ทฤษฎีความรับผิดชอบทางสังคม (Social Responsibility Theory)

Download Report

Transcript ทฤษฎีความรับผิดชอบทางสังคม (Social Responsibility Theory)

ทางสังคม
(Social
Responsibility
Theory)
ิ ในกลุม
สมาชก
่
นางสาวประภา
ฝ่ ายแก ้ว
นางสาวประภัสรา ประกอบสุข
นางสาวอรนิภา เผยศริ ิ
นางสาวอารดา
ลอยเลือ
่ ย
นางสาวอนัญญา
ทวีไกรกุล
นางสาววิกานดา
ตัง้ เตรียมใจ
ั ้ ปี ท ี่ 3
สาขาสงั คมวิทยาและมานุษยวิทยา ชน
ความเป็ นมา
ื พิมพ์เสรี
• พฤติกรรมในทางลบของหนังสอ
ในสหรัฐอเมริกาผลักดันให ้นักคิด
ื พิมพ์และ
นักวิชาการเข ้ามาชว่ ยนักหนังสอ
ผู ้พิมพ์โฆษณาสร ้างจรรยาบรรณสาหรับ
ี มาตัง้ แต่กลางคริสต์ศตวรรษ
วิชาชพ
ที่ 19 แต่ผู ้ทีม
่ ส
ี ว่ นในการวางรากฐาน
ทฤษฎีนเี้ ป็ นอย่างมากก็คอ
ื โจเซฟ พูลท
ิ
เซอร์ (Joseph Pulitzer) ทีไ่ ด ้พยายาม
้ อ
ึ ษาวารสาร
ต่อสูเพื
่ ตัง้ สถาบันการศก
่ ไว
้ ้ในวารสาร American
• ได ้เขียนเรืองนี
่ ค.ศ. 1904 ว่า “ความ
Reviewเมือปี
่
่ ่
ปรารถนาอย่างแรงกล้าทีจะท
าในสิงที
่ ดเกียวกั
่
ถู กต้อง ความรู ้ถู กถ้วนทีสุ
บ
่
ปั ญหาทีจะต้
องเผชิญ และความรู ้สึก
ร ับผิดชอบทางศีลธรรมด้วยความจริงใจ
้
สามอย่างนี จะช่
วยปกป้ องวิชาชีพ
วารสารศาสตร ์ให้พน
้ จากความยอม
่ นแก่
จานนต่อผลประโยชน์ทางธุรกิจทีเห็
ตัวและเป็ นศ ัตรู ตอ
่ สวัสดิการของ
ประชาชน”
• นับแต่น้ันมาการพูดถึงความร ับผิดชอบก็ขยาย
กว ้างออกไป หนังสือพิมพ ์ต ้องมีเสรีภาพตาม
แนวความคิดอิสรภาพนิ ยม แต่ขณะเดียวกันก็
ต ้องมีความร ับผิดชอบควบคูก
่ น
ั ไปด ้วย เกิดเป็ น
่ ยก
แนวความคิดเสรีนิยมอีกรูปแบบหนึ่ ง ซึงเรี
กันว่า Neo-liberalism ในแนวความคิดนี ้
เสรีภาพถูกจากัดขอบเขตด ้วยความรู ้สึก
ร ับผิดชอบของผู ้ประกอบวิชาชีพภายใต ้
จรรยาบรรณของสมาคมวิชาชีพ และโดยการ
่ นอิสระไม่ขนกั
ควบคุมของสถาบันร ัฐทีเป็
ึ้ บ
ร ัฐบาลหรือผูใ้ ด (Public but independent
่ งทฤษฎีเสรีนิยมแนวใหม่เพิงจะ
่
• อันทีจริ
กลายเป็ นทฤษฎีความร ับผิดชอบทางสังคม
้ั สอง
่
อย่างช ัดแจ ้งในช่วงหลังสงครามโลกครงที
่
เมือคณะกรรมาธิ
การเสรีภาพ
่
สือมวลชน
(Commission on Freedom of
่ า
the Press) ได ้ศึกษาและรายงานชือว่
่
่ เสรีภาพและความร ับผิดชอบ (A
