การรับรู้ (Perception)

Download Report

Transcript การรับรู้ (Perception)

การร ับรู ้
(PERCEPTIO
N)
้ั ที่ 1 หมู่
โดยนักศึกษาปริญญาตรีชนปี
3
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
เสนอ
อาจารย ์โชติกา
รายวิชา 1051203 จิตวิทยาและการ
ธรรมวิ
เ
ศษ
แนะแนวสาหร ับครู
1. นางสาวนิ ภาพร ทัพสุรย
ิ ์
รหัส
นักศึกษา 543410020301
2. นางสาวปาลิตา
สุตนนท ์
รหัส
นักศึกษา 543410020307
3. นางสาวผกานันท ์ อร ัญโชติ รหัสนักศึกษา
543410020309
4. นางสาวพัตราภรณ์
พวงศรีแก้ว
รหัส
นักศึกษา 543410020311
5. นางสาวมัชฌิมา มิตรภู มวิ บ
ิ ู รณ์ รหัส
นักศึกษา 543410020317
การร ับรู ้ หมายถึง การแปลความหมาย
่ งแต่
้ั
จากการสัมผัส โดยเริมต
การมีสงเร
ิ่ ้ามา
้ า และส่งกระแส
กระทบกับอวัยวะร ับสัมผัสทังห้
่
ประสาท ไปยังสมอง เพือการแปลความ
่
การร ับสัมผัส หมายถึง อาการทีอวัยวะ
่ ้าหรือสิงเร
่ ้าเข้ามากระทบกับ
สัมผัสร ับสิงเร
่
อวัยวะสัมผัสต่างๆ เพือให้
คนเราร ับรู ้ภาวะ
แวดล้อมรอบตัว ตามปกติเราร ับสัมผัสเราจะ
ร ับสัมผัสออกมาเป็ นความหมายเลยทีเดียว
ความรู ้สึกจากการสัมผัสจึงใกล้เคียงกับการ
กระบวนการของการร ับรู ้ (Process)เป็ น
่
่
่
กระบวนการทีคาบเกี
ยวกันระหว่
างเรืองความ
เข้าใจ การคิด การรู ้สึก (Sensing) ความจา
(Memory) การเรียนรู ้ (Learning) การตัดสินใจ
(Decision making)
Sensing -----> Memory ------> Learning ------> Decision making
กระบวนการร ับรู ้ จะเกิดได้จะต้องมีองค ์ประกอบ
ด ังต่อไปนี ้
่ ้า ( Stimulus ) ทีจะท
่
1. สิงเร
าให้เกิด การ
่
ร ับรู ้ เช่น สถานการณ์ เหตุการณ์ สิงแวดล้
อม
่ น คน สัตว ์ และสิงของ
่
รอบกาย ทีเป็
่ า
2. ประสาทสัมผัส ( Sense Organs ) ทีท
ให้เกิดความรู ้สึกสัมผัส เช่น ตาดู หู ฟัง จมู กได้
่ ลินรู
้ ้รส และผิวหนังรู ้ร ้อนหนาว
กลิน
่ ยวข้
่
3. ประสบการณ์ หรือความรู ้เดิมทีเกี
อง
่ ้าทีเราสั
่
กับสิงเร
มผัส
่ เราสั
่
4. การแปลความหมายของสิงที
มผัส
่ เคยพบเห็
่
สิงที
นมาแล้วย่อมจะอยู ่ในความทรงจา
่ คคลได้ร ับสิงเร
่ ้า สมองก็จะทา
ของสมอง เมือบุ
่
่
เมือมนุ
ษย ์เราถูกเร ้าโดยสิงแวดล้
อม ก็จะ
เกิดความรู ้สึกจากการสัมผัส (Sensation) โดย
่ คอ
อาศ ัยอวัยวะสัมผัสทัง้ 5 คือ ตา ทาหน้าทีดู
ื
่ งคือ ได้ยน
้ าหน้าทีรู่ ้
มองเห็น หู ทาหน้าทีฟั
ิ ลินท
่
