Transcript LI 395

LI 395
Lesson 4
ไวยากรณ์และการอ่าน
หัวข้อที่จะเรี ยนในสัปดาห์น้ ี
• ๑. ความหมายของไวยากรณ์
• ๒. ความรู้เรื่ องวจีวภิ าคที่ใช้เป็ นพื้นฐานในการ
อ่าน
• ๓. ความรู้เรื่ องวากยสัมพันธ์ที่ใช้เป็ นพื้นฐานใน
การอ่าน
๑. ความหมายของไวยากรณ์
ไวยากรณ์ (Grammar)โดยทัว่ ไปหมายถึงการศึกษาด้าน
โครงสร้างของคา และความสัมพันธ์ของคาในประโยคของภาษาใด
ภาษาหนึ่ง อาจให้ความหมายได้ ๔ อย่าง (ตามพจนานุกรมการอ่าน
ของสมาคมการอ่านนานาชาติ)
๑. คาอธิบายเกี่ยวกับภาษาใดภาษาหนึ่ง เพื่อให้ขอ้ มูลว่าภาษาทาหน้าที่
อย่างไร ซึ่งจะรวมด้านเสี ยง ด้านคา ด้านวจีวิภาคและด้าน
ความหมายของโครงสร้างภาษาทั้งในปัจจุบนั และในอดีตที่ผา่ นมา
• ๒. วจีวภิ าค (Morphology) และ
วากยสัมพันธ์ ของภาษาใดภาษาหนึ่ง
• ๓. การศึกษาเชิงพรรณาของภาษาหนึ่งหรื อหลาย
ภาษา
• ๔. สิ่ งที่ผพู ้ ดู รู ้เกี่ยวกับโครงสร้างและการใช้ภาษาของ
ตัวเองเพื่อการสื่ อสารและความคิดริ เริ่ ม
ประเภทของไวยากรณ์
• Frank Smith .ให้ขอ้ สังเกตเกี่ยวกับเรื่ องไวยากรณ์วา่
• ๑. ไวยากรณ์ที่เราเรี ยนกันอยูน่ ้ ีส่วนมากเป็ นแบบเก่า
(Traditional grammar) เป็ นการพรรณาเกี่ยวกับ
หน้าที่ของคา ซึ่งมีกฏต่างๆที่จะต้องปฎิบตั ิตาม
• ๒. ไวยากรณ์แบบใหม่ที่เน้นด้านความหมาย (Semantic
grammar) ซึ่งอธิบายความหมายของโครงสร้างลึก
(Deep structure) และโครงสร้างผิว (Surface
structure) ซึ่งมีความแตกต่างในด้านแนวคิด
(Concept) หลายประการ
ความรู ้เรื่ องวจีวิภาค (Morphology)
• ๑. คาและหน่วยคา (Words and morphemes)
• คาประกอบขึ้นด้วยเสี ยงและความหมาย เช่นคาว่า talk,
talks, talked, talker มีส่วนที่แตกต่างกันคือรู ปและ
เสี ยงลงท้าย /-s/, /-ed/, และ /-er/ ส่ วนที่แตกต่างนี้
นับเป็ นหน่วยของคาด้วย ซึ่งบางหน่วยให้ความหมาย เช่น /-s/,
• /-ed/ แสดงเวลาในปัจุบนั และอดีต /-er/ แสดงเป็ น
ผูก้ ระทา เป็ นต้น หน่วยของคาเหล่านี้อาจเปลี่ยนรู ปไปตามเงื่อนไข
ต่างๆ ซึงเรี ยกว่า Allomorph เช่นหน่วยคาเดียวกันแต่เขียน
และออกเสี ยงต่างกันตามสิ่ งแวดล้อมที่ต่างกัน
• เช่น hats, dogs, roses หน่วยคา [ s ], จะออก
เสี ยง เป็ น /z/ เมื่อตามหลังพยัญชนะ [ g] หรื อ [se] ซึ่งมี
เสี ยงสัน่ สะเทือนในสายเสี ยง เป็ นต้น
• นอกจากนี้กม็ ีคาที่เปลี่ยนรู ปสระ เช่น man-men, oxoxen, drink-drank-drunk รู ปสระที่เปลี่ยนไป
พร้อมกับเสี ยง ก็เป็ นหน่วยคาที่เกิดจากเงื่อนไขทางรู ปคาและเสี ยง
• เพื่อบอกจานวน (พจน์) และกาล (time aspect) เป็ นต้น
ประเภทของหน่วยคา
• ๑. หน่วยคาอิสระและหน่วยคาผูกพัน (Free and bound
morpheme)
• write = หน่วยคาอิสระ writer, writing,
written, [ -er], [-ing], [-en] เป็ นหน่วยคา
ผูกพัน คืออาศัยคาอิสระ เพื่อแสดงความหมายที่เปลี่ยนไป ในตัวเอง
เมื่ออยูเ่ ดี่ยวๆก็ไม่มีความหมายอะไร
• ๒. หน่วยคาทางความหมายและหน่วยคาทางไวยากรณ์
(Lexical and grammatical morphemes)
เช่น boy, girl, man, เป็ นหน่วยคาอิสระทางความหมาย
แต่เวลาพูดเป็ นกลุ่มคาหรื อประโยค จะมีคามาช่วยขยายความหรื อ
แสดงอาการกระทา เช่น A boy is standing. He is
talking with a girl.
