Document 1295869

Download Report

Transcript Document 1295869

 Call
ACenter
T PD
กองบังคับการปราบปรามการคามนุ
ษ
ย
(บก.ปคม.)
11
้
์
Anti Trafficking in Persons Division (ATPD)
91
มาตรการป้องกันและแกไขปั
ญหาการค
้
้า
มนุ ษยด
้
์ านแรงงาน
วันศุกรที
๊ ตัน พารค
์ ่ 26 ธันวาคม 2557 ณ โรงแรมปริน
์
สวีท กรุงเทพมหานคร
“ขจัดการค้ามนุษย์ หยุดขบวนการค้าแรงงาน มุ่งบูรณาการจัดระเบียบสั งคม”
ศูนยราชการเฉลิ
มพระเกียรติ อาคารบี ชัน
้ ๔ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุงสองห
่
้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ
์
๑๐๒๑๐ www.ahtd.go.th
 Call
ACenter
T PD
กองบังคับการปราบปรามการคามนุ
ษ
ย
(บก.ปคม.)
11
้
์
Anti Trafficking in Persons Division (ATPD)
ประวัตวิ ท
ิ ยากร
พ.ต.ท.มนตรี
เบาทอง
้
พนักงานสอบสวนผู้ชานาญการพิเศษ กองกากับการ 5
กองบังคับการปราบปรามการค้ ามนุษย์
ปริญญาตรี รัฐประศาสนศาสตร์บัณฑิต
โรงเรียนนายร้ อยตารวจ รุ่นที่ 43 ปี 2533
ปริญญาโท ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี 2544
91
 Call
ACenter
T PD
กองบังคับการปราบปรามการคามนุ
ษ
ย
(บก.ปคม.)
11
้
์
Anti Trafficking in Persons Division (ATPD)
คุณวุฒเิ กีย
่ วกับการคามนุ
ษย ์
้
หลักสูตร Human Trafficking
Investigation
จัดโดย AusAID หน่วยงานของรัฐบาล
ออสเตรเลีย เมื่อเดือนกรกฎาคม 2006
หลักสูตร Pro-active Investigation of
Human Trafficking
จัดโดย AusAID หน่วยงานของรัฐบาล
ออสเตรเลีย เมื่อเดือนกรกฎาคม 2007
91
อานาจหน้ าที่ของ บก.ปคม.
31 ก.ค.2548
กองบั
ง
คั
บ
การปราบปรามการกระท
าผิ
ด
ต่
อ
เด็
ก
ความผิ
ด
ฐานค้
า
มนุ
ษ
ย์
เยาวชน และสตรี (บก.ปดส. หรือ CWD)
-มีอานาจหน้าทีป่ ้ องกันปราบปราม สืบสวนสอบสวน คดีเกี่ยวกับ
การกระทาผิดต่อเด็ก เยาวชน และสตรี ความผิดเกีย่ วกับการค้า
ประเวณี ความผิดเกีย่ วกับแรงงาน และการจัดระเบียบสังคม
7 ต.ค.2552 กองบังคับการปราบปรามการกระทาความผิด
เกีย่ วกับการค้ามนุษย์ (บก.ปคม. หรือ AHTD)
-มีอานาจหน้าทีป่ ้ องกันปราบปราม สืบสวนสอบสวน คดี
ความผิดเกีย่ วกับการค้ามนุษย์ ความผิดเกีย่ วกับแรงงาน และ
การจัดระเบียบสังคม
7 ก.พ.2557 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์
(บก.ปคม. หรือ ATPD)
-มีอานาจหน้าทีป่ ้ องกันปราบปราม สืบสวนสอบสวน คดี
ความผิดเกีย่ วกับเด็ก เยาวชน และสตรี ความผิดเกีย่ วกับ
การค้ามนุษย์ ความผิดเกีย่ วกับแรงงาน และการจัดระเบียบ
สังคม
พื้นที่รับผิดชอบของ บก.ปคม.
