Competency Based - กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

Download Report

Transcript Competency Based - กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

Competency Based
โดย
นายสุ รพล พลอยสุ ข
ผู้อานวยการกลุ่มกฎหมาย
Competency Based
Competence
ผลสั มฤทธิ์ในเรื่องของความรู้ ความสามารถ
ทักษะ และ ทัศนคติ ทีจ่ าเป็ นสาหรับพนักงาน
ในการปฏิบัติงานย่ อยทีก่ าหนด
Competency
ความสามารถซึ่งใครก็ตามที่จะทางานในอาชี พใดอาชี พ
หนึ่งหรือตาแหน่ งงานใดตาแหน่ งงานหนึ่ง จาเป็ นต้ องมี
หน่ วยของการทางานที่มีความหมาย และ เป็ นเอกเทศ
เฉพาะตัว โดยสามารถสั งเกตเห็นได้
เป็ นกิจกรรมที่กระทาภายในขอบเขตเวลาที่จากัด และ
เป็ นกิจกรรมทีน่ าไปสู่ ผลผลิต การบริการ หรือ การ
ตัดสิ นใจ
Competency Profile
แผนภูมิซึ่งแสดงถึง
หน้ าที่ ( Duty ) และ งานย่ อย
( Task ) ที่จาเป็ นสาหรับพนักงานในอาชีพ หรือ ใน
ตาแหน่ งงาน ที่กาหนด
เป็ นเครื่องมือตรวจสอบและบันทึกความสามารถของ
พนักงานในการปฏิบัติงาน
เป็ นเครื่องมือในการประเมินความต้ องการด้ านการ
พัฒนาของพนักงาน
Criterion - Referenced Measure
เกณฑ์ มาตรฐานที่ต้ งั ขึน
้ เป็ นการล่ วงหน้ า
ใช้ ในการวัดและประเมินผลพนักงานในเรื่องของความรู้
ความสามารถ ทักษะ และ ทัศนคติ
ยึดตามเกณฑ์ มาตรฐานทางอาชี พที่แท้ จริง
ไม่ มีการนาไปเปรียบเทียบกับพนักงานคน อืน
่ ๆ
Job
ตาแหน่ งงานที่ได้ มีการกาหนดหน้ าที่ ( Duty )
และ
งานย่ อย ( Task ) ที่จาเป็ นต้ องปฏิบัติเอาไว้
หน้ าที่ และ งานย่ อย เหล่ านั้น เป็ นสิ่ งทีพ
่ นักงานคน
อืน่ ๆ ในตาแหน่ งงานเดียวกัน จะต้ องปฏิบัติเหมือนกัน
Duty
กลุ่มงานย่ อย หลาย ๆ หน่ วย
ทีจ่ ัดอยู่ในประเภท
เดียวกัน หรือ มีขอบข่ ายความสามารถในการทางาน
ประเภทเดียวกัน
ส่ วนใหญ่ จะเป็ นชื่ อเรียกกลุ่มงานย่ อยดังกล่าว โดยไม่
แสดงให้ เห็นการปฏิบัติที่ชัดเจน
Task
หน่ วยกิจกรรมการทางานซึ่งแยกออกเป็ นส่ วนเฉพาะ
ที่สามารถสั งเกตเห็นได้
เป็ นกิจกรรมการทางานซึ่งเกิดขึน
้ ภายในระยะเวลาที่
กาหนด
ทาให้ เกิดผลผลิต การบริการ หรือ การตัดสิ นใจ
Job Analysis
เป็ นกระบวนการวิเคราะห์ อาชี พ หรือ ตาแหน่ งงาน เพือ่
กาหนดงานย่ อยที่พนักงานในอาชีพ หรือ ตาแหน่ งงาน
นั้น ๆ จาเป็ นต้ องสามารถปฏิบัติได้
มีวธิ ีการวิเคราะห์ ได้ หลายวิธี เช่ น การสั มภาษณ์ การใช้
แบบสอบถาม การสั งเกต และ การบันทึกการปฏิบัติงาน
สามารถใช้ กระบวนการ DACUM ในการวิเคราะห์ งาน
Task Analysis
เป็ นกระบวนการวิเคราะห์ งานย่ อย ซึ่งถูกกาหนดโดย
กระบวนการวิเคราะห์ อาชีพ
เพือ่ กาหนดว่ าพนักงานจาเป็ นที่จะต้ องมีความรู้ ความ
สามารถ ทักษะ และ ทัศนคติ อย่ างไรบ้ าง ในอันที่จะ
ปฏิบัตงิ านย่ อยนั้นได้ อย่ างถูกต้ องและ มีประสิ ทธิภาพ
องค์ ประกอบที่จาเป็ น
ในการประเมิน Competency Based
งานย่ อยทีจ่ าเป็ นต้ องสามารถทาได้ น้ ัน
จะถูกกาหนด
รับรองความถูกต้ อง และ เผยแพร่ ให้ พนักงานทัว่ ไปได้
รู้จักล่ วงหน้ า
เกณฑ์ ที่จะต้ องใช้ และเงื่อนไขในการประเมิน จะต้ อง
ถูกระบุออกมาให้ ชัดเจนและบอกให้ พนักงานรู้ล่วงหน้ า
การฝึ กอบรมจะต้ องตอบสนองการพัฒนารายบุคคล
