กฎหมายแพ่งว่าด้วยหนี้ - คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Download Report

Transcript กฎหมายแพ่งว่าด้วยหนี้ - คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

กฎหมายแพ่งว่าด้วยหนี้
(Law of Obligations)
ผูช
้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. พรรณรายรัตน์ ศรีไชยรัตน์
คณะนิตศ
ิ าสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงสร้าง ป.พ.พ. บรรพ 2
โครงสร้างคาบรรยายบทที่ 1
• ความหมายของคาว่า “หนี้”
• บ่อเกิดแห่งหนี้
• วัตถุแห่งหนี้
– ความหมาย
– หนี้เงิน
– หนี้ทรัพย์สน
ิ อืน
่
– หนี้มห
ี ลายอย่าง
“หนี้” คืออะไร
• ก. ยืมเงิน ข. 500 บาท ตกลงว่าจะคืนเงินทีย่ ม
ื
ภายในวันที่ 1 ม.ค. 50 แต่ยงั ไม่คน
ื
• ค. ยืมเงิน ง. 500 บาท ตกลงว่าจะคืนเงินทีย่ ม
ื
ภายในวันที่ 1 ม.ค. 54
• ก. จ้าง ข. ให้ทาความสะอาดบ้าน ตกลงค่าจ้างเดือน
ละ 1,500 บาท
• ก. ทาร้ายร่างกาย ข.
ความหมายของคาว่า “หนี้”
• หนี้คอ
ื ความผูกพันทางกฎหมายระหว่างบุคคลสอง
ฝ่ าย ฝ่ ายหนึ่งเรียกว่าเจ้าหนี้มส
ี ท
ิ ธิบงั คับให้อก
ี ฝ่ าย
หนึ่งทีเ่ รียกว่าลูกหนี้กระทาการ งดเว้นกระทาการ
หรือส่งมอบทรัพย์สน
ิ
มาตรา ๑๙๔ ด้วยอานาจแห่งมูลหนี้ เจ้าหนี้ ยอ
่ ม
มีสท
ิ ธิจะเรียกให้ลูกหนี้ชาระหนี้ได้ อนึง่ การชาระหนี้
ด้วยงดเว้นการอันใดอันหนึ่งก็ยอ
่ มมีได้
• ก. ยืมเงิน ข. 500 บาท ตกลงว่าจะคืนเงินทีย่ ม
ื
ภายในวันที่ 1 ม.ค. 50 แต่ยงั ไม่คน
ื
• ค. ยืมเงิน ง. 500 บาท ตกลงว่าจะคืนเงินทีย่ ม
ื
ภายในวันที่ 1 ม.ค. 54
• ก. จ้าง ข. ให้ทาความสะอาดบ้าน ตกลงค่าจ้างเดือน
ละ 1,500 บาท
• ก. ทาร้ายร่างกาย ข.
้ ได้อย่างไร)
บ่อเกิดแห่งหนี้ (หนี้เกิดขึน
้ ได้อย่างไร
หนี้เกิดขึน
• สัญญา
• นิตเิ หตุ
หมวด 1 วัตถุแห่งหนี้ (subject of
obligations)
ส่วนประกอบของหนี้
• เจ้าหนี้ (creditor)
• ลูกหนี้ (debtor)
• วัตถุแห่งหนี้ (subject of obligations)
• มาตรา 195
• มาตรา 213 วรรค 2 และ วรรค 3
• วัตถุแห่งหนี้คอ
ื การกระทา ซึง่ อาจเป็ นกระทาการ งด
เว้นกระทาการ หรือส่งมอบทรัพย์สน
ิ
หมวด 1 วัตถุแห่งหนี้
มาตรา 194 -202
• ทรัพย์ทเี่ ป็ นวัตถุแห่งการชาระหนี้คอ
ื เงิน (หนี้เงิน)
• ทรัพย์ทเี่ ป็ นวัตถุแห่งการชาระหนี้คอ
ื ทรัพย์สน
ิ อืน
่
(หนี้ทรัพย์สน
ิ อืน
่ )
• หนี้มห
ี ลายอย่าง
หนี้เงิน
• แสดงไว้เป็ นเงินต่างประเทศ
• กาหนดไว้เป็ นเงินทีย่ กเลิกแล้ว
หนี้เงินแสดงไว้เป็ นเงินต่างประเทศ
• ปัญหา 1: ใช้เป็ นเงินไทยได้หรือไม่
• ปัญหา 2: การคิดอัตราแลกเปลีย่ น
ปัญหา 1: ใช้เป็ นเงินไทยได้หรือไม่
• ก. ยืมเงิน ข. 500 USD
ก. (ลูกหนี้) ต้องการคืนเป็ นเงินไทย แต่ ข.