แบ่งออกเป็ น 6ความผิ
กองกากับการ
รับผิดชอบพื้
ดฐานค้
ามนุนทีจ่ษงั หวัย์ ดต่าง
กองกากับการ 1 พื้ นทีต่ ารวจนครบาล(กรุงเทพมหานคร)
กองกากับการ 2 พื้ นทีต่ ารวจภูธร 1 และ 2 (สมุทรปราการ
นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท
ลพบุรี สระบุรี ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด นครยายก ฉะเชิ งเทรา
ปราจี นบุรี สระแก้ว)
พื้นที่รับผิดชอบของ บก.ปคม.
กองกากับการ ความผิ
3 พื้ นทีต่ ารวจภู
ธฐานค้
ร 3 และา4(ชั
ยษ
ภูมย์ิ นครราชสีมา
ด
มนุ
บุรีรมั ย์ สุรินทร์ ศรีษะเกษ อานาจเจริญ อุบลราชธานี กาฬสินธุ ์
ขอนแก่น นครพนม บึงกาฬ มหาสารคาม มุกดาหาร ร้อยเอ็ด เลย
สกลนคร หนองคาย หนองบัวลาภู อุดรธานี)
พื้นที่รับผิดชอบของ บก.ปคม.
กองกากับการ ความผิ
4 พื้ นทีต่ ารวจภู
ธฐานค้
ร 5 และา6(น่
าษ
น ย์
พะเยา ลาปาง
ด
มนุ
ลาพูน พะเยา เชียงราย เชียงใหม่ แพร่ แม่ฮ่องสอน กาแพงเพชร
ตาก พิจิตร พิษณุโลก สุโขทัย อุตรดิตถ์ อุทยั ธานี เพชรบูรณ์)
พื้นที่รับผิดชอบของ บก.ปคม.
กองกากับการ ความผิ
5 พื้ นทีต่ ารวจภู
ธฐานค้
ร 7 และา8(กาญจนบุ
รี นครปฐม
ด
มนุ
ษ
ย์
สุพรรณบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ราชบุรี เพชรบุรี
ประจวบคีรีขนั ธ์ กระบี่ ชุมพร นครศรีธรรมราช พังงา ภูเก็ต ระนอง
สุราษฎร์ธานี)
พื้นที่รับผิดชอบของ บก.ปคม.
กองกากับการ ความผิ
6 พื้ นทีต่ ารวจภู
ธฐานค้
ร 9 และาศชต.(ตรั
ง พัทลุง สตูล
ด
มนุ
ษ
ย์
สงขลา ยะลา นราธิวาส ปั ตตานี
แนวทางและแนวโน้ มในการดาเนินงาน
ความผิดฐานค้ามนุษย์
ด้านการป้องกัน
-ตรวจตราสถานประกอบการต่าง
ด้านการปราบปราม
-จับกุมผูก้ ระทาผิด
นโยบายตารวจผูร้ บั ใช้ชมุ ชน
และให้คาแนะนา
กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง
 พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน
พ.ศ.2541
 พ.ร.บ.การทางานของคนต่างด้ าว
พ.ศ.2551
 พ.ร.บ.คนเข้ าเมือง พ.ศ.2522
 พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546
 พ.ร.บ.ป้ องกันและปราบปรามการ
ฟอกเงิน พ.ศ.2542
กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง
 พ.ร.บ.ป้ องกันและปราบปราม
การค้ ามนุษย์ พ.ศ.2551
 ประมวลกฎหมายอาญา
ประมวลกฎหมายอาญา
ฐานปลอมเอกสาร ใช้ เอกสารปลอม มาตรา
265 , 267 , 268
ฐานเป็ นธุระจัดหาบุคคลเพื่อการอนาจาร ตาม
มาตรา 282 , 283
ฐานทาร้ ายร่างกาย มาตรา 295 , 297 , 391