่ ผิวหนังทาหน้าที่
รส จมู ก ทาหน้าทีดมคื
อได้กลิน
สัมผัสคือรู ้สึกได้อย่างถูกต้อง กระบวนการร ับรู ้ ก็
สมบู รณ์

้
้
การร ับรู ้จะเกิดขึนได้
ต้องเป็ นไปตามขันตอน
ของกระบวนการด ังนี ้
้ ่ 1 สิงเร
่ ้า( Stimulus )มากระทบอวัยวะ
ขันที
สัมผัสของอินทรีย ์
้ ่ 2 กระแสประสาทสัมผัสวิงไปยั
่
ขันที
งระบบ
่ ศูนย ์อยู ่ทสมองเพื
่ ง่
ประสาทส่วนกลาง ซึงมี
ี่
อสั
้ ดการร ับรู ้ ( Perception )
การ ตรงนี เกิ
้ ่ 3 สมองแปลความหมายออกมาเป็ น
ขันที
ความรู ้ความเข้าใจโดยอาศ ัย ความรู ้เดิม
ประสบการณ์เดิม ความจา เจตคติ ความ
จิตฟิ สิกส ์ คือการศึกษาหา
ความสัมพันธ ์ระหว่างพลังงานเร ้ากับการ
่ กษาคือ
ร ับรู ้ในเชิงปริมาณ คนแรกทีศึ
กุสทาฟ เฟคเนอร ์ ( Gustav Fechner )
เป็ นชาวเยอรมัน ได้ศก
ึ ษาหา
ความสัมพันธ ์ระหว่างจิตกับโลกวัตถุ โดย
ใช้สูตรทางคณิ ตศาสตร ์ ถึงแม้ในการ
่ ่
ร ับรู ้ปั จจุบน
ั จะไม่คอ
่ ยมีใครสนใจสิงที
้ กษา แต่ท่านได้ชอว่
ท่านผู น
้ ี ศึ
ื่ าเป็ นผู ้
1.เทรชโฮลด ์สมบู รณ์ ( Absolute Threshold
)
นิ ยมเรียกเทรชโฮลด ์เพียงคาเดียว ใช ้อักษรย่อว่า
T or RL R มาจากภาษาเยอรมันว่า Reiz แปลว่าสิง่
เร ้า L มาจากภาษาลาตินว่า Limen แปลว่า ประตู
่ ้น
หรือ จุดเริมต
 2.เทรชโฮลด ์อนุ พน
ั ธ ์ (Differential
Threshold, Differential Liman DL or Just
Noticabel Difference JND)
่ อยสุดที่
หมายถึงความแตกต่างของพลังงานทีน้

้ องค ์ประกอบทีเข้
่ า
การร ับรู ้ของคนเรานันมี
่
้
มาเกียวข้
องมากมาย นอกจากจะขึนอยู
่กบ
ั
่
้
อวัยวะสัมผัสทีสมบู
รณ์แล้ว ยังขึนอยู
่ก ับ
่ ้าทีไปกระตุ
่
คุณสมบัตข
ิ องสิงเร
น
้ ประสาท
่ ้าบางชนิ ดมีอท
สัมผัส สิงเร
ิ ธิพลต่อการร ับรู ้
่ ามา
ของเรา ในการร ับรู ้จึงมีองค ์ประกอบทีเข้
่
เกียวข้
อง คือ องค ์ประกอบทางสรีระ และ
องค ์ประกอบทางจิตวิทยา
องค ์ประกอบทางสรีระ ได้แก่ ความสมบู รณ์
ของอวัยวะสัมผัส และความสามารถของอวัยวะ
่ ขด
่ ้า
สัมผัส ซึงมี
ี จากัดไม่สามารถตอบสนองสิงเร
่ าวมาแล้วข้างต้น ดังนันอวั
้
ทุกชนิ ดได้ ดังทีกล่
ยวะ
่ ้าได้
สัมผัสของเราจึงมีความสามารถร ับสัมผัสสิงเร
้ นอกจากนี การร
้
บางประเภทเท่านัน
ับรู ้ของเรายัง
้
ก
่ บ
ั สุขภาพของร่างกาย สมรรถภาพการร ับ
ขึนอยู
่ า
สัมผัสน้อยลง หรืออิทธิพลของสารเคมีตา
่ งๆ ทีเข้
สู ร
่ า่ งกาย
่
องค ์ประกอบทางสรีรวิทยาเข้ามาเกียวข้