(เจ้าหนี้) ต้องการ USD
ข. (เจ้าหนี้) ต้องการให้คน
ื เป็ นเงินไทย แต่
ก.(ลูกหนี้) ต้องการคืนเป็ น USD
ปัญหา 1: ใช้เป็ นเงินไทยได้หรือไม่
• ดูมาตรา 196 วรรค 1
• มาตรา ๑๙๖ วรรค ๑ ถ้าหนี้เงินได้แสดงไว้เป็ นเงิน
ต่างประเทศ ท่านว่าจะส่งใช้เป็ นเงินไทยก็ได้
• คาพิพากษาฎีกาที่ 2512/2544 เป็ นสิทธิของลูกหนี้
ทีจ่ ะเลือกปฏิบตั ก
ิ ารชาระหนี้
ปัญหา 1 (ต่อ)
• ถ้าตกลงกันว่าต้องชาระเป็ นเงินต่างประเทศเท่านัน
้
ผล?
• คาพิพากษาฎีกาที่ 1693/2493 สัญญากันว่าจะ
ชาระหนี้เป็ นเงินเหรียญมลายู ต้องชาระเป็ นเงิน
เหรียญมลายู จะชาระเป็ นเงินไทยไม่ได้
ความเห็นนักวิชาการ
• ศ. ดร. จิด
๊ เศรษฐบุตร - ข้อตกลงเป็ นโมฆะ
• ศ. โสภณ รัตนากร และ ศ. ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เป็ นไปตามข้อตกลง
• BGB § 244 If a money debt expressed in
foreign currency is payable within the
country, payment may be made in the
currency of the country, unless payment in
the foreign currency is expressly
stipulated.
• มาตรา ๑๙๖ วรรค ๑ ถ้าหนี้เงินได้แสดงไว้เป็ นเงิน
ต่างประเทศ ท่านว่าจะส่งใช้เป็ นเงินไทยก็ได้
ปัญหา 2: การคิดอัตราแลกเปลีย่ น
มาตรา ๑๙๖ วรรค ๒ การเปลีย่ นเงินนี้ ให้คด
ิ ตาม
อัตราแลกเปลีย่ นเงิน ณ สถานทีแ
่ ละในเวลาทีใ่ ช้เงิน
อัตราซื้อ? อัตราขาย?
• คาพิพากษาฎีกาที่ 568/2548 โจทก์มค
ี าขอบังคับ
ให้จาเลยชาระหนี้เป็ นเงินต่างประเทศ ซึง่ หากจาเลย
จะชาระหนี้เป็ นเงินไทยก็ได้ แต่การเปลีย่ นเงินต้อง
ใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ สถานทีแ
่ ละเวลาใช้เงินตาม
ป.พ.พ. มาตรา 196 วรรคสอง ทีศ
่ าลทรัพย์สน
ิ ทาง
ปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลางพิพากษา
กาหนดให้ใช้อตั ราแลกเปลีย่ นในวันฟ้ องเท่ากับการ
พิพากษานอกเหนือหรือเกินไปกว่าคาฟ้ องจึงไม่ชอบ
และเป็ นปัญหาเกีย่ วกับความสงบเรียบร้อยของ
ประชาชน
ปัญหา 2 (ต่อ)
• ตกลงกันเป็ นอย่างอืน
่
ผล?
