สมมติฐาน

Download Report

Transcript สมมติฐาน

ระเบียบวิธวี จ
ิ ัย
RESEARCH METHODOLOGY
: การกาหนดสมมติฐานและทดสอบ
Hypothesis and Test of Hypothesis
ครงที
ั้ ่ 8 : ก.ค.-54
้ ฐานสมมติฐาน
พืน
• Sir Karl Popper นักปรัชญาว่ าด้ วย ทฤษฎีความรู้ ชาวอังกฤษ กล่ าวว่ า
“สมมติฐานก็คล้ ายๆ กับอวนจับปลา คนที่ใช้ อวนเท่ านั้นที่จะจับปลาได้ ”
=
มุ่งให้ ผ้ ูศึกษาเรี ยนรู้ ถึงการใช้ สมมติฐานที่คุณภาพสู ง (อวน) เพื่อจับความรู้ ทางศาสตร์
ใหม่ ๆ เยีย่ งการใช้ อวนจับปลา
การกาหนดสมมติฐาน
• สมมติฐานเป็ นแหล่ งทีม่ าของความรู้ ทางศาสตร์ ซึ่งจะเป็ น
การคาดการณ์คาตอบปัญหา สามารถนามาตรวจสอบ
ความถูกต้ องได้ โดยหลักฐานเชิงประจักษ์
• สมมติ ิฐานเป็ นแนวทางเบือ้ งต้ นที่จะแปลความหมายของ
ธรรมชาติ หรือระเบียบกฎเกณฑ์ แห่ งธรรมชาติ และเป็ น
สิ่ งทีเ่ ชื่อมทฤษฎีทเี่ ป็ นนามธรรมกับประสบการณ์ จริงที่
เป็ นรูปธรรมเข้ าด้ วยกัน
ความหมายของสมมติฐาน
• คาว่ า “สมมติฐาน” มาจากศัพท์ ภาษาอังกฤษคาว่ า Hypothesis ซึ่งเป็ นภาษาลาตินมี
รากศัพท์ มาจากภาษากรีก
“hypo”
คือ
“hupotithenai” คือ
ข้ อเสนอ/ข้ อเสนอแนะ
ใส่ ไว้ ข้างล่ าง
• สมมติฐาน คือ ข้ อความที่สมมติว่าเป็ นจริ งในประเด็นที่ต้องการพิสูจน์ ตรวจสอบหรื อเป็ น
ความคิดทีก่ ้ าวหน้ าในการอธิบายหรือทานายปรากฏการณ์ ท้งั หลาย
ความหมายของสมมติฐาน
• Selltiz และคณะ (1959) :
- ข้ อ เสนอ เงื่อ นไขหรื อ หลัก การที่ส มมติ ขึ้นมาระบุ ค วามสั ม พัน ธ์ กัน เชิ ง เหตุ ผ ลเพื่อ
ทดสอบกับข้ อเท็จจริง
• Keriinger (1973) :
- ข้ อความเชิงคาดคะเนเกีย่ วกับความสั มพันธ์ ระหว่ างตัวแปร 2 หรือมากกว่ า 2 ตัว
• ราชบัณฑิตยสถาน (2542) :
- ข้ อคิดเห็นหรือถ้ อยแถลงทีใ่ ช้ เป็ นมูลฐานแห่ งการหาเหตุผลในการทดลอง/การวิจัย
ความหมายของสมมติฐาน
ประเด็นความหมายสมมติฐาน
ข้อความทีเ่ ป็นการคาดคะเนหรือบอกถึงต ัวแปรตงแต่
ั้
ั ันธ์เชอ
ื่ มโยงก ัน ทงนี
้ ไป มีความสมพ
2 ต ัว ขึน
ั้ เ้ พือ
่ อธิบาย
้
ข้อเท็จจริง เงือ
่ นไข พฤติกรรมหรือปรากฏการณ์ทเี่ กิดขึน
หรือ
ข้อความทีค
่ าดคะเนคาตอบของปัญหาการวิจ ัย โดย
คาตอบนีเ้ ป็นการสรุปสาระจากการค้นคว้าเอกสาร และ
งานวิจ ัยทีเ่ กีย
่ วข้องทีอ
่ า้ งอิงจากแนวความคิดและทฤษฎี
ล ักษณะสาค ัญของสมมติฐาน