• A, is,-ing, He, with เป็ นคาไวยากรณ์ ทาหน้าที่ให้
ความหมายแก่คาอิสระในด้านต่างๆ เช่นบอกหน้าที่ แสดงอาการ
กระทา อ้างอิงคาอื่น เป็ นต้น
• ๓. หน่วยคาแกนและหน่วยคาเติม (Roots and
Affixes) เช่นคาว่า national, democracy
• Nat-, demo- เป็ นหน่วยคาแกน คือเป็ นรากศัพท์ของคาที่
สร้างขึ้นใหม่ –ion+al, cracy, เป็ นหน่วยคาเติม คือเป็ น
suffix หรื อปัจจัยที่เติมมาข้างหลังเพื่อทาให้เกิดคาใหม่ คา
อื่นๆ เช่น preface, retain, illness หน่วยคาที่เติม
มาข้างหน้า prefix, pre-, re-, ill- บวกกับรากศัพท์
ก็สร้างคาใหม่ข้ ึนมา
• ๔. หน่วยคาผันและหน่วยคาคง (Derivational
affixes and inflectional affixes)
• Happy--happiness, quickquickly,
bookbooks, learnlearned
• ส่ วนของคา –ness, -ly เป็ นหน่วยคาผัน คือทาให้คาอิสระ
เปลี่ยนรู ปคา (form)และหน้าที่(function)ไป ส่ วน –s,
-ed เป็ นหน่วยคาคง คือทาหน้าที่เปลี่ยนรู ปและความหมาย
ไปตามกาล แต่ไม่ได้เปลี่ยนหน้าที่ (function)
ส่ วนประกอบของคา
• การสร้างคาจากหน่วยคาประเภทต่างๆจึงสามารถสร้างคา
ใหม่ข้ ีนมาได้หลายแบบ เช่น
• ๑. หน่วยอิสระ เป็ นคาโดดเช่น pen, book, road,
etc.
• ๒. หน่วยคาอิสระ + หน่วยคาอิสระ เช่น
homework.
• Policeman, blackboard
• ๓. หน่วยคาอิสระ + หน่วยคาผูกพัน หน่วยคาผูกพัน
+ หน่วยคาอิสระ เช่น manner, unhappy
• ๔. หน่วยคาผูกพัน + หน่วยคาผูกพัน เช่น
• interesting, disappointment
เป็ นต้น
๓. ความรู้เรื่ องวากยสัมพันธ์ (Syntax)
• วากยสัมพันธ์ เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับการเรี ยงคา วลี ประกอบขึ้นเป็ น
ประโยค มีกฏเกณฑ์ที่ตอ้ งปฎิบตั ิ เพื่อการยอมรับและเข้าใจตามที่
เจ้าของภาษานิยมกัน กฏเกณฑ์การสร้างประโยค (syntactic
rules) เป็ นตัวเชื่อมระหว่างภาษาระดับลึก (Deap
structure) กับภาษาระดับผิว (Surface
structure)
การสร้างประโยค
• ทาได้หลายวิธี เช่น
• ๑. การเรี ยงลาดับคา (word order) เพื่อสื่ อความหมาย เช่น
Dogs chase cats. กับ Cats chase dog. มี
ความหมายต่างกัน เพราะมีการสับเปลี่ยนคาใหม่
• ๒. ความสัมพันธ์ของคา (Constituents of words)
แสดงถึงความใกล้ชิดของคาที่อยูใ่ นประโยค เช่น
• the boy jumped (the boy + jumped,
• The+boy, jumped) เมื่อประโยคยาวขึ้น ส่ วนประชิด
(constituency) ก็จะต่างออกไป
โครงสร้างประโยคแบบใหม่
• Deep structure ได้แก่โครงสร้างภาษาที่มีความหมาย
รองรับโครงสร้างอื่นๆที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น
• 3. Are you hungry? จะมาจากโครงสร้างเดิมคือ 2
• 2. You are hungry. :ซึ่งเปลี่ยนมาจาก 1.
1.Hungry(you) (are)
• ประโยค 1, 2 เป็ นprimary & deep structure
• ประโยค 3 เป็ น Surface structure ซึ่งเปลี่ยนมา
จากโครงสร้างที่รองรับด้านความหมายต้นๆ
ไวยากรณ์แบบปริ วรรตและไวยากรณ์แบบ
สัมพันธ์ความหมายเป็ นรายกรณี
• ๑.ไวยากรณ์ปริ วรรต (Transformation
Grammar) ผูบ้ ุกเบิก Noam Chomsky
• ๒.ไวยากรณ์แบบสัมพันธ์ความหมายเป็ นรายกรณี
(Generative semantics or Case
Grammar)
• แนวคิด แบบ ๑ โครงสร้างนาไปสู่ความหมาย
•
แบบ ๒ ความหมายนาไปสู่โครงสร้าง