แนวคิดเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ

Download Report

Transcript แนวคิดเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ

1
พัฒนาการของการศึกษานโยบายสาธารณะ
-เกิดขึน้ หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 จากข้อเสนอของ Daniel Lerner
and Harold Lasswell ในปี ค.ศ. 1951
-Robert T. Golembiewski ตัง้ ข้อสังเกตว่า
1.นโยบายสาธารณะกาลังได้รบั ความนิยม
2.แนวทางการศึกษานโยบายสาธารณะมีการเปลีย่ นแปลง
ตลอดเวลา
2
3.รัฐประศาสนศาสตร์ยงั มีปญั หาความไม่ชดั เจนทัง้ ด้านองค์ความรู้
และหน่วยวิเคราะห์
4.นโยบายสาธารณะได้แยกตัวออกมาจากรัฐประศาสนศาสตร์แล้ว
สาเหตุของการเกิดเป็ นสาขาวิชานโยบายสาธารณะ
1.ต้องการปกครองโดยใช้ความรูเ้ พือ่ แก้ปญั หาให้ดกี ว่าเดิม
2.ต้องการแยกการกาหนดนโยบายออกจากการบริหาร
3.เชื่อว่ารัฐบาลสามารถกาหนดนโยบายเพือ่ แก้ปญั หาต่างๆ ได้
นอกจากนี้ยงั มีแรงผลักดันจากนักวิชาการ Harold Lasswell,Herbert
Simon, Charles Lindblom, David Easton
3
ความหมายของนโยบายสาธารณะ
Ira Sharkansky นโยบายสาธารณะหมายถึง กิจกรรมทีก่ ระทาโดย
รัฐบาล
Thomas R. Dye นโยบายสาธารณะ คือ สิง่ ทีร่ ฐั บาลเลือกจะกระทา
หรือไม่กระทา
James E. Anderson นโยบายสาธารณะ คือ ชุดของข้อเสนอของการ
กระทาซึง่ มีองค์ประกอบหลายประการ โดย Anderson จาแนกให้เห็น
ว่านโยบายสาธารณะมีลกั ษณะสาคัญดังนี้
4
James Anderson
Robert Lineburry and Ira
Sharkansky
๑.จะต้องเป็ นการกระทาทีม่ เี ป้าหมายที่ ๑.จะต้องมีวตั ถุประสงค์ทก่ี าหนดไว้อย่าง
ชัดเจน
แน่นอน
๒.เป็ นแนวทางในการปฏิบตั งิ านสาหรับ ๒.จะต้องประกอบด้วยลาดับชัน้ ของ
เจ้าหน้าทีข่ องรัฐ
พฤติกรรมต่างๆ ทีม่ แี ผนอันจะก่อให้เกิด
การบรรลุเป้าหมายทีก่ าหนดไว้
๓.เป็ นกิจกรรมทีร่ ฐั บาลกระทา เพราะ
เป็ นกิจกรรมหรือหน้าทีข่ องรัฐ
๓.จะต้องประกอบด้วยการกระทาต่างๆ ที่
สามารถเลือกนามาปฏิบตั ไิ ด้
๕.เป็ นกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับการ
ตัดสินใจของรัฐทีจ่ ะกระทาหรืองดเว้นทีจ่ ะ ๔.จะต้องประกาศให้ประชาชนทราบ
กระทาอย่างใดอย่างหนึ่ง
ล่วงหน้าโดยทัวถึ
่ ง
๖.เป็ นเอกสารทีม่ ผี ลทางกฎหมาย
๕.จะต้องมีการปฏิบตั ติ ามลาดับขัน้ ตอน
ต่างๆ ตามทีไ่ ด้ตดั สินใจเลือกไว้แล้ว 5
(1) นิยามของนโยบายสาธารณะจะต้องเชื่อมโยงระหว่างนโยบาย
สาธารณะกับการกระทาให้บรรลุเป้าหมาย มากกว่าการกาหนดให้เป็ นไป
ตามโอกาสทีจ่ ะเป็ นไปได้
(2) นโยบายสาธารณะประกอบด้วยจานวนชุด (courses) หรือแบบแผน
(patterns) ของการกระทาทีด่ าเนินการโดยหน่วยงานของรัฐอย่างต่อเนื่อง
มากกว่าการแบ่งแยกหรือการใช้ดุลยพินิจตัดสินใจเฉพาะกรณี
(3) นโยบายสาธารณะเกิดขึน้ เพือ่ ตอบสนองต่อความต้องการนโยบาย
(policy demands) ของประชาชน
6
(4) นโยบายสาธารณะเกีย่ วข้องกับสิง่ ทีร่ ฐั บาลต้องกระทาจริงๆ มิใช่แต่
เพียงเรือ่ งทีต่ งั ้ ใจจะกระทา หรือสิง่ ทีร่ ฐั บาลเพียงแต่พูดว่าจะกระทาเท่านัน้
(5) นโยบายสาธารณะอาจมีลกั ษณะทางบวกหรือทางลบก็ได้
(6) นโยบายสาธารณะในฐานะทีเ่ ป็ นนโยบายทางบวก
David Easton นโยบายสาธารณะ คือการจัดสรรสิง่ ทีม่ คี ุณค่าตามอานาจ