ฐานทาให้ เสื่อมเสียเสรีภาพ มาตรา 309
ประมวลกฎหมายอาญา
ฐานหน่วงเหนี่ยวกักขัง มาตรา 310
ฐานเอาคนลงเป็ นทาส มาตรา 312
ฐานรับตัวหรือเป็ นธุระจัดหาบุคคลอายุไม่
เกินสิบแปดปี โดยทุจริต มาตรา 312 ตรี
ฐานพรากผู้เยาว์ มาตรา 317 , 318
พ.ร.บ.ป้ องกันและปราบปราม
การค้าประเวณี พ.ศ.2539
ฐานเป็ นธุระจัดหา ล่อไป หรือพาไปค้ าประเวณี
มาตรา 9
ฐานเป็ นเจ้ าของกิจการค้ าประเวณี หรือผู้
ควบคุมการค้ าประเวณี มาตรา 11
พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546
การกระทาหรือละเว้ นการกระทาอันเป็ นการ
ทารุณกรรมต่อร่างกายหรือจิตใจของเด็ก
มาตรา 26(1)
บังคับ ขู่เข็ญ ชักจูง ส่งเสริม ยินยอม ให้ เด็ก
เป็ นขอทาน มตรา 26(5) ให้ เด็กแสดงหรือ
กระทาการอันลามกอนาจาร มาตรา 26(9)
พ.ร.บ.ป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
มาตรา 5
(1)โอน รับโอน หรือเปลี่ยนสภาพทรัพย์สน
ิ ที่
เกี่ยวกับการกระทาความผิดเพื่อซุกซ่อนหรือ
ปกปิ ดแหล่งที่มาของทรัพย์สนิ หรือเพื่อ
ช่วยเหลือผู้อ่นื ไม่ว่าก่อน ขณะหรือหลังการ
กระทาผิดมิให้ ต้องรับโทษหรือรับโทษน้ อยลงใน
ความผิดมูลฐาน
พ.ร.บ.ป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
(2)กระทาด้ วยประการใด ๆ เพื่อปกปิ ดหรือ
อาพรางลักษณะที่แท้ จริงการได้ มา แหล่ง
ที่ต้งั การจาหน่าย การโอน การได้ สทิ ธิใด ๆ
ซึ่งทรัพย์สนิ ที่เกี่ยวกับการกระทาความผิด
พ.ร.บ.ป้ องกันและปราบปราม
การค้ ามนุษย์ พ.ศ.2551
รูปแบบของการค้ามนุษย์
มาตรา 4 แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ
หมายความว่า
1.การแสวงหาประโยชน์จากการค้ า
ประเวณี
2.การผลิตหรือเผยแพร่วัตถุหรือสื่อ
ลามก
3.การแสวงหาประโยชน์ทางเพศในรูปแบบ
อื่น
4.การเอาคนลงเป็ นทาส
5.การนาคนมาขอทาน
6.การบังคับใช้ แรงงานหรือบริการ
7.การบังคับตัดอวัยวะเพื่อการค้ า
8.หรือการอื่นใดที่คล้ ายคลึงกันอันเป็ น
การขูดรีดบุคคลไม่ว่าบุคคลนั้นจะ
ยินยอมหรือไม่กต็ าม
การบังคับใช้แรงงานหรือบริการ
หมายความว่า การข่มขืนใจให้ทางานหรือ
ให้บริการโดยทาให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อ
ชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง หรือ
ทรัพย์สินของบุคคลนั้นเอง หรือของผูอ้ ื่น
โดยขู่เข็ญด้วยประการใด โดยใช้กาลัง
ประทุษร้าย หรือโดยทาให้บุคคลนั้นอยู่ใน
ภาวะที่ไม่สามารถขัดขืนได้
เด็ก
หมายความว่า
บุคคลผู้มีอายุต่ากว่าสิบแปดปี