องกบ
ั
่ ขด
การร ับรู ้ในแง่ ทว่
ี่ า ร่างกายทีมี
ี จาก ัดในการร ับรู ้
แต่องค ์ประกอบทางจิตวิทยาเข้ามามีส่วนทาให้เกิด
่
ับรู ้เฉพาะอย่าง
ความจู งใจทีจะร
่ มี
่ อท
้
สิงที
ิ ธิพลต่อความตังใจ
( Attention ) ใน
่
้
การทีเราจะเลื
อกร ับรู ้นันอาจแบ่
งได้ 2 ชนิ ด คือ
่ ้าภายนอก
1.สิงเร
่ ้าภายใน
2.สิงเร
ความชิน (Adaptation) ถ ้า
่ างเป็ นเวลานานๆ
เราอยูใ่ นทีสว่
่ ดทันที เราจะ
แล ้วเข ้าไปในทีมื
มองไม่เห็นอะไรเลยในระยะเวลา
หนึ่ ง แล ้วจึงค่อยๆมองเห็นขึน้
ตามลาดับ ช่วงเวลานั้นคือ
่
ช่วงเวลาทีเราใช
้ตาให ้ชินกับ
ความมืด (Dark adaptation)
ในทานองเดียวกัน ถ ้าเราอยูใ่ นที่
มืดเป็ นเวลานานๆ แล ้วออกมาใน
่ างทันที จะรู ้สึกแสบตา ลืมตา
ทีสว่
ไม่ขนอยู
ึ้
ค
่ ห
ู่ นึ่ ง ระยะเวลานั้นคือ
การชินเสียง (Sound
Adaptation) ถ ้าฟังเสียงต่อ
กันสักระยะหนึ่ ง จะเกิดความ
เคยชินเสียง ความเคยชินกับ
่ ้านี จะเกิ
้
สิงเร
ดกับอวัยวะร ับ
ความรู ้สึกทุกชนิ ด แต่เสียงจะ
่ ยบ
เกิดความเคยชินน้อยเมือเที
่
กับอวัยวะร ับความรู ้สึกชนิ ดอืน
่ ดความชินเสียง
ในขณะทีเกิ
่
ระดับเทรชโฮลด ์จะเปลียนเป็
น
้ กน้อย และกลับคืนสู่
สูงขึนเล็
ระดับปกติในเวลาไม่นาน
่ ( Smell Adaptation ) ในบรรดา
การชินกลิน
่
ประสาทร ับความรู ้สึกทัง้ 5 ชนิ ด การได ้กลินจะเกิ
ดการชิน
่ ด การชินกลินสั
่ งเกตได ้ง่าย เช่น เมือเราเข
่
มากทีสุ
้าไปใน
่
่ ้าวเข ้าไป
คร ัว เราจะได ้กลินอาหารในระยะไม่
กนาที
ี่
แรกทีก
้
่ วแรง บางคนจึงไม่รู ้สึกตัว
เท่านั้น ด ้วยเหตุนีคนจึ
งมีกลินตั
่
หรือเวลาใช ้น้าหอมเราจะได ้กลินในระยะเวลาแรกเท่
านั้น
่ กต่อไป
่ ทาให ้ไม่ได ้กลินอี
หลังจากนั้นจะเกิดการชินกลิน
่
่ ้ บางครงก็
้ั ไม่ได ้เกิด
การเปลียนระดั
บเทรชโฮลด ์ของกลินนี
จากการชิน แต่เกิดจากสาเหตุอน
ื่ เช่น เวลาเป็ นหวัดระดับ
เทรชโฮลด ์จะสูงขึน้ หรือผูห้ ญิงระยะมีประจาเดือนหรือก่อน
หน้านั้นเล็กน้อยระดับเทรชโฮลด ์จะต่าลง ทาให ้สามารถได ้
่
่
่ ผลต่อเทรชโฮลด ์ของการร ับรส
มีตวั แปรหลายตัวทีมี
้ั ตา
เช่น สารเคมีบางชนิ ด ความเข้มข้นของสารเคมีนน
่ ้า ขนาดของสิงเร
่ ้า สภาวะสารเคมีในปากก่อน
แน่ งทีเร
การเร ้า อาหารทีร่ ับประทานก่อนการทดสอบ อุณหภู ม ิ
่
่
ของสารทีทดสอบ
ชนิ ดของสัตว ์ทีทดสอบ
ตลอดจน
่
่ ้าไม่ได ้ร ับรู ้ตามทีสิ
