ภาษา(Language)

Download Report

Transcript ภาษา(Language)

ภาษา
(Language)
บรรยายโดย
พระมหาเผือ
่ น กิตฺตโิ สภโณ
โครงสร้างภาษา
(Structure of
language)
การศึ กษาภาษา
•
•
•
•
•
หน่ วยเสียงพืน้ ฐาน(Phonemes) หน่วยเสี ยงเป็ นหน่วยทีเ่ ล็ก
ทีส
่ ุดในภาษา (ทางภาษาศาสตร)์ หน่วยพืน
้ ฐานของเสี ยง
(ซึง่ แตกตางกั
นไปในแตละภาษา)
เช่น ม อา ล อี
่
่
การศึ กษาเกีย
่ วกับการสรางค
าหน่วยเสี ยงของแตละภาษา
้
่
เรียกวา่ morphology
หน่ วยคา(morpheme) หน่วยทีเ่ ล็กทีส่ ุดของคาทีม่ ี
ความหมายในตนเอง เช่น มาลี โรงเรียน ไป การศึ กษา
การรวมกันของหน่วยเสี ยงจนเกิดเป็ นหน่วยทีม
่ ค
ี วามหมาย
เรียกวา่ Morphology
วากยสัมพันธ์(Syntax) การสรางประโยค
รูปแบบของ
้
ประโยคตามไวยากรณภาษานั
้นๆ เช่น
มาลี ไป
์
โรงเรียน
อรรถศาสตร(Semantics)
คือ การศึ กษาความหมายของคา
์
วจนปฎิบต
ั ศ
ิ าสตร(Pragmatics)
คือ การวิเคราะห ภาษา
์
โดยอาศัยผู พูดและผู ฟ งเป นผู กาหนดความหมายของ
ภาษา
สัทวิทยา(Phonology)
สั ทวิทยา อธิบายทุกภาษาจะมีหน่วยเสี ยงพืน
้ ฐาน
(Phonemes)ทีเ่ ป็ นส่วนทีเ่ ล็กทีส
่ ุดของหน่วยคาทีซ
่ ง่ึ มี
จานวนแตกตางกั
นไปในแตละภาษา
หน่วยเสี ยง
่
่
พืน
้ ฐานเหลานี
่ หากออกเสี ยงผิด หรือใช้ผิดมีผล
่ ้เมือ
ให้ความหมายของคาเปลีย
่ นไป เช่น go กับ no
สั ทวิทยาใช้สิ่ งทีเ่ รียกวา่ Phonetics ในการศึ กษาและ
ระบุวา่ Phonemes แตละตั
วในแตละภาษามี
วธิ ก
ี าร
่
่
ออกเสี ยงอยางไร
่
วากยสั มพันธ(Syntax)
์
คาวา่ syntax(วากยสั มพันธ)หมายถึ
ง
ลักษณะของ
์
คาภายในประโยคหรือส่วนตางๆและวิ
ธก
ี ารส่วนตางๆ
่
่
ของประโยคมารวมกันเจ้า จะเรียกวา่ โครงสราง
้
ประโยค ก็ได้ กฎวากยสั มพันธคล
นกับกฎของ
้
์ ายกั
ของโฟนีมคือควบคุมให้คาหรือวลีตางๆมารวมกั
นเป็ น
่
ประโยคทีถ
่ ก
ู ตองตามหลั
กภาษานั้นๆ
้
The poodle will chase the red
ball
เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา เวรญฺ
ชาย วิหรติ
S
NP
NP
VP
Ad.j
Pro
N.
V.
N.
N.
.