• คาพิพากษาฎีกาที่ 6550/2547 โจทก์และจาเลยได้
ตกลงกันไว้วา่ อัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ
เป็ นเงินไทยจะใช้อตั ราแลกเปลีย่ นตามอัตรา
แลกเปลีย่ นทีโ่ จทก์ตอ
้ งชาระค่าสินค้าแทนจาเลย
หรือตามอัตราทีต
่ กลงกันไว้ หรือในอัตรา
แลกเปลีย่ นของธนาคาร ณ วันครบกาหนดชาระเงิน
โดยจาเลยยินยอมให้โจทก์เป็ นผูเ้ ลือกทีจ่ ะใช้อตั ราใด
แล้วแต่จะเห็นสมควร ข้อตกลงเช่นนี้ไม่ขดั ต่อ
กฎหมายหรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรม
อันดีของประชาชน ย่อมใช้บงั คับกันได้โดยชอบ
หนี้เงินกาหนดไว้เป็ นเงินทีย่ กเลิกแล้ว
ปัญหา: แล้วจะชาระหนี้กน
ั อย่างไร
• มาตรา ๑๙๗ ถ้าหนี้เงินจะพึงส่งใช้ดว้ ยเงินตราชนิด
หนึ่งชนิดใดโดยเฉพาะ อันเป็ นชนิดทีย่ กเลิกไม่ใช้
กันแล้วในเวลาทีจ่ ะต้องส่งเงินใช้หนี้นน
้ ั ไซร้ การส่ง
ใช้เงินท่านให้ถือเสมือนหนึ่งว่ามิได้ระบุไว้ให้ใช้เป็ น
เงินตราชนิดนัน
้
• คาพิพากษาฎีกาที่ 568/2548 หนี้เงินต่างประเทศ
สกุลฟรังก์ฝรั่งเศสทีโ่ จทก์ขอให้บงั คับจาเลยชาระแก่
โจทก์ตามคาฟ้ องเป็ นเงินตราของประเทศ
สาธารณรัฐฝรั่งเศส ซึง่ อยูใ่ นทวีปยุโรปทีม
่ ก
ี ารจัดตัง้
สหภาพยุโรป หากในเวลาใช้เงินจริงนัน
้ เงินฟรังก์
ฝรั่งเศสเป็ นเงินตราชนิดทีย่ กเลิกไม่ใช้กน
ั แล้ว ให้
จาเลยชาระหนี้ดว้ ยเงินสกุลทีใ่ ช้แทนเงินฟรังก์
ฝรั่งเศส ทัง้ นี้ ให้ใช้อตั ราแลกเปลีย่ นเงิน ณ วัน
สุดท้ายทีม
่ อ
ี ตั ราแลกเปลีย่ นเงินฟรังก์ฝรั่งเศสเป็ นเงิน
สกุลทีใ่ ช้แทนทีส
่ ามารถแลกเปลีย่ นได้ในขณะหรือ
ก่อนเวลาใช้เงินจริง
หนี้ทรัพย์สน
ิ อืน
่
1. กาหนดไว้แต่เพียงประเภท
2. กาหนดไว้แล้วทัง้ ประเภทและชนิด แต่ลูกหนี้ยงั
ต้องกระทาการอย่างหนึ่งอย่างใดเพือ
่ ส่งมอบทรัพย์
หรือยังต้องเลือกกาหนดทรัพย์
กรณี 1. กาหนดไว้แต่เพียงประเภท
ปัญหา: ลูกหนี้ตอ
้ งส่งมอบทรัพย์ชนิดใด
• มาตรา ๑๙๕ วรรค ๑ เมือ
่ ทรัพย์ซงึ่ เป็ นวัตถุแห่งหนี้
นัน
้ ได้ระบุไว้แต่เพียงเป็ นประเภท และถ้าตามสภาพ
แห่งนิตก
ิ รรม หรือตามเจตนาของคูก
่ รณีไม่อาจจะ
กาหนดได้วา่ ทรัพย์นน
้ ั จะพึงเป็ นชนิดอย่างไรไซร้