่ งเร
่ ้าปรากฏแต่จะนามา
มนุ ษย ์เมือพบสิ
งเร
จัดระบบตามหลักดังนี ้
1.หลักแห่งความคล้ายคลึง ( Principle of similarity)
่ ้าใดทีมี
่ ความคล ้ายกันจะร ับรู ้ว่าเป็ นพวกเดียวกัน
สิงเร
2.หลักแห่งความใกล้ชด
ิ (Principle of proximity ) สิง่
่ ความใกล ้กันจะร ับรู ้ว่าเป็ นพวกเดียวกัน
เร ้าทีมี
3.หลักแห่งความสมบู รณ์ (Principle of closure) เป็ น
่ ไม่
่ สมบูรณ์ให ้สมบูรณ์ขน
การร ับรู ้สิงที
ึ้
4.กฎแห่งความต่อเนื่ อง (Principle of continuity)
่
ความคงทีในการร
ับรู ้มี 2 ประการ ได ้แก่
1.ขนาดคงที่ (Size Constancy) หมายถึง
ความสามารถในการร ับรู ้ขนาดของวัตถุ
2.สีคงที่ (Color Constancy) หมายถึง
่
ความสามารถในการการร ับรู ้ความคงทีของสี
้ั
่
การร ับรู ้ของเราบางครงอาจจะเกิ
ดความผิดพลาดไปได ้ ซึงมี
สาเหตุจาก
1.จากองค ์ประกอบของผู ร้ ับรู ้เอง เช่น ประสาท
สัมผัสบกพร่องขาดประการณ์เดิม เกิดจากความใส่ใจ
ความต ้องการ เจตคติ วัฒนธรรม หรือเกิดจากจาก
่ ด หรือผูร้ ับรู ้มีสารเคมีบางอย่างใน
ประสบการณ์เดิมทีผิ
ร่างกาย
่ ้า เช่น
2.เกิดจากองค ์ประกอบของสิงเร
้
ก.เกิดจากภาพและพืนสลั
บกัน
ข.เกิดจากภาพลวงตา ( Illusion ) ภาพลวงตาเกิด
่ สามารถร ับรู ้ส่วนย่อยแยกออกจาก
จากการทีไม่
ส่วนรวม
1.การร ับรู ้มีความสาคัญต่อการเรียนรู ้
่ เกี
่ ยวข
่
การร ับรู ้และการเรียนรู ้เป็ นสิงที
้องกัน เพราะคนเรา
่
เรียนรู ้จากประสบการณ์ภายนอก การทีจะได
้ร ับ
ประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสทัง้ 5 จึงต ้องผ่านการร ับรู ้
มาก่อน ถ ้าไม่มก
ี ารร ับรู ้การเรียนรู ้ก็จะไม่เกิดขึน้
ดังนั้น การร ับรู ้ทาให ้เกิดการเรียนรูต
่ ามขบวนการ ดังนี ้
่ ้าเป็ นประสบการณ์ คนร ับสัมผัสกับสิงเร
่ ้า
สิงเร
รู ้คความหมายจากการสัมผัสหลาย ๆ ครง้ั หรือรู ้
ความหมายจากผู บ
้ อกแนะความหมาย การร ับรู ้
การเรียนรู ้จดจาเป็ นมโนภาพ (Concept)
2.การร ับรู ้มีความหมายสาคัญต่อเจตคติ อารมณ์ และ
คุณสมบัตภ
ิ ายในจิตใจของผู ร้ ับรู ้ ได ้แก่ ความ
่
สนใจ ความต ้องการ ทัศนคติ และความใส่ใจ เป็ นต ้น เมือ
่ ประกอบกับถ ้ามีวต
่
คนเรามีความต ้องการสิงใด
ั ถุหรือภาพทีมี
ลักษณะกากวมมาปรากฏ มองไม่เห็นเด่นช ัดว่าเป็ นอะไร เรา
่ ้าทีมองไม่
่
ก็มก
ั จะปร ับสิงเร
ช ัดเจนให ้เข ้ากับความต ้องการ
ภายในเสมอ เช่น ให ้คนหิวข ้าว มองภาพไม่ช ัดเจน คล ้ายคน
