ประชาคมอุดมศึกษาไทยกับอาเซียน

Download Report

Transcript ประชาคมอุดมศึกษาไทยกับอาเซียน

ประชาคมอุดมศึกษาไทยกับ
อาเซียน
ศาสตราจารย์กิตติคณ
ุ ดร. คุณหญิง
สุชาดา กีระนันทน์
นายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประชาคมอาเซียน

(ASEAN
Community)
ผลกระทบที่มีต่อคนไทย และ
บัณฑิตไทย
ผลกระทบที่ มีต่ออุดมศึกษาไทย

อาเซียน(ASEAN-Association of

South East Asian Nations)
เริ่มตัง้ แต่ปี พ.ศ.2510 ปัจจุบนั มีสมาชิก
10 ประเทศคือ ไทย ฟิลิปปินส์ มาเลย์

ปี 2546 ในการประชุมสุดยอด
อาเซียนครัง้ ที่ 9 อาเซียนตกลงที่จะ
จัดตัง้ ประชาคมอาเซียน ภายในปี
พ.ศ. 2563 (ค.ศ.2020) และต่อมาให้

ประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย 3
เสาหลักคือ
ASEAN Political - Security
Community (APSC)-ประชาคม
การเมืองความมันคงอาเซี
่
ยน
ASEAN Economic Community
เป้ าหมาย

สร้างอาเซียนให้มีค่านิยมร่วมกัน อยู่
ร่วมกันได้อย่างสันติ
ให้อาเซี ยนสามารถเผชิญกับภัย
คุกคามด้านความมันคงรู
่
ปแบบใหม่

เป้ าหมาย สร้างความเจริญมังคั
่ งและให้
่
สามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นได้


อาเซียนเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน
(Single market and production base)
สร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ
ส่งเสริมความร่วมมือในนโยบายการเงิน ตลาดเงิน
ตลาดทุน เศรษฐกิจมหภาค พัฒนาโครงสร้าง
พืน้ ฐาน ความร่วมมือด้านกฎหมาย เกษตร

การเปิดเสรีใน 5 ด้านในปี

2558
เปิดเสรีด้านสินค้า ไม่มีกาแพงภาษี
เปิดเสรีด้านบริการ
เปิดเสรีด้านแรงงานที่ มีทก
ั ษะและความ
เชี่ยวชาญ: วิชาชีพ 8 สาขา
เปิดเสรีทางการลงทุน
เปิดให้ มีความคล่องตัวทางการเงินเพิ่มขึน
้

Mutual Recognition
Arrangements: MRAs
ิ
ิ
ข้วิชอาชี
ตกลงคุ
ณ
สมบั
ต
ว
ช
าชี
พ
ร่
ว
มกั
น
พที่เปิดเสรีปี วิชาชีพที่เปิดเสรีปี
2558
วิศวกรรม
2. พยาบาล
3. สถาปัตยกรร
ม
4. การสารวจ
1.
2558
แพทย์
2. ทันตแพทย์
3. บัญชี
4. การท่องเที่ ยว
1.
เป้ าหมาย ให้เป็ นสังคมที่เอื้ออาทร
และมันคง
่

ประชากรอาเซียนมีความเป็ นอยู่ที่ดี
และยกระดับคุณภาพชีวิตของ
ประชาชน
ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ

ผลกระทบด้านการเมืองความมันคง
่
ผลกระทบด้านสังคมและวัฒนธรรม
ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ

“คน”
ผลกระทบที่เกิดกับ
เป้ าหมาย: ค่านิยมร่วม อยู่กนั อย่าง
สันติ มีความมันคงในภู
่
มิภาค
ความสัมพันธ์อาเซียนกับโลกดีและ
สร้างสรรค์
คาดว่าจะเป็ นไปแบบ “The
เป้ าหมาย: สังคมที่เอื้ออาทร ยกระดับ
คุณภาพชีวิตความเป็ นอยู่ อัตลักษณ์
ทางวัฒนธรรมของอาเซียน
ONE IDENTITY แบบอาเซี ยน
เป้ าหมาย: Free flow of skilled human
resource, goods & services,
materials, technology, freer fund
flow,...
ผลกระทบที่จะเห็นชัดที่สดุ ใน 3 เสาหลัก
คนต้องเตรียมพร้อมกับการเปิดเสรีทง
ั้ 5
ด้าน


