เครื่องทรงของ 14037 Kb 03/11/14

Download Report

Transcript เครื่องทรงของ 14037 Kb 03/11/14

โครงงานภาษาไทย
เรื่อง เครื่องทรงของช้ างทรงในวรรณคดี
จากเรื่อง อิเหนา
ตอน ศึกกะหมังกห
ุ นิง
จัดทาโดย
1.นางสาว กมนนุช พรหมสถาพร เลขที่ 38
2.นางสาว กมลรัตน์ โพธิ์ทอง
เลขที่ 39
3.นางสาว ขวัญดาว ยิง่ เจริญ
เลขที่ 40
4.นางสาว อาภาภรณ์ หงิมห่ วง เลขที่ 41
5.นางสาว อฑิตยา ซึงพานิช
เลขที่ 42
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 /1 ภาคเรียนที่ 2
ปี การศึกษา 2549 โรงเรียนกาญจนาเคราะห์
อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี
คานา
โครงงานเล่ มนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของสาระการเรียนรู้ วิชาภาษาไทย ซึ่งคณะ
ผู้จัดทาได้ ศึกษาเรื่องเครื่องทรงช้ างในวรรณคดี เรื่องอิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง
เพื่อผู้ที่สนใจศึ กษา สามารถศึ กษาหาความรู้ เรื่ องเครื่ องทรงของช้ างทรงใน
วรรณคดี ในเรื่อง อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิงได้ จากโครงงานที่จัดทาขึน้
คณะผู้จัดทาหวังเป็ นอย่ างยิ่งว่ า โครงงานเล่ มนีจ้ ะเป็ นประโยชน์ กับผู้ที่ได้ ศึกษา
จากโครงงานที่จัดทาขึน้ โดยได้ รวบรวมความรู้ เรื่ องเครื่ องทรงของช้ างทรง ใน
วรรณคดี ในเรื่อง อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง ซึ่งความรู้ และความเข้ าใจที่ได้
นี้
สามารถน าไปใช้ ป ระกอบการเรี ย นสาระการเรี ย นรู้ วิ ช าภาษาไทย ใน
เรื่อง อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิงได้ หากว่ าการจัดทาโครงงานเล่ มนี้ มีจุดขาด
ตกบกพร่ องหรือผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทาต้ องขออภัยไว้ ณ ทีน่ ี่ด้วย
คณะผู้จัดทา
22 ธันวาคม 2549
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในการเรียนการสอนสาระการเรียนรู้ วชิ าภาษาไทย ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 4 ได้ มกี ารเรียนการสอนเกีย่ วกับวรรณคดี เรื่อง อิเหนา
ตอน ศึกกะหมังกุหนิง และได้ มีเนือ้ หาการรบโดยมีช้างทรงทีม่ ีเครื่ องทรงที่มี
ความซับซ้ อนและมีเนือ้ หาความหมายที่เข้ าใจยาก จนทาให้ การเรียนการสอน
วรรณคดี เรื่องอิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิงมีอุปสรรค คณะผู้จัดทาจึงเกิดความ
สนใจและอยากทราบว่ า เครื่องทรงของช้ างทรงแต่ ละตาแหน่ งมีสิ่งใดบ้ างและ
เรียกว่ าอะไร ทางคณะผู้จัดทาจึงจัดทาโครงงานภาษาไทย เรื่อง เครื่องทรงช้ างใน
วรรณคดี เรื่อง อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิงชิ้นนี้ ขึน้ มาเพือ่ หาคาตอบ
วัตถุประสงค์
1.
2.
3.
4.
5.
6.