ล ักษณะสาค ัญ 3 ประการ
ั ษฐาน :
1. เป็นข้อความเชงิ สนนิ
้ หา ข้อความ/ใจความทีเ่ ขียนมีล ักษณะเชงิ คาดเดา
: เนือ
้ :
2. เป็นเรือ
่ งหรือผลทีจ
่ ะเกิดขึน
้ หา ข้อความหรือใจความเกีย
- เนือ
่ วก ับผลของการหา
คาตอบ
3. เป็นเรือ
่ ง/ผลทีเ่ กีย
่ วก ับล ักษณะประชากรเป้าหมายที่
ึ ษา
ศก
้ หา ข้อ ความหรือ ใจความทีเ่ ขีย นเป็ นผลหรือ
- เนือ
ค าตอบที่บ อกล ก
ั ษณะของประชากร ไม่ ใ ช่ ล ก
ั ษณะ
ต ัวอย่าง
คาที่มีความหมายใกล้เคียงกับสมมติฐาน
• ข้ อความเชิงตรรกะ : ประโยคตรรกะมีความหมาย 2 นัย
- นัยที่ 1 ข้ อความเป็นเชิงบอกเล่ า (declarative
statement)
- นัยที่ 2 เน้ นเงือ่ นไขและผลทีจ่ ะเกิดขึน้
เมือ่ นามาทดสอบและยืนยันความถูกต้ อง โดยหลักฐานเชิงประจักษ์ เรียกข้ อความนั้นว่ า
“สมมติฐาน”
คาที่มีความหมายใกล้เคียงกับสมมติฐาน
• กฎ (laws)
สมมติฐานทีใ่ ห้ ความหมายกว้ างขวางและได้ รับการ
ยืนยันแล้ ว ซึ่งกฎต้ องเป็ นข้ อสรุปทัว่ ไปทีเ่ ป็ นสากลทว่ ั ไป
(universal)
เนื่องจากกฎนิรนัยมาจากข้ อสรุปทัว่ ไปทีอ่ ยู่ในระดับสู ง
กว่ า และใช้ สาหรับการนิรนัยข้ อสรุ ปทัว่ ไปในระดับต่ากว่ า
ต่ อไปอีกได้
คาที่มีความหมายใกล้เคียงกับสมมติฐาน
• ข้ อสรุปทัว่ ไป (generalizations)
ข้ อความทั้งหลายที่เป็นล ักษณะชื่อทัว่ ไป (common
names) และแนวความคิดใดความคิดหนึ่งอยู่ในข้ อความ
โดยแตกต่ างจากสมมติฐานทีส่ มมติฐานมักจะระบุเงือ่ นไขที่
อยู่ในลักษณะของการคาดคะเน (conjecture)
หน้ าที่สมมติฐาน
กระบวนการค้ นหาความรู้ทางศาสตร์ สมมติฐานทาหน้ าที่
สาคัญ ประการคือ
ประการที่ 1 : สมมติฐานทาให้ เกิดความสาคัญเชิง
ระบบ (Systemic import) คือ ทาให้ แนวความคิดเกีย่ วกับ
เรื่องต่ างๆ ทั้งหลายเชื่อมเข้ ากันอย่ างเป็ นระบบ
หน้ าที่สมมติฐาน
ประการที่ 2 : สมมติฐานช่ วยอานวยความสะดวกในการทดสอบทฤษฎีทางศาสตร์
(theoretical testability) สรุ ปได้ ดงั นี้
1. ช่ วยจากัดขอบเขตของปัญหาวิจัย
2. ช่ วยให้ ผู้วจิ ัยมีความคิดชัดเจนในปัญหาทีจ่ ะทาการวิจัย
ประการที่ 3 : ช่ วยชี้แนวทางในการออกแบบวิจัย (research design)
และวางแผนการวิจัย
หน้ าที่สมมติฐาน
ประการที่ 4 : ช่ วยเสริมช่ องว่ างระหว่ างความรู้ใหม่ กบั
ความรู้ทไี่ ด้ ค้นพบ
ประการที่ 5 : สมมติฐานจะช่ วยชี้แนวทางใชใ้ นการ
