บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ

Download Report

Transcript บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ

บทที่ 1
ความหมายและแนวทางของ
นโยบายสาธารณะ
ั จิตรเหล่าอาพร
ดร.ชาญชย
www.ballchanchai.com
ความหมายของนโยบายสาธารณะ
• คาว่า “นโยบายสาธารณะ” หรือ “Public Policy”
ิ ใจของรัฐบาลในการเลือกที่
• “หมายถึง การตัดสน
จะกระทาหรือไม่กระทากิจกรรมใดๆ เพือ
่
ประโยชน์สข
ุ ต่อประชาชน”
ประเภทของนโยบายสาธารณะ
• 1 แบ่งประเภทตามลักษณะเนือ
้ หา และ
วัตถุประสงค์ของนโยบาย มีนักวิชาการทีแ
่ บ่ง
่ Theodore Lowi ได ้แบ่งไว ้ 3 ประเภท
ตามนี้ เชน
คือ นโยบายเกีย
่ วกับการจัดระเบียบกฎเกณฑ์
นโยบายเกีย
่ วกับการ กระจายทรัพยากร
นโยบายเกีย
่ วกับการจัดสรรทรัพยากรใหม่
• 2 แบ่งประเภทตามลักษณะขอบข่ายผลกระทบ
ของนโยบาย นักวิชาการทีแ
่ บ่งตามลักษณะนี้
่ David Easton (1953) โดยแบ่งออกเป็ น 2
เชน
ประเภท คือ นโยบายเฉพาะกลุม
่ และนโยบาย
สว่ นรวม
ประเภทของนโยบายสาธารณะ
• 3 แบ่งประเภทตามลักษณะกระบวนการของ
นโยบายสาธารณะ นักวิชาการทีแ
่ บ่งตามลักษณะนี้
่ Ira Sharkansky (1970) แบ่งไว ้ 3 ประเภท ขัน
เชน
้
นโยบายสาธารณะ ขัน
้ ผลผลิตของนโยบาย
สาธารณะ และขัน
้ ผลกระทบของนโยบาย
• 4 แบ่งประเภทตามลักษณะกิจกรรม หรือภารกิจ
สาคัญของรัฐบาล นักวิชาการทีแ
่ บ่งตามลักษณะนี้
่ Thomas Dye (1978) แบ่งตามภารกิจของ
เชน
สหรัฐอเมริกา ไว ้ 12 ประเภท มีนโยบายป้ องกัน
ึ ษา
ประเทศ นโยบายต่างประเทศ นโยบายการศก
นโยบายสวัสดิการ นโยบายการรักษาความสงบ
ภายใน นโยบายทางหลวง นโยบายภาษี อากร
นโยบายการเคหะ นโยบายประกันสงั คม นโยบาย
สาธารณะสุข นโยบายพัฒนาชุมชน/ตัวเมือง และ
่ ยวข้
่
ศาสตร ์ทีเกี
องกับนโยบาย
สาธารณะ
•
•
•
•
•
•
•
คณิตศาสตร์
มานุษยวิทยา
เศรษฐศาสตร์
รัฐศาสตร์
ประวัตศ
ิ าสตร์
จิตวิทยา
อืน
่ ๆ
แนวทางสาหร ับการวิเคราะห ์
นโยบายสาธารณะ
้
ขันตอนของการวิ
เคราะห ์นโยบาย
ประโยชน์ของการวิเคราะห ์นโยบาย
• ประการแรก ชว่ ยให ้ทราบถึงความต ้องการที่
ี จาก
แท ้จริงของประชาชนและผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย
นโยบายทุกฝ่ าย ซงึ่ จะเป็ นประโยชน์ตอ
่ การ
แสวงหาแนวทางแก ้ไขปั ญหาทีม
่ ค
ี วามเป็ นไป
ได ้สูงขึน
้ และสามารถสนองตอบต่อความ
ต ้องการทีแ
่ ท ้จริง
• ประการต่อมา ทาให ้ทราบถึงมูลเหตุทแ
ี่ ท ้จริง
ิ ใจ
ของปั ญหา (Causes) อันมีผลต่อการตัดสน
เลือกนโยบายหรืออนุมัตน
ิ โยบายของผู ้นาหรือผู ้
มีอานาจ
ประโยชน์ของการวิเคราะห ์นโยบาย
• ประการทีส
่ าม ชว่ ยลดความผิดพลาดในการ
ิ ใจต่อนโยบาย เพราะการ
เลือกหรือการตัดสน
วิเคราะห์นโยบายจะชว่ ยทาให ้เกิดข ้อมูลข่าวสาร
ิ ใจมากขึน
ทีเ่ พียงพอต่อการตัดสน
้
• ประการทีส
่ ี่ ทาให ้การปรับปรุง เปลีย
่ นแปลง
รวมทัง้ การยุตน
ิ โยบายกระทาขึน
้ อย่างเป็ นระบบ
่ าร
ลดความอคติตอ
่ นโยบาย จนนาไปสูก
ิ ใจทีม
ิ ธิภาพและเป็ นธรรมต่อทุก
ตัดสน
่ ป
ี ระสท
ี ต่อนโยบาย
ฝ่ ายทีม
่ ส
ี ว่ นได ้สว่ นเสย
แนวโน้มในการการวิเคราะห ์
นโยบายสาธารณะ
• ประการแรก เน ้นความสาเร็จตามวัตถุประสงค์
(Objective) มากขึน
้
• ประการทีส
่ อง ให ้ความสาคัญต่อเรือ
่ งค่านิยม
(Value) ทางสงั คมมากขึน
้
• ประการทีส
่ าม พยายามประยุกต์ศาสตร์สาขา
ต่างๆ ในรูปของสหวิทยาการ อาทิ สงั คมวิทยา
พฤติกรรมศาสตร์ รัฐศาสตร์ ปรัชญา วิทยาการ
จัดการ สถิตศ
ิ าสตร์ คณิตศาสตร์ประยุกต์ เป็ น
ต ้น
• ประการทีส
่ ี่ เน ้นการวิเคราะห์แบบมีสว่ นร่วมมาก
ขึน
้ (Participation) ซงึ่ สอดคล ้องกับการปกครอง
แนวโน้มในการการวิเคราะห ์
นโยบายสาธารณะ
• ประการทีห
่ ้า ใชวิ้ ธวี เิ คราะห์นโยบายทีง่ า่ ย และ
ื่ ถือได ้ (Reliability)
แม่นตรง (Validity) เชอ
• ประการทีห
่ ก การวิเคราะห์นโยบายเชงิ ธุรกิจ
(Cost - Benefit) มีบทบาทมากขึน
้ โดยเฉพาะ
นโยบายทีเ่ กีย
่ วข ้องกับโครงสร ้างปั จจัยพืน
้ ฐาน
ทางเศรษฐกิจ
• ประการทีเ่ จ็ด ให ้ความสาคัญต่อบทบาท
นักวิเคราะห์นโยบายมากขึน
้ โดยเน ้นให ้เป็ น
ี่ วชาญในการรวบรวมข ้อมูล การวิเคราะห์
ผู ้เชย
การเป็ นนักเจรจาต่อรอง การอานวยความสะดวก
และการเป็ นนักประสานงานทีด
่ ี