6.การวิเคราะห์สาเหตุการกระทำผิด อรพรรณ เลาหัตถพงษ์ภูริ
Download
Report
Transcript 6.การวิเคราะห์สาเหตุการกระทำผิด อรพรรณ เลาหัตถพงษ์ภูริ
การวิเคราะห์สาเหตุการกระทาผิด
หลักการวิเคราะห์
มาตรา ๓๖(๑) ให้ รายงานสาเหตุแห่งการกระทาความผิดของเด็กหรือเยาวชน ใน
การสืบเสาะและพินิจ
พฤติกรรมย่อมมีสาเหตุหรือแรงจูงใจให้ กระทา
เด็กหรือเยาวชนมีประสบการณ์หรือกลไกความเป็ นมาของแต่ละบุคคลจากปัจจัย
ทางร่างกาย จิตใจ สภาพแวดล้ อมและสังคม ที่ค่อย ๆ สะสม รวบรวมจนเป็ นตัวตน
จากพัฒนาการ การอบรมสั่งสอน การเรียนรู้เลียนแบบ ซึ่งล้ วนเป็ นปัจจัยที่นาไปสู่
สาเหตุแห่งการเกิดพฤติกรรมที่จาเป็ นต้ องได้ รับการแก้ ไขบาบัดฟื้ นฟู
หลักการวิเคราะห์
การนาทฤษฎีมาวิเคราะห์สาเหตุการกระทาผิด
ศึกษาข้ อมูลที่ได้ จากการสืบเสาะในด้ านต่าง ๆ เช่น ครอบครัว โรงเรียน เพื่อน การ
ประกอบอาชีพ สภาพแวดล้ อม การใช้ เวลาว่าง ฯลฯ แล้ วใช้ ทฤษฎีต่าง ๆ มา
วิเคราะห์เพื่อทราบที่มาของพฤติกรรม
ทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการ
ทฤษฎีการเรียนรู้ เลียนแบบ
ทฤษฎีทางอาชญาวิทยา
ทฤษฎีทางสังคมวิทยา นิเวศวิทยา
สาเหตุหลักของการกระทาผิด
ความต้ องการ ความจาเป็ น – ยากจน
ความเชื่อ คิดว่ากฎหมายไม่ถูกต้ อง คิดว่าไม่ถูกจับ
ความหุนหันพลันแล่น ขาดการยับยั้งชั่งใจ
จากอิทธิพลอื่น – ยาเสพติด สุรา เพื่อน
ทาแล้ วได้ คนื มา – ความร่ารวย การยอมรับ
สาเหตุของการกระทาผิดเกีย่ วกับทรัพย์
มีช่องโอกาสให้ กระทาผิด
ความยากจน
ยาเสพติด
แรงกดดันจากกลุ่มเพื่อน
สาเหตุของการกระทารุนแรง
ความคับข้ องใจ
การเข้ าถึงสื่อที่ใช้ ความรุนแรง
มีความรุนแรงในครอบครัว
มีโอกาสเห็นผู้อ่นื กระทาด้ วยความโกรธ
มึนเมา
ความร้ อน
ความแออัด
ลักษณะเยาวชนกระทาผิดทางเพศ
อายุประมาณ ๑๓ – ๑๗ ปี
ประมาณร้ อยละ ๓๐ – ๖๐ มีการเรียนรู้บกพร่ อง หรือการเรียนไม่ดี
ร้ อยละ ๘๐ มีปัญหาพฤติกรรมทางสุขภาพ เช่น ยาเสพติด มีปัญหาความประพฤติ
มีปัญหาด้ านการควบคุมความต้ องการของตนเอง และการตัดสินใจไม่ดี
ร้ อยละ ๒๐ – ๕๐ มีประวัตถิ ูกทารุณกรรมทางร่ างกาย