ลักษณะงาน
ความรับผิดชอบ
หน้ าที่
การวางแผนบุคลากร
การสรรหา
การคัดเลือก
รายละเอียดอาชีพ
การฝึ กอบรมพัฒนา
การวิเคราะห์
อาชีพ
การประเมินผลงาน
การบริหารค่ าตอบแทน
คุณสมบัตเิ ฉพาะ
การบริหารความปลอดภัย
ความรู้
ความสามารถ
ทักษะ
การแรงงานสั มพันธ์
การวิจัย
Overall Framework For HRM.
Competitive
Challenges
Globalization
Technology
Managing Change
Intellectual Capital
Market Response
Cost Containment
Employee
Concern
HRM.
Diversity
Planning
Age Distribution
Staffing
Gender Issues
Job Design
Education Levels
Training
Employee Rights
Appraisal
Compensation
Privacy Issues
Unions
Attitudes toward Work
Work and Family
แบบการวิเคราะห์ งาน
แบบวิเคราะห์ งาน
ตาแหน่ ง / อาชีพ ………. ผู้วเิ คราะห์ ………… วันที่วิเคราะห์ ………….
หน้ าที่ ( Duty )
งานย่อย ( Task ) งานย่อย ( Task ) งานย่อย ( Task )
งานย่อย ( Task ) งานย่อย ( Task ) งานย่อย ( Task )
งานย่อย ( Task ) งานย่อย ( Task ) งานย่อย ( Task )
หน้ าที่ ( Duty )
งานย่อย ( Task ) งานย่อย ( Task ) งานย่อย ( Task )
งานย่อย ( Task ) งานย่อย ( Task ) งานย่อย ( Task )
ภารกิจของงานย่ อย
มีจุดเริ่มต้ นและสิ้นสุ ดทีแ่ น่ นอน
สามารถดาเนินการเสร็จได้ ในระยะเวลาสั้ น
สามารถดาเนินการได้ อย่ างมีอส
ิ ระจากงานอืน่
ประกอบด้ วยขั้นตอนการปฏิบัติงาน อย่ างน้ อย 2
ขั้นตอน
สามารถสั งเกตเห็น หรือ วัดได้
ส่ งผลในรู ปของผลผลิต การบริการ หรือ แม้ แต่ การตัดสิ นใจ
ลักษณะของงานย่ อย
สะท้ อนให้ เห็นความหมายในตัวของงาน
บรรจุกริยาการกระทา และ ผลทีไ่ ด้ จากการกระทา
อาจบรรจุคาบางคาทีก่ ล่ าวถึงคุณสมบัตท
ิ เี่ กีย่ วข้ อง แต่ ให้ ละเว้ น
คาจาพวกประสิ ทธิภาพ หรือ ประสิ ทธิผล ซึ่งวัดไม่ ได้
เด่ นชัด ถูกต้ อง และ อยู่ได้ ด้วยตัวเอง
ประสงค์ ทจี่ ะหลีกเลีย่ งข้ ออ้ างอิงทางความรู้ และทัศนคติ
หลีกเลีย่ งข้ ออ้ างเพือ่ จะใช้ เครื่องมือและอุปกรณ์ ซึ่งทาหน้ าที่
เพียงแค่ สนับสนุนการทางาน
การวิเคราะห์ งานย่ อย ( Tasks Analysis )
อธิบายขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ระบุเครื่องมือวัสดุอุปกรณ์ ทจี่ าเป็ นต้ องใช้ ในการ
ปฏิบัตงิ าน
ระบุความรู้ ทจี่ าเป็ นต้ องใช้ ในการปฏิบัตงิ าน
ระบุคุณลักษณะส่ วนบุคคลของผู้ปฏิบัตงิ าน
ระบุมาตรฐานการปฏิบัตงิ าน
ระบุเกีย่ วกับความปลอดภัยหรือข้ อควรระวัง
แบบวิเคราะห์ งานย่ อย ( Task Analysis )
แบบวิเคราะห์ งานย่อย
ชื่องานย่อย ………………………...
ขั้นตอน
เครื่องมือ ความรู้
การปฏิบัตงิ าน วัสดุอุปกรณ์
คุณลักษณะ มาตรฐาน ความปลอดภัย
ส่ วนบุคคล การปฏิบัตงิ าน ข้ อควรระวัง
1. …
……………
……………
……………
……………
……………
2. …
……………
……………
……………
……………
……………
3. …
……………
……………
……………
……………
……………
บทบาทของกรมพัฒนาฝี มือแรงงาน
ในการพัฒนา Competency Based
ดาเนินการวิเคราะห์ งาน ( Job Analysis )
ดาเนินการวิเคราะห์ งานย่ อย ( Task Analysis )
กาหนดเกณฑ์ มาตรฐานความสามารถ / ประกาศรับรอง
สร้ างแบบประเมินความสามารถ / วัดประเมินผล
พัฒนาชุ ดฝึ กภายใต้ ระบบ Competency Based
ส่ งเสริมการดาเนินการฝึ กในลักษณะของ O J T