สือมวลชนที
มี
Free and Responsible
Press)
แม้ว่าผลงานของ
คณะกรรมาธิการจะได ้ร ับการวิพากษ ์วิจารณ์
เป็ นอย่างมากจากวงการวิชาชีพ แต่สว่ นใหญ่ก็
ความร ับผิดชอบในการปฏิบต
ั ห
ิ น้าที่
่
ของสือมวลชน
ื่ มวลชนตามทฤษฎีนี้
• บทบาทหน ้าทีข
่ องสอ
พัฒนามาจากทฤษฎีเสรีนย
ิ มแบบดัง้ เดิม
แต่เจาะเน ้นทีค
่ วามรับผิดชอบในการปฏิบต
ั ิ
หน ้าทีเ่ หล่านัน
้ ให ้เกิดผลดีตอ
่ สงั คม
สว่ นรวมอย่างแท ้จริง
• ประการแรก จะต ้องถือเป็ นภาระหน ้าที่
หลักทีจ
่ ะให ้บริการแก่ระบบการเมือง โดย
การให ้ข่าวสารและให ้มีการอภิปราย
โต ้เถียงในเรือ
่ งของสว่ นรวมหรือกิจการ
่
่ นหน้าทีรองลงมาก็
่
• ประการทีสอง
ซึงเป็
คือ ควรจะต ้องส่งเสริมกระบวนการ
ประชาธิปไตยและให ้ความสว่างทาง
ปัญญา(Enlightening) แก่สาธารณชน
่
เพือจะได
้เกิดความสามารถในการปกครอง
ตนเอง
่
• ประการทีสาม
ควรจะต ้องพิทก
ั ษ ์ร ักษา
สิทธิของบุคคลโดยคอยเฝ้ าดู
ร ัฐบาล (Watchdog against
government)
่ ่ ควรจะต ้องให ้บริการแก่ระบบ
• ประการทีสี
เศรษฐกิจ โดยเน้นส่งเสริมผลประโยชน์
ของผูซ
้ อผู
ื้ ข
้ ายสินค ้าและบริการด ้วยสือ่
้ ้องไม่
การโฆษณาแต่รายได ้จากการนี จะต
่
่
บันทอนอิ
สรภาพของสือมวลชน
่ า ควรจะต ้องให ้ความบันเทิง
• ประการทีห้
่
แก่สาธารณชน แต่มเี งือนไขว่
าจะต ้องเป็ น
ความบันเทิงที่ “ดี” มีคณ
ุ ภาพ
่
่
• ประการทีหก
ควรจะต ้องหลีกเลียงไม่
้
่
่
เสนอเนื อหาเรื
องราวที
อาจน
าไปสู่การ
ประกอบอาชญากรรม ความรุนแรง ความ
ไม่สงบเรียบร ้อยของบ ้านเมือง หรือการ
ก ้าวร ้าวต่อชนกลุม
่ น้อย
่ ด สือมวลชนควรจะต
่
• ประการทีเจ็
้องเป็ น
พหุนิยม คือสะท ้อนความคิดเห็นที่
้ ดโอกาสให ้ใช ้สิทธิ
แตกต่างกัน รวมทังเปิ
โต ้ตอบ
คณะกรรมาธิการเสรีภาพ
่
สือมวลชน
(The Commission
on Freedom of the press) ใน
สหร ัฐอเมริกา ได้เสนอแนะ
่ างมี
หลักการปฏิบต
ั ห
ิ น้าทีอย่
่
ความร ับผิดชอบของสือมวลชน
ไว้ดงั นี ้
่
่ เป็
่ นจริง
• สือมวลชนจะต้
องเสนอสิงที
่
่
เข้าใจได้ และเป็ นเรืองราวเกี
ยวกั
บ
เหตุการณ์ประจาวัน
่
่ นเวทีการ
• สือมวลชนควรท
าหน้าทีเป็
่
แลกเปลียนการวิ
พากษ ์วิจารณ์
่
่ นตัวแทน
• สือมวลชนควรให้
ภาพทีเป็
ของกลุ่มต่างๆในสังคม
่