สามารถเข้ าเรื่องเครื่องทรงของช้ าง
ส่ งเสริมความรู้ เนือ้ หาด้ านคาศัพท์
ส่ งเสริมความรู้ ด้านเนือ้ หาในการเรียน
ฝึ กการทางานเป็ นกระบวนการ
อนุรักษ์ วรรณคดีไทยเพือ่ เป็ นมรดกของชาติ
เกิดความรักและภาคภูมใิ จในความเป็ นไทย
สมมติฐานของการศึกษาค้ นคว้ า
ในการเรี ย นวรรณคดี เ รื่ อ ง อิ เ หนา ตอนศึ ก กะหมั ง กุ ห นิ ง มี
รายละเอียดต่ างๆประกอบเรื่องมากมาย แต่ ถูกมองข้ ามไป เช่ น เครื่องทรงของ
ช้ าง เป็ นต้ น ซึ่ งเราเข้ าใจว่ าเราเข้ าใจเป็ นอย่ างดี แต่ จริ งๆแล้ วเรายังไม่ เข้ าใจ
ทางเราจึงได้ คิดทาโครงงานเรื่อง เครื่องทรงของช้ างขึน้ มาให้ มีค วามเข้ าใจใน
ความหมายและลักษณะของเครื่ องทรงช้ างส่ วนต่ างๆ และอธิบายเครื่ องทรง
ส่ วนต่ า งๆของช้ า งทรงได้ ม ากยิ่ง ขึ้น และ มี ค วามเข้ า ใจในเนื้อ หาบทเรี ย น
เกีย่ วกับช้ างทรงในวรรณคดีเรื่อง อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง ด้ วย
บทคัดย่ อ
โครงงานเรื่อง เครื่องทรงของช้ างทรงในวรรณคดี เรื่อง อิเหนา ตอน
ศึกกะหมังกุหนิง มีวตั ถุประสงค์ เพือ่ ศึกษาเครื่องทรงของช้ างในวรรรณคดี
เรื่องอิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง ซึ่งมีความซับซ้ อนและเนือ้ หาความหมายที่เข้ าใจ
ยาก จนทาให้ การเรียนการสอนวรรรณคดี เรื่องอิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิงมี
อุปสรรค เมื่อได้ ศึกษาค้ นคว้ าเนือ้ หาเกีย่ วกับเครื่องทรงส่ วนต่ างๆของช้ างทรงอีกทั้ง
ยังมีคาอธิ บายชื่ อเรี ยกและตาแหน่ งของเครื่ องทรงของช้ า งทรงในวรรณคดี เ รื่ อ ง
อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิงด้ วย ทาให้ เข้ าใจในความหมายและลักษณะของ
เครื่องทรงช้ างส่ วนต่ างๆ สามารถอธิบายเครื่องทรงส่ วนต่ างๆ ของช้ างทรงได้
มีความเข้ าใจในเนื้อหาบทเรี ยนที่เกี่ยวข้ องกับช้ างทรงในวรรณคดีเรื่ อง อิเหนา
ตอน ศึกกะหมังกุหนิง นีด้ ้ วย ซึ่งตรงตามวัตถุประสงค์ ทุกประการ
ขั้นตอนการดาเนินงาน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ประชุ มกลุ่มรวบรวมสมาชิก
คิดทาเรื่องทีป่ รึกษากัน
ศึกษาค้ นคว้ าข้ อมูลจากหนังสื อและแบ่ งหน้ าที่
จัดทาโครงงานเพือ่ นาเสนอและแก้ไขข้ อบกพร่ อง
นาเสนอโครงงานต่ อครู ทปี่ รึกษาเพือ่ ขออนุมัติ
ส่ งโครงงาน ในรู ปแบบ Power point
กิตติกรรมประกาศ
การจัดทารายงานโครงงานฉบับนี้ สาเร็จลงได้ กด็ ้ วยการได้ รับความร่ วมมือร่ วมใจ
ของคณะผู้จัดทาทุกคนอีกทั้งบุคคลต่ าง ๆ ที่ให้ ความช่ วยเหลือในต่ างๆ จนโครงงานสาเร็จ
ไปได้ ดี
คณะผู้จัดทา ขอขอบพระคุณ คุณครู วรางค์ รัตน์ วงค์ วทิ ยกาจร
และ ผู้ปกครองทุกท่ าน ทีใ่ ห้ ความช่ วยเหลือ และให้ คาปรึกษา หากไม่ มีท่านเหล่านีแ้ ล้ว
การจัดทาโครงงานนีก้ ค็ งประสบความสาเร็จได้ ยาก ขอบพระคุณทุกท่ านเป็ นอย่างสู ง
ไว้ ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทา
ยุทธหัตถี
ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ ความหมายว่ า "การต่ อสู้ กนั ด้ วยอาวุธบน
หลังช้ าง เป็ นวิธีการรบอย่ างกษัตริย์ในสมัยโบราณ เช่ น พระนเรศวรทรงกระทายุทธ
หัตถีกบั พระมหาอุปราชา การชนช้ างก็ว่า"
บนหลังช้ างจะมีคนนั่งอยู่สามคน ตัวแม่ ทัพจะถือง้ าวอยู่ที่คอช้ าง คนที่นั่งกลางอยู่
บนกูบจะถือหางนกยูงซ้ ายขวาโบกเป็ นสั ญญาณ และคอยส่ งอาวุธให้ แม่ ทัพ (ทราบว่ า
จะสั บเปลีย่ นที่นั่งกันตอนกระทาการรบเท่ านั้น ) ที่ท้ายช้ างจะมีควาญนั่งประจาที่ ตาม
เท้ าช้ างทั้งสี่ มีพลประจาเรี ยกว่ า จตุรงคบาท คนทั้งหมดจะถืออาวุธ เช่ น ปื นปลายขอ
หอกซั ด ของ้ าว ขอเกราะเขน แพน ถ้ าเป็ นช้ างยุทธหัตถีจะมีหอกผูกผ้ าสี แดงสองเล่ ม
ปื นใหญ่ หันปากออกข้ างขวาหนึ่งกระบอก ข้ างซ้ ายหนึ่งกระบอก มีนายทหารและพล
ทหารสวมเกราะ โพกผ้า ช้ างทีเ่ ข้ ากระบวนทัพจะสวมเกราะใส่ เกือกหรือรองเท้ าเหล็ก
สาหรั บกันขวากหนาม โดยทั้งที่สี่เท้ าสวมหน้ าราห์ มีปลอกเหล็กสวมงาทั้งคู่ และมี
เกราะโว่ พนั งวงช้ าง สาหรับพังหอค่ าย โดยไม่ เจ็บปวด
ช้ างศึ ก หมายถึง ช้ างที่เกิดมาเพื่อตู้ส้ ู และตายในสงครามเท่ านั้น ในตารา
พิชัยสงครามได้ บอกตาแหน่ งและหน้ าที่ของช้ างไว้ ดงั นี้
ช้ างทรง เรี ยกว่ า พระคชาธาร
คือ ช้ างที่พระมหากษัตริ ย์ใช้ เพื่ อ
ทายุทธหัตถี มีเครื่ องทรงคือ ปลายงาทั้งสองข้ างหุ้มด้ วยทองเหลืองแข็ง ปลายแหลม
งาของช้ างจะกางออกด้ านข้ างและตวัดขึ้นข้ างบนเหมือนตะขออันใหญ่ ตรงกลาง
หลัง บรรทุกอาวุธนานาชนิด บริ เวณหัวช้ าง, หน้ าอก, ด้ านข้ างลาตัวใส่ เกราะ
ป้องกัน ส่ วนเท้ าทั้งสี่ ข้างของช้ าง บริ เวณข้ อเท้ าจะหุ้มด้ วยหนังสั ตว์ เพื่อป้องกัน
ศั ตรู เ ข้ ามาตัด หรื อฟั นเอ็นข้ อเท้ า และในตาแหน่ งของเท้ าทั้งสี่ ของช้ างคชาธารนี้
จะมี ท หารอยู่ ป ระจ าต าแหน่ ง มี ห น้ า ที่ ป้ องกัน ไม่ ใ ห้ ข้ า ศึ ก เข้ า ใกล้ ห รื อ มาท าร้ า ย
ได้
ส่ วนผู้มหี น้ าทีบ่ ังคับช้ างให้ เดินไปตามทิศทางจะนั่งอยู่ในตาแหน่ ง หลังสุ ด บริเวณ
สะโพกของช้ าง ซึ่งใครก็ตามทีม่ านั่งอยู่ในตาแหน่ งนีก้ ม็ ักจะตาย ก่ อนเสมอ เพราะ
ถือว่ าเป็ นเป้ าโจมตีทสี่ าคัญทาให้ ช้างเสี ยการควบคุม
ต่ อมาเมือ่ พูดถึงเวลาทีช่ ้ างทั้งสองฝ่ ายเข้ าต่ อสู้ กนั หรือเรียก
ว่ า "ยุทธหัตถี" นั้น การต่ อสู้ ของช้ างจะเป็ นการใช้ งางัดกัน ซึ่งต่ างฝ่ ายต่ างก็
พยายามใช้ พละกาลังเสยให้ อกี ฝ่ ายหนึ่งเสี ยหลัก หรือช้ างจะวิง่ เข้ ากระแทกด้ วยความ
รุ นแรงพุ่งเอางาเข้ าเสี ยบกันตรงๆ ให้ ช้างอีกเชือกหนึ่งเสี ยหลักหรือเสี ยชีวติ ไป
เลยทีเดียว
ในสงครามนั้นช้ างคชาธารจะถูกเลีย้ งให้ ตกมันเพราะจะทาให้ เกิดมีพละ
กาลัง ไม่ เกรงกลัวต่ อความเจ็บปวด สมัยก่อนใครสามารถเลีย้ งช้ างให้ ตกมันได้ เพือ่
นาไปทาสงครามถือว่ าสุ ดยอด.....