สรุปผลทีไ่ ด้ จากการวิเคราะห์ ข้อมูลให้ แก่ ผ้ ูวจิ ัย
ประการที่ 6 : ช่ วยประหยัดทร ัพยากรทงเวลา
ั้
แรงงาน
และค่ าใช้ จ่ายในการทาวิจัย
แบบสมมติฐาน
1. สมมติฐานประเภทผันแปรเดีย่ วและผันแปรหลากหลาย
- ประเภทผันแปรเดีย่ ว (univariate hypotheses)
คือ สมมติฐานทีม่ ุ่งพรรณนาคุณสมบัติของตัวแปรตัวใดตัวหนึ่งในแบบต่ างๆ อาจเกีย่ วกับบุคคล กลุ่ม
เหตุการณ์ หรือสิ่ งของก็ได้
- ประเภทผันแปรหลากหลาย (multivariate
hypotheses) คือ ข้ อความทีม่ ฐี านทางทฤษฎีทรี่ ะบุความสั มพันธ์ ของ ตัวแปรตั้งแต่ 2
ตัวขึน้ ไป
แบบสมมติฐาน
2. สมมติฐานประเภทระบุความเกีย่ วพันกับไม่ ระบุความ
เกีย่ วพัน
- ประเภทระบุความเกีย่ วพัน (associational
hypotheses) ระบุความเกีย่ วพันตั้งแต่ 2 ตัวแปรขึน้ ไป
ในแง่ ใดแง่ หนึ่ง โดยระบุทศิ ทาง (directional hypotheses)
หรือไม่ ระบุทศิ ทาง (non-directional hypotheses) ก็ได้
- ประเภทไม่ ระบุความเกีย่ วพัน (Non-associational
hypotheses) ตรงกันข้ ามประเภทแรก
แบบสมมติฐาน
3. สมมติฐานประเภทสากลและสมมติฐานประเภทสถิติ
- ประเภทสากล (universal hypothesis) ในทาง
รัฐศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ เกือบจะไม่ มสี มมติฐานประเภทเลย
สมมติฐานนีอ้ ยู่ในตัวแบบ
“ถ้ า ก. แล้ วจะต้ อง ข. เสมอ”
- ประเภทสถิติ (statistical hypotheses) นั้นอยู่ใน
ตัวแบบ
“ถ้ า ก. แล้ วอาจจะ ข.”
แบบสมมติฐาน
4. สมมติฐานประเภทกาละและเทศะ
- ประเภทกาละ (temporal hypotheses) คือ
สมมติฐานทีร่ ะบุว่ามีตัวแปรตัวหนึ่งเกิดขึน้ ก่ อนตัวแปรอีกตัว
หนึ่ง
- ประเภทเทศะ (cross-sectional hypotheses) นั้น
ระบุถึงการเกิดสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งขึน้ ในจุดเดียวหรือทีเ่ ดียวในเวลา
ใดเวลาหนึ่ง กล่ าวคือ ไม่ ระบุถึงสาเหตุและผลทีต่ ามมา
แบบสมมติฐาน
5. สมมติฐานแบบบรรยายกับสมมติฐานแบบสถิติ
- แบบบรรยาย คือ สมมติฐานทีเ่ ป็ นข้ อความรูปแบบ
เชิงพรรณนา ซึ่งระบุความเกีย่ วพันหรือไม่ เกีย่ วพันของ
ตัวแปรทั้งแบบมีทศิ ทางและไม่ มที ศิ ทาง
- แบบสถิติ คือ สมมติฐานทีม่ ุ่งทดสอบเงือ่ นไขตามที่
ระบุไว้ ในสมมติฐานโดยใช้ เทคนิคทางสถิติ โดยเขียน
สมมติฐานในรูปของสั ญลักษณ์ ทางคณิตศาสตร์
สมมติฐานสถิต ิ
สมมติฐานประเภทสถิติ (statistical hypotheses) แบ่งเป็น
2 ประเภท