นั่งล ้อมวงกัน บุคคลผูน้ ้ันอาจร ับรู ้ว่ากาลังมีคนนั่งล ้อมวงกิน
ข ้าวก็ได ้
่
่ ้า
ความสนใจ (attention)ไม่มใี ครทีจะตอบสนองสิ
งเร
รอบๆตัวได ้พร ้อมๆกัน ฉะนั้นเราจึงมักจะเลือกร ับรู ้
่ ้าอย่างใดอย่างหนึ่ ง ขณะเดียวกันก็จะไม่ใส่
(selectivity) สิงเร
่ ้าภายนอกทีมี
่ ผลต่อการเรียนรู ้
คุณสมบัตข
ิ องสิงเร
่
่ ้า
1.การเปลียนแปลงของสิ
งเร
่ ้า
2.ขนาดของสิงเร
่
่ ้า
3.การเคลือนไหวของสิ
งเร
่ ้า
4.การเกิดซา้ ๆ กันของสิงเร
การร ับรู ้สัมผัสพิเศษ (Extrasensory Perception)
โทรจิต ( Telepathy)คือการส่งกระแสจิตถึงกัน
จากหนึ่ งไปยังอีกคนหนึ่ ง
่
การรู ้ทันที ( Clairvoyance )คือความสามารถทีจะ
ระลึกรู ้วัตถุหรือเหตุการณ์ได้ เช่น การรู ้ถึงใจความของ
จดหมายทีปิ่ ดไว้ในซองอย่างดี
โดยไม่ได้ร ับสัมผัสตามปกติ
่ อาจ
การรู ้อนาคต ( Precognition ) คือการรู ้ทีไม่
่
อธิบายเหตุผลได้เกียวกั
บเหตุการณ์ในอนาคตเช่น
่
่
้
้
การรู ้ว่าเมือใดโทรศ
ัพท ์จะดัง ซึงเหตุ
การณ์นีจะเกิ
ดขึน
จริง แต่ไม่สามารถจะหาคาตอบได้วา
่ เขารู ้ได้อย่างไร
่
1. การติดต่อกับสิงแวดล้
อมของมนุ ษย ์
้ น
้
จะต้องผ่านเข้ามาทางประสาทสัมผัสทังสิ
พฤติกรรมของมนุ ษย ์จะไม่มค
ี วามหมายหาก
ปราศจากกระบวนการสัมผัส
่ งเร
่ ้า
2. การสัมผัสมีผลมาจากการทีสิ
ภายนอกมากระทบประสาทสัมผัสของอินทรีย ์
้ั
่
เป็ นครงแรก
ส่วนการร ับรู ้จะมุ่งไปทีความเข้
าใจ
่ มากระทบนั
่
้
และการแปลความหมายของสิงที
น
3. สัมผัสทัง้ 5 จะเข้าสู ่รา่ งกายได้โดยผ่าน
่
้
อวัยวะสัมผัส ทีประกอบ
ด้วย ตา หู จมู ก ลิน
่
่
4. การร ับรู ้ความเปลียนแปลงในสั
มผัสทีมา
้
่
กระทบ รวมทังการปร
ับต ัวในการร ับสัมผัส ซึงมี
ผลต่อการตอบสนองของมนุ ษย ์
5. ถึงแม้วา
่ การร ับรู ้ทางสายตาของมนุ ษย ์จะมี
ขีดจากัด แต่เราก็สามารถเข้าใจโลกได้ถูกต้อง
้ เพราะการร ับรู ้ของเรามีสภาวะคงที่
มากขึน
6. ดวงตา 2 ข้าง จะช่วยทาให้เกิดการร ับรู ้
ความลึก แต่ดวงตาเพียงข้างเดียวก็สามารถร ับรู ้
ความลึกได้ดว้ ยองค ์ประกอบหลายประการ
7. การร ับรู ้ของมนุ ษย ์จะมีลก
ั ษณะเป็ น
8. การ ับรู ้ของมนุ ษย ์มีผลมาจากการเรียนรู ้
้ ณสมบัตภ
รวมทังคุ
ิ ายในต ัวมนุ ษย ์ และภายนอก
่ ้าเอง
ของสิงเร
่ ่
9. ปรากฏการณ์อภิธรรมดา เป็ นสิงที
นักวิทยาศาสตร ์ยังไม่สามารถยอมร ับได้อย่างช ัด