.N
เตน สมเยน พุทฺโธ
ภควา
เวรญฺชาย วิหรติ
นั้น สมัย พระพุทธเจ้าผู้นาแนกธรรม ทีเ่ มือ
่ เวรัญทรงประทั
ชา
บอย
อรรถศาสตร์(Semantics)
อรรถศาสตรเป็
่ ึ กษาเกีย
่ วกับความหมายของ
์ นวิชาทีศ
คาซึง่ ถือไดว
้ าเป็
่ นส่วนสาคัญของการใช้ภาษา เสี ยงที่
เราเปลงออกมาเพื
อ
่ สื่ อถึงแนวคิดทีเ่ ราตองการสื
่ อสาร
่
้
และเมือ
่ การสื่ อสารเกิดขึน
้ ผู้ฟังตองรั
บรูความหมายที
่
้
้
ผู้สื่ อสารถายทอดออกมาในแง
ใดแง
หนึ
่
่
่ ่ง. ซึง่ ทฤษฎีวา่
ดวยความหมายของค
ายังคงไดมี
้
้ การพัฒนาอยาง
่
ตอเนื
่ ่ อง
ทฤษฎีวาด
กจะอธิบายสิ่ งตอไปนี
้
่ วยความหมายมั
้
่
• ความผิดปกติ(Anomaly)ตัวอยางเช
งพูดวา่
่
่ น ทาไมเราจึ
่
ไมได
้ ายแลว”
่ ว
้ า่ “เกาอี
้ ต
้
• ความขัดแยงกั
้ นในตัว(Self-contradiction) เช่น ทาไม
ความหมายจึงเปลีย
่ นไปเมือ
่ เราสลับประโยควา่ “สุนข
ั เป็ น
สั ตวสี์ ่ เทา”
้
• ความคลุมเครือ(Ambiguity) ทาไมคาวา่ “กระตายยั
งไม่
่
ทฤษฎีดานอรรถศาสตร
ยั
ใดเราจึง
้
่
์ งอธิบายวาเพราะเหตุ
ใช้ความหมายของคาเพือ
่ จัดการกับประโยคและการ
อภิปรายโดยรวม. นักจิตวิทยาดานการรู
คิ
้
้ ดหลายสนใจ
ในอรรถศาสตรในแง
ที
่ ว่ า่ ความรูถู
้ กจัดระเบียบและ
์
จัดเก็บอยางไร
และทฤษฎีเกีย
่ วกับวิธท
ี บ
ี่ ุคคลสราง
่
้
แนวคิดและจัดระเบียบสิ่ งตางๆ
่
วจนปฏิบตั ิ ศาสตร์(Pragmatics)
ในการสื่ อสารดวยวาจา
ผู้พูดตองพู
ดให้ถูกหลักสั ท
้
้
วิทยา(phonology) วากยสั มพันธ(syntax)และ
์
อรรถศาสตร(semantics)
นอกจากกฎ ๓ ประการ
์
ขางต
นแล
ว
กตอง
้
้
้ การสื่ อสารจะประสบสาเร็จไดต
้ องถู
้
้
ตามกฎวจนปฏิบต
ั ศ
ิ าสตรอี
ซึง่ หมายถึง
้
์ กดวย
มารยาทหรือธรรมเนียมในการสนทนา เช่น การไม่
พูดแทรกคูสนทนา
หรือการทักทายกอนเริ
ม
่ การ
่
่
สนทนา
เซียรล(Searle
(1979) กลาวว
า่ ในฟังคูสนทนา
่
่
์
มิใช่แคเพี
่ ยงใช่แคเสี
่ ยง คาหรือโครงสรางประโยค
้
เทานั
่ ้ฟั
ู งตองเข
าใจประเภทของการพู
ดอีกดวย
่ ้นทีผ
้
้
้
(kind of utterances) โดยเขาได
แบ
ดออกเป็ น
้
้ งการพู
่
• การพูดเพือ
่ บอกความคิดความเชือ
่ ของตน(assertive
utterance) เช่น ผมเป็ นคนตรง
ฉันไมอยากกิ
น
่
ฉันเบือ
่
• การพูดเชิงบังคับ(Directive utterance) เช่น ปิ ด
ประตู ออกไปเดีย
๋ วนี้
• การพูดเชิงสั ญญา(Commissive utterance) เช่น
ใช้ไดแน
้ ่ นอนผมรับรอง หรือผมจะหามาให้
• การพูดเชิงแสดงความรูสึ้ ก(Expressive utterance)
เช่น ขอโทษจริงๆ ผมจะไมท
ผม
่ าอีกแลว
้
ผิดหวังในตัวคุณจริงๆ
• คาพูดเชิงบอกแจ้ง(declarative utterance) เช่น
การเข้าใจภาษาและการ
สร้างภาษา
(Language comprehension and
production)
การรับรู้คาพูด(Speech