1. สมมติฐานศูนย์ (Null Hypothesis) เป็นข้อความ
หรือสมการระบุความเป็นกลางใช ้
“ไม่แตกต่างก ัน เท่าก ัน หรือ เท่าก ับ 0”
ความแตกต่างระหว่างค่าพารามิเตอร์ก ับค่าทีก
่ าหนด
หรือระหว่างค่าพารามิเตอร์ 2 ค่าหรือมากกว่า
สมมติฐานสถิต ิ
สมมติฐานประเภทสถิติ (statistical hypotheses) แบ่งเป็น 2
ประเภท
2. สมมติฐานเลือก (Alternative Hypothesis) เป็น
ข้อความหรือสมการระบุความแตกต่างใช ้
“แตกต่างก ัน ไม่เท่าก ัน หรือ ไม่เท่าก ับ 0”
ระหว่างค่าพารามิเตอร์ก ับค่าทีก
่ าหนด/ระหว่าง
ค่าพารามิเตอร์ 2 ค่า/มากกว่า เป็นทางเลือกของโอกาสที่
้ หากปฎิเสธสมมติฐาน
จะเกิดขึน
ประเภทการเขียนสมมติฐาน
1. สมมติฐานทีก
่ ล่าวถึงความจริงเชงิ พรรณา ข้อเท็จจริง
ั ันธ์ระหว่าง
้ โดยไม่ได้กล่าวถึงความสมพ
ทีป
่ รากฏขึน
ต ัวแปรใดๆ
EX : นิสติ สาขา………….สอบวิชาวิจ ัยไม่ผา่ นน้อยลง
้
เยาวชนไทยในเขตเมืองไม่สนใจประเพณีว ัฒนธรรมมากขึน
ประเภทการเขียนสมมติฐาน
2. สมมติฐานทีก
่ ล่าวถึงปรากฏการณ์ เหตุการณ์หรือ
้ สมา
พฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึง่ ทีเ่ กิดขึน
่ เสมอ ซงึ่ เป็น
ปรากฏการณ์ทว่ ั ไป
EX :
ประชาชนในเมืองมีขนาดครอบคร ัวเล็กมากกว่าประชาชน
ในชนบท
ธุรกิจขนาดเล็กม ักมีความมน
่ ั คงน้อยกว่าธุรกิจขนาดใหญ่
ประเภทการเขียนสมมติฐาน
ั ันธ์ระหว่างองค์ประกอบ
3. สมมติฐานทีก
่ ล่าวถึงความสมพ
ั ันธ์เป็นเหตุเป็นผล
(Factor)/ ต ัวแปรทีม
่ ค
ี วามสมพ
(Causal Relationship) ซงึ่ เป็นสมมติฐานทีก
่ ล่าวถึง
คุณล ักษณะ/ปรากฏการณ์ทเี่ ป็นสาเหตุ (Determine)
EX :
ิ มีความรอบรูท
ึ ษา
นิสต
้ างวิชาการน้อยเพราะไม่ขย ันศก
ิ ค้าฟุ่มเฟื อย
ประชาชนชาวไทยรายได้ตา
่ ลงทาให้บริโภคสน
น้อยลง
แหล่งทีม
่ าสมมติฐาน
1. ความรูผ
้ ว
ู้ จ
ิ ัยเอง ปกติผว
ู้ จ
ิ ัยต้องมีความรู ้ ความ
เข้าใจหรือความ สนใจในเรือ
่ งทีจ
่ ะทาเป็นอย่างดี
ึ ษาค้นคว้า
2. ข้อค้นพบงานวิจ ัยทีผ
่ า
่ นมา โดยศก
งานวิจ ัยทีบ
่ ค
ุ คลอืน
่
ทาไว้กอ
่ นหน้า
การทดสอบสมมติฐาน
การทดสอบสมมติฐาน :
้ เพือ
- การกระทาขึน
่ ทีจ
่ ะประเมินผลทีไ่ ด้มาจากการ
่ ต ัวอย่างหรือเพือ
ื่ ถือได้มาก
สุม
่ หาผลทีไ่ ด้นนว่
ั้ าจะมีความเชอ
น้อยขนาดไหน
้ อ
- การใชข
้ ความรูท
้ างสถิตใิ นการทดสอบสมมติฐาน
จากข้อมูลทีเ่ ก็บรวบรวมมาได้จากกลุม