ต้องแข่งขันกับบัณฑิตในภูมิภาคและ
จากทัวโลก
่
 ต้องปรับคุณสมบัติและทักษะให้
เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของ
ภูมิภาคและของโลก
 ต้องปรับทัศนคติ
มีความรู้ขนั ้ ลึกในสาขาวิชา สามารถ
สร้างความรู้ใหม่ และพัฒนานวัตกรรมได้
รู้รอบในศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง รวมทัง้
ความรู้ทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม
กฎหมาย ของประเทศอาเซียนอื่นและ
ของตน ฯลฯ
สามารถปรับเปลี่ยนเข้าสู่งานใหม่หรือ

มีทกั ษะพืน้ ฐานที่จาเป็ นต่อการสร้าง
ความรู้ใหม่ และการปรับตัวในด้านต่างๆ
เช่น พืน้ ฐานที่ดีทางคณิตศาสตร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ การสื่อสาร การ
เรียนรู้ด้วยตนเอง ฯลฯ
มีทก
ั ษะด้านการบริหารจัดการ เป็ นผูน้ า

มีทกั ษะด้านภาษา และการสื่อสาร
สามารถทางานในองค์กรนานาชาติ
สามารถดารงตนได้ดีในสังคมต่าง
วัฒนธรรม
มีความเป็ นไทย สามารถรักษาอัต
ลักษณ์แต่เข้าใจสังคมอื่นโดยเฉพาะ

อุดมศึกษาไทยต้องปรับตัว เพื่อทาหน้ าที่
พัฒนาคนและสังคม และสร้างบัณฑิตที่
พร้อมรับประชาคมอาเซียน
อุดมศึกษา ไม่สามารถสร้างและให้
ความรู้ได้ ถ้าอุดมศึกษาเองยังไม่มี
ความรู้นัน้
อุดมศึกษาไม่สามารถพัฒนาคนและ
สร้างองค์ความรู้ใหม่ และความสามารถ

ในการสร้างนวัตกรรม
เป็ นแหล่งความรู้เกี่ยวกับอาเซี ยน
เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
อาเซียน
เสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ภาคธุรกิจ
รู้ยทุ ธศาสตร์ของประเทศต่างๆ ใน

อาเซียนหรือไม่ เพียงไร?
รู้ “ประเทศอาเซี ยนอื่น” ดีแค่ไหน? รู้
ภาษา วัฒนธรรม วิธีคิด จุดอ่อน จุดแข็ง
วิธีทางาน ฯลฯ ของคนอาเซียนแค่ไหน?
รู้สภาพเศรษฐกิจ ทรัพยากร ???
รู้ประวัติศาสตร์และสามารถนามาใช้

อย่างสร้างสรรค์ได้เพียงไร
เรายึดติดกับประวัติศาสตร์ที่ขมขื่น
ระหว่างประเทศในอาเซียนและจะมอง
อนาคตอย่างไร
เราข้ามเส้นแบ่งดินแดนได้หรือไม่ทง
ั ้ เชิง
อุดมศึกษาไทยสามารถทาหน้ าที่ให้คน
ไทยมีความรู้เกี่ยวกับอาเซียนอย่างที่พึง
เป็ นได้อย่างไร??
อุดมศึกษาไทยจะช่วยปรับทัศนคติคน
ไทยให้เป็ นสมาชิกของอาเซียนที่อยู่ได้
อย่างมีความสุขความเจริญและมีคณ
ุ ค่า

สร้างบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถ
เชิงวิชาการ มีความรู้เกี่ยวกับอาเซียน
เป็ นอย่างดี
สามารถดารงชี วิตในสังคมยุคใหม่
ปรับตัวได้ตามการเปลี่ยนแปลงของโลก
ทัง้ ด้านวิชาการและทักษะการดารงชีวิต
มีทก
ั ษะทางภาษา การจัดการ และอื่นๆ

สร้างความเข้มแข็งและความสามารถใน
การแข่งขันแก่ภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม
เกษตรกรรม การท่องเที่ยว ฯลฯ ด้วย
การ

เสริมสร้างความรู้ให้องค์กรเกี่ยวกับ
อาเซียน

ทรัพยากรของอุดมศึกษา:

บุคลากร คือ อาจารย์ เจ้าหน้ าที่
นิสิตนักศึกษา
องค์ความรู้ งานวิจย
ั
เทคโนโลยีที่ทน
ั สมัย
เครือข่าย

บุคลากรต้องมีความรู้ รู้ “เขา” รู้

“เรา”
สื่อสารความรู้ให้สงั คม
สร้างความรู้ใหม่ เป็ นที่ พึ่งทางความรู้
แก่สงั คม

รู้และยอมรับว่า เป็ นหน้ าที่ของเรา
ตระหนักว่า เราคือ “หลัก” สาคัญที่
ต้องรับผิดชอบสังคม
มี “ใจ” ที่ จะทาให้เกิดขึน
้ อย่างมี
คุณภาพ