perception)
• ภาษาก็เหมือนกับขอมู
่ ๆคือถูกเปลีย
่ นรู้จากขอมู
้ ลอืน
้ ล
ดิบไปเป็ นการสรางตั
วแทน(representation)ทีม
่ ี
้
ความหมายในความจา คาพูด(speech) ถือไดว
้ า่
เป็ นรูปแบบหนึ่งของการใช้ภาษา การเขาใจค
าพูดที่
้
ใครบางคนกาลังพูดกับเรานั้นไมง่ ายเว
นแต
ว่ าเป็
่
้
่ น
ภาษาตางประเทศหรื
อผู้พูดมีปญ
ั หาในการพูดอยาง
่
่
ขัน
้ รุนแรง นอกจากนี้เรายังสามารถเขาใจค
าพูด
้
ของเด็ก ผู้ใหญ่ คนทีพ
่ ด
ู รัวเร็ว หรือคนทีพ
่ ด
ู
สาเนียงตางประเทศหรื
อสาเนียงทองถิ
น
่
่
้
• แมจะดู
เป็ นเหตุเป็ นผลทีจ
่ ะสั นนิษฐานวา่ เราเข้าใจ
้
คาพูดเหมือนทีเ่ ราเขาใจตั
วหนังสื อโดยแยกแยะจาก
้
ช่องวางระหว
างค
า แตโชคร
ายที
น
่ ่ าพอใจนี้ไมเป็
่
่
่
้
่ น
จอรจ์ มิลเลอร(Gourge
Miller,1990) ไดอธิ
์
้ บายปัญหา
พืน
้ ฐานในการรับรูค
้ าพูดเอาไว้ 2 ประการคือ
1) คาพูดมีลก
ั ษณะตอเนื
่ ่องกันไป มีการหยุดในระหวาง
่
น้อยมากเมือ
่ วิเคราะหด
spectrogram จะเห็ นได้
์ วย
้
วาช
สอดคล
องกั
บคาหรือพยางคซึ
่ ่ องๆวางไม
่
่
้
์ ง่
ชีใ้ ห้เห็ นวาในเชิ
งกายภาพไมมี
่ ะชีไ้ ดว
่
่ ตรงไหนทีจ
้ า่
ช่องวางระหว
างค
าอยูตรงไหน
่
่
่
2) หน่วยเสี ยงพืน
้ ฐาน(phoneme)แตละตั
วออกเสี ยง
่
แตกตางกั
นไปตามแตบริ
่
่ บทเช่น ลักษณะการพูด
เพศ
เหตุผลทีเ่ รายังสามารถรับรูค
กต้องแม้
้ าพูดไดอย
้ างถู
่
คุณภาพเสี ยงจะแตกตางกั
นไปคือการรับรูค
่
้ าพูดของเราเป็ น
แบบจัดหมวดหมู(categorical)
นั้นคือ ในการจัดการกับ
่
Lisker and Abramson (1970) ไดอธิ
้ บายการการ
รับรูค
้ าพูดแบบจัดหมวดหมูโดยใช
่
้คอมพิวเตอรสร
้
์ าง
เสี ยงพูดทีป
่ ระกอบดวยเสี
ยงพยัญชนะทีเ่ กิดจากริม
้
ฝี ปาก(bilabial) เช่น /b/ /p/ จากนั้นตามดวยเสี
ย
้
“ah” ในระยะเวลาทีแ
่ ตกตางกั
น
่
ผลการศึ กษาพบวา่ พยัญชนะใดก็ตามทีต
่ ามดวย
้
VOT(Voice onset time) +0.03วินาทีหรือน้อยกวาจะ
่
ถูกไดยิ
กไดยิ
้ นเป็ น “ba” และหากมากกวาจะถู
่
้ นเป็ น
“pa”
ผู้รับการทดลองไมสามารถแยกแยะได
ความแตกต
าง
่
้
่
ระหวางพยั
ญชนะทีม
่ ี VOT -0.05 กับ -0.10 ได้
่
การทดลองนี้ชใี้ หเห็ นวาเราใหความสนใจกับคุณสมบัต ิ
การพูดผิด
Speech Errors in Production
นอกจากการใช้คาพูดแลว
าพูดเพือ
่
้ เรายังสรางค
้
สื่ อสารกับคนอืน
่ อีกดวย
งานวิจย
ั เกีย
่ วกับการสราง
้
้
คาพูดส่วนหนึ่งมุงให
่
้ความสนใจกับการความผิดพลาด
ในการสรางค
าพูด(Speech error) ตัวอยางเช
้
่
่น
• Sue keeps food in her vesk. (Substitution of
“v” for “d”)
• Keep your cotton-pickin’ hands off my weet
speas. (Shift of “s”)
• . . . got a lot of ponsand patsto wash.