ร้ อยละ ๔๐ – ๘๐ มีประวัตถิ ูกทารุณกรรมทางเพศ
การใช้ สรุ ามีผลต่อการลดการยับยั้งชั่งใจและการตัดสินใจ
กลไกของสาเหตุ
สาเหตุนา เป็ นปัจจัยพื้นฐาน หรือเบื้องหลังของบุคคลก่อนที่จะนาไปสู่การมี
พฤติกรรมไม่เหมาะสม เกี่ยวกับพัฒนาการ การอบรมสั่งสอนให้ เกิดเป็ น ความคิด
ทัศนคติ พฤติกรรม ลักษณะนิสยั
สาเหตุสนับสนุ น เป็ นสาเหตุท่ที าให้ เด็ก/เยาวชนยังคงมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
ต่อไป ซึ่งอาจเกิดจากปัจจัยสิ่งแวดล้ อม หรือครอบครัวที่มาสนับสนุนให้ พฤติกรรม
ที่ไม่เหมาะสมนั้นยังคงดาเนินอยู่
สาเหตุกระตุน้ เป็ นสาเหตุท่ที าให้ เกิดการกระทาความผิดในแต่ละครั้ง ซึ่งเป็ น
เสมือนตัวกระตุ้นให้ ลงมือกระทา
การวิเคราะห์สาเหตุการกระทาผิด
วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ จากการสัมภาษณ์ สังเกต สืบเสาะ
ข้ อมูลที่ได้ ต้องมีความละเอียดพอ ลึกพอ และสอดคล้ องกัน
ใช้ แผนภาพช่วยในการอธิบาย
ควรวิเคราะห์ให้ ได้ ว่าเด็กหรือเยาวชนเริ่มมีพฤติกรรมไม่ดเี มื่อไร และยังคงมี
ต่อเนื่องหรือไม่อย่างไร
ต้ องซักถามลักษณะการกระทาผิดให้ สามารถวิเคราะห์ได้ ถงึ มูลเหตุหรือแรงจูงใจที่
จะกระทา แม้ ไม่ได้ ทาผิดจริง ก็ควรวิเคราะห์ว่าเพราะเหตุใดจึงถูกจับกุมหรือถูก
สงสัยว่าทาผิด เพื่อจะนามาสู่การป้ องกันแก้ ไข
ตัวอย่าง
(สาเหตุนา) พ่อแม่ชอบใช้ ความรุนแรงต่อกันให้ เด็กเห็นแล้ วอีกฝ่ ายต้ องยอมแพ้ เด็กจึง
พัฒนาความรู้สกึ ก้ าวร้ าว และเรียนรู้วธิ กี ารแก้ ไขปัญหาโดยใช้ ความรุนแรง
(สาเหตุสนับสนุน) เมื่อโตขึ้นอาจจะเป็ นผู้ท่ชี อบแสดงความก้ าวร้ าวเพื่อแสดงถึงความมี
อานาจ เช่น รังแกเพื่อนในชั้นเรียน แล้ วเพื่อนยอมรับ จึงใช้ วธิ นี ้ อี ยู่เสมอหรือถ้ าไม่
แสดงออกโดยตรงก็อาจแสดงความก้ าวร้ าวทางอ้ อมโดยผ่านสื่อ เช่นเล่นเกมส์ท่ใี ช้ ความ
รุนแรง ดูภาพยนตร์ท่มี เี นื้อหาแสดงความก้ าวร้ าว(สาเหตุสนับสนุน)
(สาเหตุกระตุ้น) เมื่อพบเห็นคนที่ด้อยกว่า หรือมีคนมาท้ าทายก็จะแสดงความก้ าวร้ าว
ออกมาโดยทะเลาะวิวาทหรือใช้ ความรุนแรง
ตัวอย่าง