พนักงานเจ้าหน้าที่
หมายความว่า พนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจ
ชั้นผู้ใหญ่ และให้ หมายความรวมถึงข้ าราชการซึ่ง
ดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าข้ าราชการพลเรือนสามัญ
ระดับสามซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้ท่มี ีคุณสมบัติ
ตามที่กา หนดในกฎกระทรวงเพื่อให้ ปฏิบัติการ
ตามพระราชบัญญัติน้ ี
องค์กรอาชญากรรม
หมายความว่า คณะบุคคลซึ่งมีการจัด
โครงสร้ างโดยสมคบกันตั้งแต่สามคนขึ้นไป
ไม่ว่าจะเป็ นการถาวรหรือชั่วระยะเวลาหนึ่ง
และไม่ว่าจะเป็ นโครงสร้ างที่ชัดเจนมีการกา
หนดบทบาทของสมาชิกอย่างแน่นอนหรือมี
ความต่อเนื่องของสมาชิกภาพหรือไม่
ทั้งนี้ โดยมีวตั ถุประสงค์ที่จะกระทาความผิดฐาน
ใดฐานหนึง่ หรือหลายฐานที่มีอตั ราโทษจาคุกขั้น
สูงตั้งแต่สีป่ ี ขึ้ นไปหรือกระทาความผิดตามที่
กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ เพือ่ แสวงหา
ผลประโยชน์ทางทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อื่นใด
อันมิชอบด้วยกฎหมายไม่ว่าโดยทางตรงหรือ
ทางอ้อม
มาตรา 6 ผู้ใดเพื่อแสวงหาประโยชน์โดยมิ
ชอบ กระทาการอย่างหนึ่งอย่างใด
ดังต่อไปนี้
(1) เป็ นธุระจัดหา ซื้อ ขาย จาหน่าย พา
มาจากหรือส่งไปยังที่ใด หน่วงเหนี่ยว
กักขัง จัดให้ อยู่อาศัย หรือรับไว้ ซ่งึ บุคคล
ใด โดยข่มขู่ ใช้ กาลังบังคับ ลักพาตัว ฉ้ อ
ฉล หลอกลวงใช้ อานาจโดยมิชอบ
หรือโดยให้ เงินหรือผลประโยชน์อย่างอื่น
แก่ผ้ ูปกครองหรือผู้ดูแลบุคคลนั้นเพื่อให้
ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลให้ ความยินยอมแก่
ผู้กระทาความผิดในการแสวงหาประโยชน์
จากบุคคลที่ตนดูแล หรือ
(2) เป็ นธุระจัดหา ซื้อ ขาย จาหน่าย
พามาจากหรือส่งไปยังที่ใด หน่วง
เหนี่ยวกักขัง จัดให้ อยู่อาศัย หรือรับไว้
ซึ่งเด็ก
ผู้น้น
ั กระทาความผิดฐานค้ ามนุษย์
องค์ประกอบความผิดตามมาตรา 6(1)
แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ
เป็ นธุระจัดหา ซื้อ ขาย จาหน่าย พามา
จากหรือส่งไปยังที่ใด หน่วงเหนี่ยวกักขัง
จัดให้ อยู่อาศัย หรือรับไว้ ซ่ึงบุคคลใด
โดยข่มขู่ ใช้ กาลังบังคับ ลักพาตัว ฉ้ อ
ฉล หลอกลวงใช้ อานาจโดยมิชอบ
หรือโดยให้ เงินหรือผลประโยชน์อย่าง
อื่นแก่ผ้ ูปกครองหรือผู้ดูแลบุคคลนั้น
เพื่อให้ ผ้ ูปกครองหรือผู้ดูแลให้ ความ
ยินยอมแก่ผ้ ูกระทาความผิดในการ
แสวงหาประโยชน์จากบุคคลที่ตนดูแล