(Exchange of sounds)
• We’ll sit around the song and sing
• Garrett (1988) ไดศึ
้ กษาความผิดพลาดในการพูด
พบวา่ ความผิดพลาดในการพูดแบงออกได
เป็
่
้ น 2
ประเภทหลัก คือ
• ความผิดพลาดอันเนื่องความหมายทีเ่ ชือ
่ มโยงกัน
เช่น ใช้คาวา่ นิ้วมือ(finger)แทนคาวา่ นิ้วเทา้
(toes) หรือคาวาเดิ
่ ะใช้คาวา่ วิง่
่ น(walk)แทนทีจ
(run)
• ผิดพลาดเนื่องจากรูปศั พทคล
น เช่น คาวา่
้
์ ายกั
guest แทนทีจ
่ ะเป็ น goat, mushroom แทนทีจ
่ ะ
เป็ น mustache
การเข้าใจประโยค
Sentence Comprehension
• คนเราเขาใจความหมายจากประโยคได
อย
จะ
้
้ างไร?
่
เห็ นไดว
้มค
ี วามซับซ้อนเพราะ
้ า่ งานดังกลาวนี
่
นอกจากเราจะตองเข
าใจความหมายแต
ละค
าแลวเรา
้
้
่
้
ยังตองเข
าใจโครงสร
างประโยค(Syntactic
้
้
้
structure)อีกดวย
้
• ในการวิจย
ั ตอเนื
่ ่อง Jarvella (1971) ไดให
้ ้ผู้รับ
การทดฟังขอความยาวๆ
เสี ยงแทรกในระหวาง
้
่
ขอความยาวๆเป็
นสั ญญาณให้ผู้รับการทดลองนึก
้
ยอนอะไรก็
จากประโยคทีเ่ ขาได
ยิ
ส
่ ุด
้
้
้ นให้ถูกตองที
้
เทาที
่ ะเป็ นไปได้ จาเวลลาได
สร
อความที
ม
่ วี ลี
่ จ
่
้ างข
้
้
คลายกั
นแตมี
างกั
น โดย
้
่ องคประกอบประโยคแตกต
่
์
จะเห็ นไดว
ประโยคตรงกลางของทัง้ สองประโยค
้ าอนุ
่
• With this possibility, Taylor left the capital.
After he had returned to Manhattan, he
explained the offer to his wife.
(ดวยความเป็
นไปไดนี
องหลวง
้
้ ้ เทเลอรออกจากเมื
์
หลังจากกลับถึงแมนฮั ตตัน เขาไดอธิ
้ บายขอเสนอ
้
แกภรรยาของเขา)
่
• Taylor did not reach a decision until after he
had returned to Manhattan. He explained
the offer to his wife.
(เทเลอรยั
ง่ กลับถึงแมนฮั ต
่ จนกระทั
้
์ งตัดสิ นใจไมได
ตัน เขาไดอธิ
ภรรยาของเขา)
้ บายขอเสนอแก
้
่
• ผลการวิจย
ั พบวา่ การจาคาตางๆในอนุ
ประโยคแรก
่
ของผู้รับการทดลองคลายคลึ
งกันและเฉลีย
่ อยูที
้
่ ่
16%
• การจาคาในประโยคที่ 3 (“he explained the offer
to his wife”) ของผู้รับการทดลองทัง้ สองกลุมไม
่
่
แตกตางกั
นโดยอยูที
่ 85% สั นนิษฐานวา่
่
่ เ่ ฉลีย
ประโยคดังกลาวยั
งอยูใน
ความจาทีก
่ าลังทางาน
่
่
(working memory) สาหรับอนุ ประโยคที2
่ (After he
had returned to Manhattan) ซึง่ เป็ นขอความ
้
เดียวกันในทัง้ สองประโยคพบวา่ ผู้รับการทดลองจา
อนุ ประโยคที่ 2 ของขอความที
่ 1 ถูกตอง
54%
้
้
ส่วนอนุ ประโยคที่ 2 ขอความที
่ 2 ถูกตอง
20%
้
้
จาเวลลาให
่ ใน
่
้เหตุผลวา่ เพราะอนุ ประโยคที2
ขอความที
่ 1 กาลังอยูในระหว
างด
าเนินการ จึงยัง
้
่
่
ถูกเก็บไวใน
้ working memory ส่วนอนุ ประโยคที่
การเข้าใจข้อความตัวหนังสือ
Comprehending Text
Passages
• Just and Carpenter (1987) ไดพยายามศึ กษาวาคนเรา
