฟได้ทาการวิจยั เกี่ยวกับ
reflex or respondent behavior เป็ นพฤติกรรมที่
ตอบสนองโดยอัตโนมัติ ทฤษฎีน้ ี เป็ นการเรียนรูถ้ งึ กระบวนการต่อเนื่ องที่
แสดงความสัมพันธ์ระหว่างสิง่ กระตุน้ และการตอบสนอง
 ทฤษฎีการวางเงือ่ นไขของผลกรรมต่อพฤติกรรมของบุคคล(Operant
conditioning theory) หรือ (Instrumental
Conditional theory)

การประยุกต์ความรูเ้ รื่องการจูงใจไปใช้ในการให้คาปรึกษาแนะนาแก่เจ้าของธุรกิจ
SMEs
 การนาไปใช้ในการให้คาปรึกษาแนะนาสาหรับ SME ขนาดย่อม
 การนาไปใช้ในการให้คาปรึกษาแนะนาสาหรับ SMEs ขนาดกลาง
 การนาแรงจูงใจมาประยุกต์ในกับงานในฝ่ ายอบรม
 การนาแรงจูงใจมาประยุกต์ใช้ในการจูงใจผูใ้ ต้บงั คับบัญชา
› ต้องมีความเสมอต้นเสมอปลาย
› ไม่มีอคติต่อลูกน้อง
› อย่าตาหนิ ลูกน้องลับหลัง
› ทาให้เขารูว้ ่าเขากาลังอยู่ ณ จุดใด
› ให้คาชมเชยในเวลาที่เหมาะสม
› ให้ข่าวสารลูกน้องล่วงหน้าทุกครัง้ ที่มีการเปลี่ยนแปลงซึ่งกระทบ
พวกเขา
› ห่วงใยผูใ้ ต้บงั คับบัญชา
› มองคนที่ผลงาน มิใช่วธิ ีปฏิบตั ิงาน
› ออกนอกเส้นทางของตนเองเพือ่ ช่วยผูอ้ น่ื
› รับผิดชอบต่อผูอ้ น่ื
› ให้ลูกน้องแสดงความสามารถอย่างเต็มที่ให้อสิ ระแก่เขา
› ทาให้ลูกน้องขยันขันแข็ง
› รูจ้ กั ผ่อนหนักผ่อนเบา
› พร้อมที่จะเรียนรูจ้ ากผูอ้ น่ื
› แสดงความเชื่อมัน่ ตนเอง
› เปิ ดให้แสดงความคิดเห็น
› แบ่งสรรและมอบหมายงาน
› เร่งเร้าให้เกิดความฉลาดและสร้างสรรค์
› สอนงานอย่างเต็มใจ
› แก้ปญั หาให้โดยไม่ตาหนิ อย่างรุนแรง
บาร์เซโลน่ า 3-1 แมนฯยู
สงครามนางฟ้ า ตอน แรงจูงใจ