องค์ประกอบความผิดตามมาตรา 6(2)
แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ
เป็ นธุระจัดหา ซื้อ ขาย จาหน่าย พามา
จากหรือส่งไปยังที่ใด หน่วงเหนี่ยวกักขัง
จัดให้ อยู่อาศัย หรือรับไว้
ซึ่งเด็ก
มาตรา 7 ผู้ใดกระทาการดังต่อไปนี้ต้องระวาง
โทษเช่นเดียวกับผู้กระทาความผิดฐานค้ ามนุษย์
(1) สนับสนุนการกระทาความผิดฐานค้ ามนุษย์
(2) อุปการะโดยให้ ทรัพย์สน
ิ จัดหาที่ประชุม
หรือที่พานักให้ แก่ผ้ ูกระทาความผิดฐานค้ า
มนุษย์
(3) ช่วยเหลือด้ วยประการใดเพื่อให้ ผ้ ูกระทา
ความผิดฐานค้ ามนุษย์พ้นจากการถูกจับกุม
(4) เรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพย์สน
ิ หรือ
ประโยชน์อ่นื ใดจากผู้กระทาความผิดฐานค้ า
มนุษย์เพื่อมิให้ ผ้ ูกระทาความผิดฐานค้ ามนุษย์
ถูกลงโทษ
(5) ชักชวน ชี้แนะ หรือติดต่อบุคคลให้ เข้ า
เป็ นสมาชิกขององค์กรอาชญากรรมเพื่อ
ประโยชน์ในการกระทาความผิดฐานค้ า
มนุษย์
มาตรา 8 ผู้ใดตระเตรียมเพื่อกระทา
ความผิดตามมาตรา 6 ต้ องระวางโทษ
หนึ่งในสามของโทษที่กาหนดไว้ สาหรับ
ความผิดนั้น
มาตรา 10 ถ้ าการกระทาความผิดตามมาตรา
6 ได้ กระทาโดยร่วมกันตั้งแต่สามคนขึ้นไป
หรือโดยสมาชิกขององค์กรอาชญากรรม ต้ อง
ระวางโทษหนักกว่าโทษที่กฎหมายบัญญัติไว้
กึ่งหนึ่ง
ในกรณีท่สี มาชิกขององค์กรอาชญากรรมได้ กระทา
ความผิดตามมาตรา 6 สมาชิกขององค์กร
อาชญากรรมทุกคนที่เป็ นสมาชิกอยู่ในขณะที่กระทา
ความผิด และรู้เห็นหรือยินยอมกับการกระทา
ความผิดดังกล่าว ต้ องระวางโทษตามที่บญ
ั ญัติไว้
สาหรับความผิดนั้นแม้ จะมิได้ เป็ นผู้กระทาความผิด
นั้นเอง
ถ้ าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งได้
กระทาเพื่อให้ ผ้ ูเสียหายที่ถูกพาเข้ ามาหรือ
ส่งออกไปนอกราชอาณาจักรตกอยู่ในอานาจ
ของผู้อ่นื โดยมิชอบด้ วยกฎหมาย ต้ องระวาง
โทษเป็ นสองเท่าของโทษที่กาหนดไว้ สาหรับ
ความผิดนั้น
มาตรา 11 ผู้ใดกระทาความผิดตามมาตรา 6
นอกราชอาณาจักร ผู้น้นั จะต้ องรับโทษใน
ราชอาณาจักรตามที่กาหนดไว้ ใน
พระราชบัญญัติน้ ี โดยให้ นามาตรา 10 แห่ง
ประมวลกฎหมายอาญามาใช้ บังคับโดย
อนุโลม
มาตรา 12 ผู้ใดกระทาความผิดตาม
พระราชบัญญัติน้ ี โดยแสดงตนเป็ นเจ้ า
พนักงานและกระทาการเป็ นเจ้ าพนักงาน
โดยตนเองมิได้ เป็ นเจ้ าพนักงานที่มีอานาจ
หน้ าที่กระทาการนั้น ต้ องระวางโทษเป็ นสอง
เท่าของโทษที่กาหนดไว้ สาหรับความผิดนั้น