เมือ่ การรบสิ้นสุ ด ช้ างตัวทีแ่ พ้ ในการทายุทธหัตถีกจ็ ะตายในสนามรบ
เกือบทั้งสิ้น เพราะการรบด้ วยช้ างนั้นดุเดือดและรุ นแรง หรือจะใช้ คาว่ ายิง่ กว่ า
บ้ าคลัง่ ก็ได้ ดังนั้น เมือ่ เกิดสงครามและรบกันครั้งหนึ่ง ก็จะมีช้างตายเป็ น ร้ อย
ๆ และตายเคียงคู่กบั ทหารของพระมหากษัตริย์ มีวรี กรรมยิง่ ใหญ่ ไม่ แพ้กนั
เหล่านีค้ อื บางส่ วนในภารกิจของช้ างที่เกิดมาเพือ่ รับใช้ บ้านเมือง และตายไป
อย่างมีเกียรติ…
เครื่องทรงของช้ างในวรรรณคดี
เศวตฉัตร
๑. เศวตฉัตร
คือฉัตรทีต่ ้งั อยู่บนสั ปคับ
กลางช้าง
๒. กลางช้ าง
คือ ตาแหน่ งพนักงานประจา
กลางหลังช้ าง
แพนหางนกยูง
๓. แพนหางนกยูง
ทวน
๔. ทวน
คือ อาวุธชนิดหนึ่งคล้ายหอก แต่ เรียวเล็ก
เบา และยาวมาก
ง้าว
๕. ง้ าว
คือ ด้ ามดาบยาว
โตมร
๖. โตมร
คือ สามง่ ามทีม่ ปี ลอกรูป
เป็ นใบโพสวมอยู่
ปื น
๗. ปื น
คือ อาวุธสาหรับยิงให้ ลูกออกจากลากล้ องด้ วย
กาลังดินระเบิดหรือแรงอัดดันด้ วยลมเป็ นต้ น
หอกซัด
๘. หอกซัด
คือ หอกด้ ามสั้ นใช้ สาหรับพุ่ง หรือซัดไป
ภู่ขนจามรี
๙. ภู่
คือ ขนจามรีห้อยหูช้าง
สัปคับ
๑๐. สั ปคับ
คือ ที่นั่งบนหลังช้ างสาหรับแม่ ทัพ
รัตคน
๑๑. รัตคน
คือ สายคาดท้ องช้ าง
นายท้ายช้าง
๑๒. นายท้ ายช้ าง
ผ้าปู
๑๓. ผ้ าปู
ซองหาง
๑๔. ซองหาง
ปรกกระพอง
๑๕. ปรกกระพอง
คือ อยู่ทหี่ น้ าผากช้ าง
ประโยชน์ ที่ได้ รับ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
มีความรู้เรื่องเครื่องทรงของช้ าง
มีความรู้ด้านคาศัพท์
มีความรู้ความเข้ าใจในเนือ้ หาทีเ่ รียน
ได้ ทางานเป็ นกระบวนการ
ได้ อนุรักษ์ วรรณคดีไทยเพือ่ เป็ นมรดกของชาติได้
มีความรักและภูมิใจในความเป็ นไทย
สรุปผลการศึกษาของโครงงาน
จากการศึ ก ษาเรื่ อ ง “เครื่ อ งทรงช้ าง” ท าให้ ค ณะผู้ จั ด ท า
ได้ ทราบเครื่ อ งทรงช้ างต่ างๆในวรรณคดี แ ละยั ง ได้ รู้ จั ก ช้ างศึ ก
และการทายุทธหัตถีอกี ด้ วย
คณะผู้จัดทาหวังเป็ นอย่ างยิง่ ว่ า โครงงานเรื่อง “เครื่องทรงช้ าง”
ชิ้นนีค้ งจะมีประโยชน์ สาหรับผู้ทสี่ นใจ
ภาคผนวก