ท่านว่าลูกหนี้จะต้องส่งมอบทรัพย์ชนิดปานกลาง
กรณี 2. กาหนดไว้แล้วทัง้ ประเภทและ
ชนิด แต่ลูกหนี้ยงั ต้องกระทาการอย่างหนึ่ง
อย่างใดเพือ
่ ส่งมอบทรัพย์ หรือยังต้องเลือก
กาหนดทรัพย์
ปัญหา: ยังไม่ทราบว่าทรัพย์ชน
ิ้ ไหน
เป็ นวัตถุทจี่ ะใช้ในการชาระหนี้
• มาตรา ๑๙๕ วรรค ๒ ถ้าลูกหนี้ได้กระทาการอันตน
จะพึงต้องทาเพือ
่ ส่งมอบทรัพย์สงิ่ นัน
้ ทุกประการแล้ว
ก็ดี หรือถ้าลูกหนี้ได้เลือกกาหนดทรัพย์ทจี่ ะส่งมอบ
แล้วด้วยความยินยอมของเจ้าหนี้ก็ดี ท่านว่าทรัพย์
นัน
้ จึงเป็ นวัตถุแห่งหนี้จาเดิมแต่เวลานัน
้ ไป
สาคัญอย่างไร
มาตรา ๓๗๐ ถ้าสัญญาต่างตอบแทนมีวตั ถุที่
ประสงค์เป็ นการก่อให้เกิดหรือโอนทรัพยสิทธิใน
ทรัพย์เฉพาะสิง่ และทรัพย์นน
้ ั สูญหรือเสียหายไป
ด้วยเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งอันจะโทษลูกหนี้มไิ ด้ไซร้
ท่านว่าการสูญหรือเสียหายนัน
้ ตกเป็ นพับแก่เจ้าหนี้
ถ้าไม่ใช่ทรัพย์เฉพาะสิง่ ท่านให้ใช้บทบัญญัตท
ิ ี่
กล่าวมาในวรรคก่อนนี้บงั คับแต่เวลาทีท
่ รัพย์นน
้ั
กลายเป็ นทรัพย์เฉพาะสิง่ ตามบทบัญญัตแ
ิ ห่งมาตรา
๑๙๕ วรรค ๒ นัน
้ ไป
• มาตรา ๔๖๐ วรรค ๑ ในการซื้อขายทรัพย์สน
ิ ซึง่
มิได้กาหนดลงไว้แน่ นอนนัน
้ ท่านว่ากรรมสิทธิย์ งั ไม่
โอนไปจนกว่าจะได้หมาย หรือนับ ชั่ง ตวง วัด หรือ
คัดเลือก หรือทาโดยวิธอ
ี น
ื่ เพือ
่ ให้บง่ ตัวทรัพย์สน
ิ นัน
้
ออกเป็ นแน่ นอนแล้ว
หนี้มห
ี ลายอย่าง
แต่ตอ
้ งทาเพียงอย่างเดียว
• ก. ทาสัญญาซื้อลูกสุนข
ั หรือลูกแมวจาก ข. 1 ตัว ใน
ราคา 500 บาท
• คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2442/2520 บรรยายฟ้ องว่า
จาเลยผิดสัญญาไม่สง่ มอบกระดาษจานวนหนึ่งให้แก่
โจทก์เป็ นเหตุให้โจทก์ได้รบั ความเสียหาย แต่คาขอ
ท้ายฟ้ องมิได้ขอให้จาเลยส่งมอบกระดาษและชดใช้
ค่าเสียหาย โจทก์คงขอให้จาเลยส่งมอบกระดาษหรือ
ชดใช้คา่ เสียหาย และศาลพิพากษาให้ตามคาขอแล้ว
หนี้ตามคาพิพากษาทีจ่ าเลยจะต้องชาระให้แก่โจทก์
จึงมี 2 อย่าง คือส่งมอบกระดาษหรือชดใช้
ค่าเสียหาย ซึง่ จาเลยจะต้องกระทาเพียงอย่างเดียว
สิทธิทจี่ ะเลือกชาระหนี้ดงั กล่าวย่อมตกแก่จาเลย ซึง่