• สือมวลชนควรน
าเสนอค่านิ ยมของ
สังคมให้ช ัดเจน
่
• สือมวลชนควรให้
ประชาชนมีโอกาส
่
่
้
ลักษณะความร ับผิดชอบของ
่
สือมวลชน
1.ความเป็ นอิสระ(Freedom)ได ้แก่
ความเป็ นอิสระทีจ
่ ะรู ้(Freedom to know)
ความเป็ นอิสระทีจ
่ ะบอก(Freedom to tell)
และความเป็ นอิสระในการค ้นหาความจริง
ื่ มวลชน
(Freedom to find out) แม ้ว่าสอ
จะมีอส
ิ ระในด ้านต่างๆข ้างต ้น แต่ก็
้
จาเป็ นต ้องใชความเป็
นอิสระเหล่านัน
้ อย่าง
มีความรับผิดชอบ และในขณะเดียวกัน ก็
ต ้องปกป้ องความเป็ นอิสระของตนจากการ
2. ต ้องไม่เสนอข่าวในลักษณะทีอ
่ าจทาให ้
ี ความยุตธิ รรมในการพิจารณาคดี
เสย
Trial)
3. ต ้องไม่เสนอในเรือ
่ งทีเ่ ป็ นความรับของ
ราชการ(Government Secrecy)
4. ต ้องเสนอข่าวด ้วยความถูกต ้อง
(Accuracy)หากมีความผิดพลาดในการ
ื่ มวลชนจะต ้องแก ้ไขข่าวนัน
เสนอข่าวสอ
้
่ ถ ้าเสนอข่าวผิดหนึง่ ประโยค
ในทันที เชน
ต ้องแก ้ไขประโยคนัน
้ ในหน ้าเดียวกันใน
ตาแหน่งเดียวกันทีผ
่ ด
ิ พลาด
5.ต ้องเสนอข่าวอย่างตรงไปตรงมา
(Objective)โดยแยกแยะระหว่างเนื อ้
ข่าวและความคิดเห็น
6.ต ้องเสนอข่าวโดยเสมอภาคกัน(Balance)
่ ยวข
่
โดยเสนอข่าวจากทุกฝ่ ายทีเกี
้องกับ
่
่ ดขึน้
เรืองราวที
เกิ
7.ต ้องไม่แทรกแซงสิทธิสว่ นบุคคล(Privacy)
8.ต ้องอ ้างถึงแหล่งทีม
่ าของข่าวได ้
(Using Source Responsibly)เพือ
่ สร ้าง
ื่ ถือ แต่ในบางกรณีทผ
ความน่าเชอ
ี่ ู ้ให ้ข่าว
อาจไม่ต ้องการเปิ ดเผยตัวเพราะกลัวว่า
ได ้รับอันตราย ก็เป็ นความรับผิดชอบของ
ื่ มวลชนทีจ
สอ
่ ะปิ ดข่าวไว ้
9.ต ้องเสนอรายการบันเทิงในรูปแบบ
ทีห
่ ลากหลาย(Pluralism in
Programming)
สรุป
• จะเห็นได ้ว่าทฤษฎีความรับผิดชอบทางสงั คม
แตกต่างจากทฤษฎีเสรีนย
ิ มหรืออิสรภาพนิยม
ตรงประเด็นทีว่ า่ เสรีภาพมิได ้เป็ นแต่เพียง
อิสรภาพทีไ่ ร ้จุดหมายปลายทาง และเสนอ
ิ ธิมนุษยชนในการแสดงออกเท่านัน
สนองสท
้
่ ารสร ้างสรรค์
หากจะต ้องเป็ นอิสรภาพทีน
่ าไปสูก
ผลประโยชน์ของสว่ นรวมให ้เกิดผลอย่างจริงจัง
ื่ มวลชนมิได ้เกิดมาเพือ
สอ
่ เป็ นเครือ
่ งมือของ
บุคคลหรือกลุม
่ บุคคลเพียงอย่างเดียว แต่จะต ้อง
ื่ สารทีส
ั ฤทธิผล
เป็ นเครือ
่ งมือสอ
่ ร ้างความสม
จบการนาเสนอ
ขอบคุณค่ะ