้
่
มีอานอย
างไรโดยใช
่ งคอมพิวเตอรวั
่
่
้เครือ
์ ดการหยุด
(fixation)ของตา การหยุดของตาคือการหยุดการสแกน
ดวยสายตาเป็
นระยะเวลาสั้ นๆกอนเลื
อ
่ นการอานต
อไป
้
่
่
่
พบวา่ โดยเฉลีย
่ แลวคนเราจะหยุ
ดการสแกนเป็ นเวลา
้
250วินาทีกอนเลื
อ
่ นตอไปซึ
ง่ การเปลีย
่ นจังหวะดังกลาว
่
่
่
ใช้เวลาราว 10-20มิลลิวน
ิ าที ซึง่ ทัง้ สองสั นนิษฐานวา่
การแปลความหมายคาแตละค
าเกิดขึน
้ ในระหวางนั
้น
่
่
การหยุดจะเป็ นตัวบอกวาการแปลค
ายากหรืองายแค
ไหน
่
่
่
• งานวิจย
ั ของ Kintsch and Keenan (1973)ไดชี
้ ใ้ ห้เห็ น
วา่ องคประกอบด
านความหมายของค
ามีผลตอการอ
าน
์
้
่
่
โดยให้รับการทดลองอานข
อความความยาวเท
ากั
่
้
่ นเขาใจ
้
ไดยากง
ายแตกต
างกั
นเนื่องจากความซับซ้อนตาแหน่ง
้
่
่
ไวยากรณ์เรื่องราว(Story
Grammars)
หลักการสนทนาของกริเชียน
Gricean Maxims of
Conversation
1. หลักวาดวยปริมาณ(Maxim of quantity). ทาคาพูด
่ ้
ของคุณให้มีสาระเทาที
่ าเป็ นอยาท
่ จ
่ าให้มีสาระเกิน
ความจาเป็ น.
2. หลักวาด
of quality). ทาคาพูดของคุณ
่ วย(Maxim
้
ให้น่าเชือ
่ ถือ อยาพู
่ ุณเชือ
่ ให้เป็ นเรือ
่ ง
่ ดสิ่ งทีค
เหลวไหล อยาพู
่ ดโดยไมมี
่ หลักฐาน.
3. หลักวาด
มพันธ(Maxim
of relation).
่ วยความสั
้
์
สรางความเกี
ย
่ วเนื่องกัน.
้
4. หลักวาด
of manner). สราง
่ วยมารยาท(Maxim
้
้
ความชัดเจน หลีกเลีย
่ งการแสดงออกทีไ่ มชั
่ ดเจน
ความคลุมเครือ กระชับและเป็ นลาดับ.
ภาษากับการรู้ คิด
(Language and
cognition)
The Modularity Hypothesis
• นักทฤษฎีกลุมนี
่ ้มองวา่ ภาษาเป็ นกระบวนการ
ทางการรูคิ
ั ของ
้ ดทีเ่ ป็ นส่วนอิสระ1งานวิจย
Swinney (1979)ซึง่ พบวา่ เมือ
่ เกิดพบกับคาที่
คลุมเครือ ความหมายตางขอค
าจะถูกตุนให
่
้
้ทางาน
โดยอัตโนมัต ิ
The Whorfian Hypothesis
• สมมติฐานทีเ่ รียกวา่ สมมติฐานของวอเฟี ยนวาด
่ วย
้
ความสั มพันธทางภาษา(Whorfian
hypothesis of
์
linguistic relativity) เชือ
่ วา่ ภาษาเกิดจากการรับรู้
โลกรอบตัว การจัดหมวดหมูและการคิด ภาษา
แตกตางกั
นไปตามแตภู
ิ ระเทศของโลก เขายก
่
่ มป
ตัวอยางเช
่
่ น ชาวเอสกิโมมีคาเรียกหิมะหลายคา
ขณะทีภ
่ าษาอังกฤษมีแคค
่ าเดียว ภาษาอังกฤษมีคา
เรียกสี หลายคา ขณะทีช
่ นเผาดานิ
ในอินโดนิเซียมี
่
แค่ ขาว ดาและสวาง
่
Neuropsychological Views and
Evidence
• ปี 1861 Pierre Paul Broca แพทยชาวฝรั
ง่ เศสค้น
์
พบวา่ สมองส่วนทีเ่ รียกวา่ Broca area ในปัจจุบน
ั
ทาหน้าเกีย
่ วกับความสามารถในการเปลงเสี
่ ยงพูด
• 1874 ปี ตอมา
Carl Wernicke นักประสาทวิทยา
่
ชาวเยอรมันพบวา่ สมองส่วนทีเ่ รียกวา่
Wernicke’s area ในปัจจุบน
ั ทาหน้าทีเ่ กีย
่ วกับการ
เขาใจภาษา
้