่ ต ัวอย่างจะต้องเลือก
ให้เหมาะสมก ับข้อมูลนนๆ
ั้ ว่าต้องการทดสอบอะไร มีจานวน
กลุม
่ ทีต
่ อ
้ งการทดสอบกีก
่ ลุม
่ เป็นต้น
- พยายามหาหล ักฐานให้มากพอทีม
่ อ
ี ยูใ่ นต ัวอย่า งมา
ิ ใจก ับสมมติฐานทีต
ใชใ้ นการ ต ัดสน
่ งั้
การทดสอบสมมติฐาน
การกาหนดสมมติฐาน
้ มา 2 สมมติฐาน :
การทดสอบสมมติฐานจะตงสมมติ
ั้
ฐานขึน
1. สมมติฐานหล ัก (Null Hypothesis) หรือ
เพือ
่ ต้องการหล ักฐานในการห ักล้าง
H 0ถูกกาหนดขึน้
2. สมมติฐานทางเลือก (Alternative Hypothesis) หรือเป็น
้ เพือ
สมมติฐานทีต
่ งขึ
ั้ น
่ ทีจ
่ ะเป็นทางเลือกเมือ
่ มีการลบล้างสมมติฐานหล ัก
H a H1
ขนตอนการทดสอบสมมติ
ั้
ฐาน
1. กาหนดสมมติฐานทีต
่ อ
้ งการทดสอบ ซงึ่ จะเป็น
สมมติฐานทางสถิต ิ (Statistical Hypothesis) คือ กาหนด
สมมติฐานหล ัก และสมมติฐานทางเลือก
2. กาหนดระด ับน ัยสาค ัญ 0.05 หรือระด ับความ
ื่ มน
เชอ
่ ั (level of confidence)  
3. กาหนดวิธท
ี างสถิตท
ิ ใี่ ชใ้ นการทดสอบ พร้อมทงั้
หาเขตวิกฤติ (critical region) หรือเขตปฏิเสธสมมติฐาน
4. คานวณหาค่าทางสถิตต
ิ ามวิธท
ี างสถิตท
ิ จ
ี่ ะใชใ้ น
การทดสอบ
ขนตอนการทดสอบสมมติ
ั้
ฐาน
5. สรุปผลการทดสอบ โดยพิจารณาค่าทีค
่ านวณได้
จากข้อ 4. ว่าตกอยูใ่ นเขตวิกฤติหรือไม่
ถ้าค่าสถิตท
ิ ี่
H1 ับ
คานวณได้ตกอยูน
่ อกเขตวิกฤติก็จะยอมร
ในทาง
Hา0มถ้าค่าสถิตท
ตรงก ันข้
ิ ค
ี่ านวณได้ตกอยูใ่ นเขตวิกฤตก็จะ
H 0 และไปยอมร ับ
ิ หาก
ปฏิเสธ
และจะไม่ต ัดสน
ค่าสถิตเิ ท่าก ับเขตวิกฤต
สถิตท
ิ ใี่ ชใ้ นการทดสอบสมมติฐานมีหลายล ักษณะ
คล้ายก ับการอนุมานประชากร ซงึ่ จะมีความสอดคล้องก ัน
การวิเคราะห์ สมมติฐาน
หลักเกณฑ์ สาคัญที่ใชพ้ จิ ารณาเพิม่ เติมในการวิเคราะห์ สมมติฐานคือ
ความเหมาะสมของสมมติฐานต่ อการวิจัย : ประเด็น
1. การนิรนัยได้ (deductibility)
2. การทดสอบได้ (testability)
เทคนิคการค้ นพบความรู้ทางศาสตร์
1. การทาความเข้ าใจให้ แจ่ มแจ้ ง (insight)
2. การเก็บรักษาบันทึก เอกสาร ข้ อมูล (record maintenance)
3. การจาแนกประเภทโดยการไขว้ ตัวแปร (cross-classification)
4. การใช้ สมมติฐานแบบสลับ (alternative hypotheses)
5. การนิรนัย (deduction)
รูปที่ 1
/2
/2
H0 :   0
Ha :   0
รูปที่ 3

  0
H0 :   0 หรือ
Ha :   0
รูปที่ 2

  0
H0 :   0 หรือ
Ha :   0