เป็ นลูกหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา 198 หาใช่โจทก์ไม่
• คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 752/2542 ศาลพิพากษาให้
จาเลยร่วมกันคืนรถยนต์ทเี่ ช่าซื้อในสภาพใช้การได้
ดีแก่โจทก์ หากคืนไม่ได้ให้ใช้ราคาแทน 145,000
บาท พร้อมดอกเบีย้ เป็ นการกาหนดให้จาเลยกระทา
การชาระหนี้ทลี ะอย่างก่อนหลังตามลาดับ ไม่ใช่การ
อันมีกาหนดพึงกระทาเพือ
่ ชาระหนี้มห
ี ลายอย่างอัน
จาเลยจะพึงเลือกได้ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ มาตรา 198
•
•
•
•
•
ผูม
้ ส
ี ท
ิ ธิเลือก
วิธเี ลือก
กาหนดเวลาในการเลือก
ผลของการเลือก
หนี้อย่างหนึ่งตกเป็ นพ้นวิสยั
ผูม
้ ส
ี ท
ิ ธิเลือก
มาตรา ๑๙๘ ถ้าการอันมีกาหนดพึงกระทาเพือ
่
ชาระหนี้นน
้ ั มีหลายอย่าง แต่จะต้องกระทาเพียงการ
ใดการหนึ่งแต่อย่างเดียวไซร้ ท่านว่าสิทธิทจี่ ะเลือก
ทาการอย่างใดนัน
้ ตกอยูแ
่ ก่ฝ่ายลูกหนี้ เว้นแต่จะได้
ตกลงกันกาหนดไว้เป็ นอย่างอืน
่
ลูกหนี้หมายถึงฝ่ ายไหน
ผูม
้ ส
ี ท
ิ ธิเลือก (ต่อ)
• มาตรา ๒๐๑ วรรค ๒ ถ้าบุคคลภายนอกนัน
้ ไม่
อาจจะเลือกได้ก็ดี หรือไม่เต็มใจจะเลือกก็ดี ท่านว่า
สิทธิทจี่ ะเลือกตกไปอยูแ
่ ก่ฝ่ายลูกหนี้
วิธีเลือก
มาตรา ๑๙๙ วรรค ๑ การเลือกนัน
้ ท่านให้ทา
ด้วยแสดงเจตนาแก่คก
ู่ รณีอก
ี ฝ่ ายหนึ่ง
...
มาตรา ๒๐๑ วรรค ๑ ถ้าบุคคลภายนอกจะพึง
เป็ นผูเ้ ลือก ท่านให้กระทาด้วยแสดงเจตนาแก่ลูกหนี้
และลูกหนี้จะต้องแจ้งความนัน
้ แก่เจ้าหนี้
ผลของการเลือก
มาตรา ๑๙๙ วรรค ๒
การชาระหนี้ได้เลือกทาเป็ นอย่างใดแล้ว ท่านให้
ถือว่าอย่างนัน
้ อย่างเดียว เป็ นการชาระหนี้อน
ั
กาหนดให้กระทาแต่ตน
้ มา
กาหนดเวลาในการเลือก
มาตรา ๒๐๐ ถ้าจะต้องเลือกภายในระยะเวลา
อันมีกาหนด และฝ่ ายทีม
่ ส
ี ท
ิ ธิจะเลือกมิได้เลือก
ภายในระยะเวลานัน
้ ไซร้ ท่านว่าสิทธิทจี่ ะเลือกนัน
้
ย่อมตกไปอยูแ
่ ก่อก
ี ฝ่ ายหนึ่ง
ถ้ามิได้กาหนดระยะเวลาให้เลือกไซร้ เมือ
่ หนี้ถงึ
กาหนดชาระฝ่ ายทีไ่ ม่มส
ี ท
ิ ธิจะเลือกอาจกาหนดเวลา
พอสมควรแก่เหตุ แล้วบอกกล่าวให้ฝ่ายโน้นใช้สท
ิ ธิ
เลือกภายในเวลาอันนัน
้
หนี้อย่างหนึ่งตกเป็ นพ้นวิสยั