 มาตรา 13 ผู้ใดเป็ นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิก
วุฒิสภา สมาชิกสภาท้ องถิ่น ผู้บริหารท้ องถิ่น ข้ าราชการ
พนักงานองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น พนักงานองค์การ
หรือหน่วยงานของรัฐ กรรมการหรือผู้บริหารหรือ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ เจ้ าพนักงาน หรือกรรมการองค์กร
ต่าง ๆ ตามรัฐธรรมนูญ กระทาความผิดตาม
พระราชบัญญัติน้ ี ต้ องระวางโทษเป็ นสองเท่าของโทษที่
กาหนดไว้ สาหรับความผิดนั้น
กรรมการ กรรมการ ปกค. อนุกรรมการ
สมาชิกของคณะทางาน และพนักงาน
เจ้ าหน้ าที่ตามพระราชบัญญัติน้ ี ผู้ใดกระทา
ความผิดใดตามพระราชบัญญัติน้ เี สียเอง
ต้ องระวางโทษเป็ นสามเท่าของโทษที่กาหนด
ไว้ สาหรับความผิดนั้น
มาตรา 14 ให้ ความผิดตาม
พระราชบัญญัติน้ ีเป็ นความผิดมูล
ฐานตามพระราชบัญญัติป้องกันและ
ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.
2542
การแสวงหาประโยชน์จากการค้าประเวณี
การผลิตหรือเผยแพร่ วตั ถุหรือสือ่ ลามก
การแสวงหาประโยชน์ทางเพศในรูปแบบอืน่
การนาคนมาขอทาน
การเอาคนลงเป็ นทาส
การบังคับใช้แรงงานหรือบริการ
การบังคับตัดอวัยวะเพือ่ การค้า
ปัญหาอุปสรรคในการดาเนินงาน
-ทีต่ ้ งั อยู่ส่วนกลางที
เ่ ดียว ไม่ดมีทฐานค้
ีต่ ้ งั ในภูมาิภมนุ
าค ษย์
ความผิ
-งบประมาณไม่พอ
-เครือ่ งมือเครือ่ งใช้ไม่เพียงพอ
-กาลังพลไม่เพียงพอ
แนวทางและแนวโน้ มในการดาเนินงาน
ความผิดฐานค้ามนุษย์
ด้านการป้องกัน
-นโยบายตารวจผูร้ บั ใช้ชมุ ชน
-ตรวจตราสถานประกอบการ และให้คาแนะนา ประชาสัมพันธ์
ด้านการปราบปราม
-จับกุมผูก้ ระทาผิดดาเนินคดีตามกฎหมาย
แนวทางและแนวโน้ มในการดาเนินงาน
ความผิดฐานค้ามนุษย์
ด้านการสืบสวนสอบสวน
-ดาเนินคดีตามกฎหมายกับผูก้ ระทาความผิดให้ถงึ ทีส่ ุด
-ขยายผลการสืบสวนสอบสวนเพือ่ ทีจ่ ะดาเนินคดีกบั ผูก้ ระทา
ความผิดทุกคนทีอ่ ยู่ในขบวนการค้ามนุษย์
-นา พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 มาใช้
ในการยึดและอายัดทรัพย์ของผูก้ ระทาความผิด
นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล
ความผิดฐานค้ามนุษย์
-กาชับเจ้าหน้าทีไ่ ม่ให้เข้าไปมีส่วนเกีย่ วข้องกับขบวนการลักลอบ
เข้าเมืองและการค้ามนุษย์ เช่น ชาวโรฮีนจา หากพบให้ดาเนินคดี
อย่างเด็ดขาด
-เร่งรัดทุกหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมในการดาเนินคดีคา้
มนุษย์ และคุม้ ครองผูเ้ สียหายอย่างมีประสิทธิภาพ
นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล
ความผิดฐานค้ามนุษย์
-แก้ไขปั ญหาแรงงานต่างด้าวและแรงงานในภาคประมง
มาตรการของรัฐบาล
ความผิดฐานค้ามนุษย์
-ปราบปรามการเข้าไปมีส่วนร่วมในการกระทาผิดของเจ้าหน้าทีร่ ฐั
-แต่งตั้งคณะทางานแบบทีมสหวิชาชีพในพื้ นที่ โดยมี ผวจ. เป็ น
หัวหน้าคณะ เพือ่ ตรวจสอบสถานประกอบการ สถานบริการ และ
การใช้แรงงานผิดกฎหมาย
-ปปช. และ ปปท. ออกระเบียบกาหนดระยะเวลาในการดาเนินคดี
กับ จนท.รัฐ ทีเ่ ข้าไปมีส่วนในการค้ามนุษย์
มาตรการของรัฐบาล
ความผิดฐานค้ามนุษย์
-มอบหมายรัฐมนตรี พม. ทาความเข้าใจกับสหรัฐ และเวทีระหว่าง
ประเทศ
-กาชับการปฏิบตั ิในการตรวจตราการหลบหนีเข้าเมือง
-กาชับการคัดแยกผูเ้ สียหายให้ได้ 100 เปอร์เซ็นต์
-กาชับหน่วยงานดาเนินคดีให้ขยายผลถึงผูร้ ่วมขบวนการ
มาตรการของรัฐบาล
ความผิดฐานค้ามนุษย์
-มอบหมายรัฐมนตรียตุ ิธรรม จัดให้มีการหารืออย่างใกล้ชิดระดับ
นโยบายในหน่วยงานยุติธรรมเพือ่ เร่งรัดการดาเนินคดีท้ งั ระบบ
-จัดให้มีล่ามทุกหน่วยงาน
-รณรงค์ให้ประชาชนทราบ และแจ้งเบาะแส
-เร่งรัดออกกฎหมาย เพิม่ อานาจทางปกครองแก่พนักงานตรวจ
แรงงาน เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการคุม้ ครองแรงงาน
มาตรการของรัฐบาล
ความผิดฐานค้ามนุษย์
-มอบหมาย สตช. อสส. พม. บันทึกข้อมูลลงในระบบคอมพิวเตอร์
ทีส่ ามารถเชื่อมโยงข้อมูลกันได้ ให้เป็ นปั จจุบนั
-พัฒนาความรูค้ วามเชี่ยวชาญของ จนท.เฉพาะทางการค้ามนุษย์
-รณรงค์และส่งเสริมความตระหนักรูเ้ กีย่ วกับการต่อต้านการค้า
มนุษย์กบั กลุ่มนายจ้าง
มาตรการของรัฐบาล
ความผิดฐานค้ามนุษย์
-กต. ทาความเข้าใจกับสหรัฐ และเวทีระหว่างประเทศอย่าง
ต่อเนือ่ ง
-ส่งเสริมให้มีการส่งแรงงานแบบรัฐต่อรัฐ
83
84
85
86
ข้ อเสนอแนะในการแก้ ไขปัญหาการค้ ามนุษย์
ด้ านแรงงาน
1.ยอมรับความจริงว่ามีงานอะไรบ้างทีค่ นไทยไม่ทาแล้ว
2.ให้โควตาแรงงงานต่างด้าวกับผูป้ ระกอบการตามทีต่ อ้ งการจริง
3.ขึ้ นทะเบียนแรงงานต่างด้าวทีท่ างานอยู่ในประเทศไทยทั้งหมด
4.ทาความตกลงกับประเทศเพือ่ นบ้านในการจัดหาแรงงานต่างด้าว
5.ดาเนินคดีกบั ผูฝ้ ่ าฝื นกฎหมายโดยเคร่งครัดและเด็ดขาด
ความผิดฐานค้ามนุษย์
 Call
กองบังคับการปราบปรามการคามนุ
ษย ์ (บก.ปคม.)
้
Anti Trafficking in Persons Division (ATPD)
STOP HUMAN TRAFFICKING NOW !!!
สวัสดี
11
91
ACenter
T PD
จบการบรรยาย