เด็กเกิดมาโดยพ่อแม่ไม่ใส่ใจเลี้ยงดู จะทาให้ ไม่ไว้ วางใจบุคคลทั่วไป นาไปสู่การ
มองโลกแง่ร้าย(สาเหตุนา) ประกอบกับเด็กมีปมด้ อยเรื่องหน้ าตา และได้ รับการ
เลี้ยงดูโดยใช้ ความรุนแรง คือถูกดุด่า หรือตีเป็ นบางครั้ง บางครั้งอารมณ์เสียใส่เด็ก
อีกทั้งชอบแอบหนีไปเล่นเกมส์ต่อสู้ ทาให้ เด็กเริ่มมีพฤติกรรมก้ าวร้ าว เช่น เถียงแม่
แอบตีน้อง(สาเหตุสนับสนุน) ในวันเกิดเหตุ เด็กมีเรื่องทะเลาะกับเพื่อนที่มา
ล้ อเลียนเรื่องหน้ าตา จึงเกิดโทสะ ทาร้ ายร่างกายเพื่อนรุนแรงจนบาดเจ็บ(เพื่อน
ล้ อเลียนเป็ นสาเหตุกระตุ้น)
ตัวอย่าง
เด็กที่พ่อแม่ดูแลเอาใจใส่เป็ นอย่างดี ช่วยเหลือแก้ ไขปัญหาให้ ทุกอย่าง เด็กไม่ต้องทา
อะไรด้ วยตนเอง ไม่เคยพบกับความผิดหวังเลย จนทาให้ เด็กรู้สกึ ว่าไม่มอี ะไรที่น่าตื่นเต้ น
ท้ าทายในชีวติ (สาเหตุนา) เมื่อพบกับเพื่อนพูดคุยกันได้ ฟังว่าเพื่อนไปขโมยของมาแล้ ว
ไม่ถูกจับ ก็ร้ สู กึ ดี ตื่นเต้ นท้ าทาย จึงไปลักขโมยของในร้ านสะดวกซื้อ ครั้งแรกที่ทาก็ขโมย
ได้ โดยไม่ถูกจับ รู้สกึ สนุกตื่นเต้ นท้ าทายดี และเมื่อพูดคุยกับเพื่อนเพื่อนก็ชมว่าเก่งจึงทา
เช่นนี้หลายครั้ง และเพิ่มมูลค่าของที่ขโมย แล้ วนามาพูดคุยโอ้ อวดกับเพื่อนให้ เพื่อนนับ
ถือ(สาเหตุสนับสนุน) จนวันเกิดเหตุเมื่อไปขโมยของเพื่อเอามาอวดเพื่อน(สาเหตุ
กระตุ้น) จึงถูกจับได้ และดาเนินคดี
ตัวอย่าง
เด็กเติบโตมาในครอบครัวที่พ่อแม่ชอบบ่นว่า ไม่เคยชมเชยให้ กาลังใจ(สาเหตุนา) จึง
รู้สกึ ขาดความเชื่อมั่น ต้ องการการยอมรับ เมื่อโตขึ้นคบเพื่อนที่ใช้ ยาเสพติดชักชวน เมื่อ
ทดลองใช้ ยาเสพติดแล้ วรู้สกึ ดีท่รี ่วมกับเพื่อนใช้ ยาเสพติดด้ วยกัน พูดคุยกันสนุกสนาน
รู้สกึ ได้ รับการยอมรับจากเพื่อน จึงใช้ ยาเสพติดตลอดมา(สาเหตุสนับสนุน) จนกระทั่งวัน
เกิดเหตุภายหลังจากเสพยากับเพื่อนก็เก็บยาที่เหลือไว้ กบั ตัวเพราะกลัวว่าถ้ าไม่เก็บไว้
ต่อไปเพื่อนจะไม่ชวนมาเสพยาอีก คือกลัวเพื่อนไม่ยอมรับ(สาเหตุกระตุ้น) จนถูกตารวจ
ค้ นตัวพบยาเสพติด (หากเด็กเก็บยาไว้ เพราะต้ องการนาไปเสพเองที่บ้าน - สาเหตุ
กระตุ้นก็จะเป็ นด้ วยเรื่องติดยาเสพติด)