มาตรา ๒๐๒ ถ้าการอันจะพึงต้องทาเพือ
่ ชาระ
หนี้นน
้ ั มีหลายอย่าง และอย่างใดอย่างหนึ่งตกเป็ นอัน
พ้นวิสยั จะทาได้มาแต่ตน
้ ก็ดี หรือกลายเป็ นพ้นวิสยั
ในภายหลังก็ดี ท่านให้จากัดหนี้นน
้ ั ไว้เพียงการชาระ
หนี้อย่างอืน
่ ทีไ่ ม่พน
้ วิสยั อนึ่งการจากัดอันนี้ยอ
่ มไม่
เกิดมีขน
ึ้ หากว่าการชาระหนี้กลายเป็ นพ้นวิสยั
เพราะพฤติการณ์ อน
ั ใดอันหนึ่งซึง่ ฝ่ ายทีไ่ ม่มส
ี ท
ิ ธิจะ
เลือกนัน
้ ต้องรับผิดชอบ
• มาตรา 150 การใดมีวตั ถุประสงค์เป็ นการต้องห้าม
ชัดแจ้งโดยกฎหมาย เป็ นการพ้นวิสยั หรือเป็ นการ
ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของ
ประชาชน การนัน
้ เป็ นโมฆะ
ปัญหาที่ 1: ใช้มาตรา 202 เมือ่ ไหร่
หลักเกณฑ์มาตรา 202
1. เมือ
่ การอันจะพึงต้องทาเพือ
่ ชาระหนี้นน
้ ั มีหลาย
อย่าง และ
2. อย่างใดอย่างหนึ่งตกเป็ นอันพ้นวิสยั จะทาได้มาแต่
ต้น หรือกลายเป็ นพ้นวิสยั ในภายหลัง
ผล
• “ให้จากัดหนี้นน
้ ั ไว้เพียงการชาระหนี้อย่างอืน
่ ทีไ่ ม่
พ้นวิสยั ”
ปัญหา 2: “กลายเป็ นพ้นวิสยั ใน
ภายหลัง” หมายความว่าอย่างไร
• “กลายเป็ นพ้นวิสยั ในภายหลัง” หมายถึง กลายเป็ น
พ้นวิสยั หลังทาสัญญา แต่ตอ
้ งก่อนฝ่ ายทีม
่ ส
ี ท
ิ ธิเลือก
ได้แสดงเจตนาเลือก
ทาไม
• ถ้าเลือกแล้ว  มาตรา 199 วรรค 2
้ึ
ข้อยกเว้น: “การจากัดอันนี้ยอ
่ มไม่เกิดมีขน
หากว่าการชาระหนี้กลายเป็ นพ้นวิสยั เพราะ
พฤติการณ์ อน
ั ใดอันหนึ่งซึง่ ฝ่ ายทีไ่ ม่มส
ี ท
ิ ธิ
จะเลือกนัน
้ ต้องรับผิดชอบ”
• = ฝ่ ายทีม
่ ส
ี ท
ิ ธิเลือก อาจเลือกชาระหนี้ หรือเรียกให้
ลูกหนี้ชาระหนี้ดว้ ยหนี้ทต
ี่ กเป็ นพ้นวิสยั
ก. ทาสัญญาซื้อลูกสุนขั หรือลูกแมวจาก ข. 1 ตัว
• กรณีที่ ๑ ข. เป็ นผูม
้ ส
ี ท
ิ ธิเลือก
ข. ทาลูกสุนข
ั ตาย
ผล?
ก. ทาลูกสุนข
ั ตาย
ผล?
ค. หรือคนอืน
่ ทาลูกสุนข
ั ตาย ผล?
• กรณีที่ ๒ ก. เป็ นผูม
้ ส
ี ท
ิ ธิเลือก
ข. ทาลูกสุนข
ั ตาย
ผล?
ก. ทาลูกสุนข
ั ตาย
ผล?
ค. หรือคนอืน
่ ทาลูกสุนข
ั ตาย ผล?
• กรณีที่ ๓ ค. เป็ นผูม
้ ส
ี ท
ิ ธิเลือก
ข. ทาลูกสุนข
ั ตาย
ผล?
ก. ทาลูกสุนข
ั ตาย
ผล?
ค. หรือคนอืน
่ ทาลูกสุนข
ั ตาย ผล?