หน้าทีแ่ ก่สงั คมทัง้ หมด
จุดเน้น “การใช้อานาจหน้าที”่ และ “การกระทาต่อสังคมทัง้ หมด”
7
Easton ยังขยายความว่า บุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกับกิจกรรมของระบบ
การเมือง ซึง่ เป็ นบุคคลทีม่ อี านาจสังการ
่ ได้แก่ ฝา่ ยนิตบิ ญ
ั ญัตฝิ า่ ย
บริหาร ฝา่ ยตุลาการ รัฐบุรษุ และผูน้ าทางการเมืองอื่นๆ
วิเคราะห์ความหมายนโยบายสาธารณะตามแนวคิดของ Easton
(1) นโยบายฯ เป็ นสิง่ ทีร่ ฐั บาลตัดสินใจทีจ่ ะกระทาหรือไม่กระทา
(2) การตัดสินใจของรัฐบาลเป็ นผลมาจากการจัดสรรค่านิยมของสังคม
(3) ผูม้ อี านาจตัดสินใจ คือ รัฐบาลและผูม้ อี านาจตามกฎหมาย
8
วิเคราะห์องค์ประกอบของความหมายนโยบายสาธารณะ
-เป็ นกิจกรรมทีร่ ฐั บาลเลือกทีจ่ ะกระทาหรือไม่กระทา
-เป็ นการใช้อานาจของรัฐในการจัดสรรกิจกรรมเพือ่ ตอบสนอง
ค่านิยมของสังคม
-ผูม้ อี านาจในการกาหนดนโยบายฯ ได้แก่ ผูน้ าทางการเมือง ฯลฯ
-กิจกรรมทีร่ ฐั บาลเลือกทีจ่ ะกระทาต้องเป็ นชุดของการกระทาทีม่ แี บบ
แผน ระบบ และกระบวนการอย่างชัดเจน
-กิจกรรมทีร่ ฐั บาลเลือกทีจ่ ะกระทาต้องมีเป้าหมาย
-เป็ นกิจกรรมทีต่ อ้ งกระทาให้ปรากฎเป็ นจริง
9
-กิจกรรมทีเ่ ลือกกระทาต้องมีผลลัพธ์ในการแก้ไขปญั หาทีส่ าคัญของ
สังคม
-เป็ นการตัดสินใจทีจ่ ะกระทาเพือ่ ผลประโยชน์ของประชาชนจานวนมาก
-เป็ นการเลือกทางเลือกทีจ่ ะกระทา โดยพิจารณาจากผลการวิเคราะห์
ทางเลือกทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ
-เป็ นกิจกรรมทีเ่ กิดจากการต่อรองหรือประนีประนอมระหว่างกลุ่ม
ผลประโยชน์
-เป็ นกิจกรรมทีค่ รอบคลุมทัง้ กิจการภายในและภายนอกประเทศ
-เป็ นกิจกรรมทีร่ ฐั บาลเลือกทีจ่ ะทาหรือไม่ทา และมีผลทางบวกหรือลบ
-เป็ นกิจกรรมทีช่ อบด้วยกฎหมาย
10
มิติของนโยบายสาธารณะ
Brian W. Hogwood and Lewis A.Gunn แบ่งมิตนิ โยบายสาธารณะ
เป็ น 10 มิติ ได้แก่
1. As a label for a field of activity
2. As an expression of general purpose or desired state of
affairs
3. As specific proposals
4. As decisions of government
11
5. As formal authorization
6. As a programme
7. As an output
8. As an outcome
9. As a theory or model
10. As process
12
ความสาคัญของนโยบายสาธารณะ
1.ความสาคัญต่อผูก้ าหนดนโยบาย
2.ความสาคัญต่อประชาชน
3.เป็ นเครือ่ งมือสาคัญในการกาหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ
4.เป็ นเครือ่ งมือของรัฐบาลในการตอบสนองความต้องการของ
ประชาชน
5.เป็ นเครือ่ งมือของรัฐบาลในการแก้ไขปญั หาทีส่ าคัญของประชาชน
6.เป็ นการใช้อานาจของรัฐบาลเพือ่ จัดสรรค่านิยมทางสังคม
13
7.เป็ นเครือ่ งมือของรัฐบาลในการเสริมสร้างความเป็ นธรรมในสังคม
8.เป็ นเครือ่ งมือของรัฐบาลในการเสริมสร้างความเสมอภาคในโอกาสแก่
ประชาชน
9.เป็ นเครือ่ งมือของรัฐบาลในการกระจายรายได้ให้แก่ประชาชน
10.เป็ นเครือ่ งมือของรัฐบาลในการกระจายความเจริญไปสูช่ นบท
11.เป็ นเครือ่ งมือของรัฐบาลในการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
12.เป็ นเครือ่ งมือของรัฐบาลในการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม
14