เชน เพราะไม่สามารถพิสูจน์ได้
10. พุทธศาสนาสอนให้เข้าใจการสัมผัสใน
่ มากระทบอวัยวะสั
่
้
สิงที
มผัส คือ ตา หู จมู ก ลิน
่ มผัส
กายและใจ ให้มส
ี ติคม
ุ ไว้ในทุกจุดทีสั
่
่ อมันจนท
่
กระทบ เพือไม่
ให้ยด
ึ มันถื
าให้เป็ นทุกข ์
่ ้าทีเป็
่ นบทเรียน วิธก
1.ส่งเสริมสิงเร
ี ารสอน
กิจกรรม อุปกรณ์ ให้ง่ายต่อการต่อการร ับรู ้ของ
เด็ก เช่น จัดห้องให้ถูกสุขลักษณ์ ใช้อป
ุ กรณ์
่ นช ัด
การสอนทีง่่ ายต่อการร ับรู ้ เช่น ใช้ภาพทีเด่
ใช้เสียงพอเหมาะเขียนตัวอ ักษรเป็ นระเบียบ
ช ัดเจน เป็ นต้น
่
2.การจัดแบบเรียน ควรเริมจากการสร
้าง
้
่ กเรียนรู ้แล้วหรือเข้าใจแล้ว เพราะ
พืนฐานที
เด็
่ จะร
่
ในการแปลความหมายในสิงที
ับรู ้ต่อไป เด็ก
ต้องอาศ ัยความรู ้เดิม ในการสอนครู จงึ ต้องรู ้
้
3.ความตังใจ
เจตคติ และอารมณ์ มีความสาคัญ
้
ต่อการร ับรู ้ ดังนันครู
จะต้องทาบทเรียนให้น่าสนใจ
เช่น ใช้อป
ุ กรณ์ทน่
ี่ าสนใจ มีกจ
ิ กรรมและการสอนไม่
้
บีบคันทางอารมณ์
พยายามให้เด็กสนุ กเพลิด และครู
่
้
มีความเป็ นกันเอง มีความยุตธ
ิ รรม สิงเหล่
านี จะช่
วย
ให้เด็กร ับรู ้ได้ดข
ี น
ึ้
่ าง ๆ เพือ
่
4.จัดให้เด็กมีโอกาสได้ร ับรู ้ในสิงต่
่ นความสามารถในการร ับรู ้ อ ันเป็ นแนวทาง
เพิมพู
เสริมสร ้างการเรียนรู ้ไปด้วย
่ ปัญหาต่อการร ับรู ้ เช่น อวัยวะ
5.สนใจในเด็กทีมี
้ สายตาเอียง หู ตงึ เด็ก
สัมผัสบกพร่อง เช่น สายตาสัน
วธู ชูกต
ิ ติกล
ุ . จิตวิทยา (โครงการตาราวิชาการราชภัฏเฉลิม
พระเกียรติ เนื่ องในวโรกาส
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู ่หวั ทรงเจริญพระ
ชนมพรรษาครบ
๖ รอบ). ม.ป.พ., 2542
่
โรเบิร ์ต อี. ซิลเวอร ์แมน. จิตวิทยาทัวไป
General
้ั ่ 8.
Psychology. พิมพ ์ครงที
แปลโดย สุปราณี สนธิร ัตน์และคณะ. จามจุรโี ปรดักท ์ :
กรุงเทพ ฯ, 2545
่
้ั ่ 4.
สิรอิ ร วิชาวุธและคณะ. จิตวิทยาทัวไป.
พิมพ ์ครงที
สานักพิมพ ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ์ :
http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Perceptio
่
n สืบค ้นเมือ
วันที่ 13 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2554
http://club.yenta4.com/view_topic.php?type=content&
club=52_Biology_PK&club_id=29692&table_id=1&cate_id=่ นที่ 15 เดือน
1&post_id=267496 สืบค ้นเมือวั
ธันวาคม พ.ศ. 2554