เทคนิคการวิจัยเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

Download Report

Transcript เทคนิคการวิจัยเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

เทคนิคการวิจยั ทาง
Research Techniques in Computer
ิ วเตอร์
Science
คอมพ
อาจารย์เอกราวี
E-mail : civiclove0326@hotm
ความหมาย...การวิจยั
การวิจยั คื อ การสะสม การรวบรวม การ
ค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่าง
ถี่ ถ้วนตามหลัก
วิชา (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ. 2542)
Research :
A detailed study of subject,
esp. in order to
discover
(new)
information or reach a (new)
ความหมายของการวิจยั
การวิจยั คือ การศึกษาค้นคว้าอย่าง
มีระเบียบ เพื่อแสวงหาคาตอบสาหรับ
ปั ญหาหรือคาถามการวิจยั ที่ กาหนดไว้
หรือเพื่อแสวงหาความรู้ใหม่ ซึ่ งทาให้
เกิดความก้าวหน้ าทางวิชาการ หรือเกิด
ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ท า ง ป ฏิ บั ติ ด้ ว ย
ลักษณะของการวิจยั ที่ดี
การวิจยั ที่ดี ควรมีลกั ษณะที่สาคัญดังนี้
การวิ จั ย เป็ นการค้ น คว้ า ที่ ต้ อ งอาศั ย
ความรู้ ความชานาญ และความมีระบบ
2. การวิ จั ย เป็ นงานที่ มี เ หตุ มี ผ ล และ มี
เป้ าหมายที่แน่ นอน
3. การวิ จ ย
ั จะต้ อ งมี เ ครื่ อ งมื อ หรื อ เทคนิ ค
1.
ลักษณะของการวิจยั ที่ดี
5.
การวิจย
ั มักเป็ นการศึ กษาค้นคว้าทีม
่ ุงหา
่
ข้อเท็ จ จริง เพื่อ ใช้ อธิบ ายปรากฏการณ ์ หรือ
พัฒนากฎเกณฑ ์ ทฤษฏี หรือตรวจสอบทฤษฏี
6.
การวิจ ย
ั ต้ องอาศั ยความเพีย รพยายาม
ความซื่ อ สั ตย ์ กล้ าหาญ บางครั้ง จะต้ องเฝ้ า
ติด ตามผลบัน ทึก ผลอย่างละเอีย ดใช้ เวลานาน
บางครั้ง ผลการวิจ ัย ขัด แย้ งกับ บุ ค คลอื่น อัน
ั จาต้องใช้ความ
อาจทาให้ได้รับการโจมตีผู้วิจย
กล้าหาญนาเสนอผลการวิจย
ั ตรงตามความเป็ น
ลักษณะที่ไม่ใช่การวิจยั
ลักษณะบางประการที่ไม่ใช่การวิจยั
การที่นักศึกษาไปศึกษาบางเรือ่ งจากเอกสาร
ตารา วารสาร แล้วนาเอาข้อมูลความต่างๆ
มาดัดแปลงตัดต่อกัน
2. การค้นพบ (Discovery) โดยทัวไป
่ เช่น นัง่ คิด
แล้วได้คาตอบไม่ใช่การวิจยั เพราะการค้นพบไม่มี
ระบบ และวิธีการที่ ถกู ต้ องอาจเกิดขึ้นโดยไม่ได้
1.
ขัน้ ตอนและ
กระบวนการวิจยั
การเตรียมการวิจยั
•
การเลือกปัญหาการวิจยั
•
แหล่งที่มาของปัญหาการวิจยั
•
•
เกณฑ์ในการเลือกปัญหาที่จะวิจยั
ข้อผิดพลาดในการเลือกปัญหาการวิจยั
•
องค์ประกอบของปัญหาหัวข้อวิจยั ที่ดี
การเลือกปัญหาการวิจยั
1. เป็ นประเด็นทีน
่ ่ าสนใจ
2. เป็ นประเด็นทีเ่ ป็ นปัญหาจริงๆ อยูในปั
จจุบน
ั
่
3. เขียนให้ตรงประเด็น ขอมู
้ ลเชิงเหตุผลควรจะ
นาไปสู่จุดทีเ่ ป็ นปัญหาทีจ
่ ะทาการวิจย
ั และ
ชีใ้ ห้เห็ นความสาคัญของสิ่ งทีจ
่ ะทาวิจย
ั
4. มีขอมู
งทาให้น่าเชือ
่ ถือ เพือ
่ ให้ผูอ
้ ลอางอิ
้
้ านได
่
้
เขาใจว
าเป็
่ พ
ี น
ื้ ฐานมาจากขอมู
้
่ นปัญหาทีม
้ ลเชิง
ประจักษ์ มิใช่เกิดจาก ความรูสึ้ ก หรือ
จินตนาการของผูเขี
้ ยน
การเลือกปัญหาการวิจยั (ต่อ)
6. ใช้ภาษางายๆ
จัดลาดับประเด็นทีเ่ สนอให้
่
เป็ นขัน
้ ตอนตอเนื
่ ่องกัน
7. เป็ นประเด็นทีน
่ ่ าจะเป็ นประโยชน์ เมือ
่ ทา
การวิจย
ั เสร็จสิ้ นแลว
ั สามารถ
้ ผลการวิจย
นาไปใช้ประโยชนได
์ จริ
้ งๆ
8. อยูในวิ
สัยทีผ
่ วิ
ู้ จย
ั คิดวาน
่
่ ่ าจะทาไดทั
้ ง้ ในแง่
ของเวลา คาใช
ตามความสามารถ
่
้จาย
่
ของผูวิ
ั
้ จย
แหล่งที่มาของปัญหาการวิจยั
1. ประสบการณของผู
วิ
ั
้ จย
์
2. รายงานการวิจย
ั ของคนอืน
่ ๆ ทีพ
่ ม
ิ พออกมาแล
ว
้
์
3. ทฤษฎี
4. การเขาร
มมนา
้ วมสั
่
5. การเสนอหัวขอที
่ วรทาการวิจย
ั ของหน่วยงานทีใ่ ห้
้ ค
ทุนส่งเสริมหรือสนับสนุ นการวิจย
ั
6. จากการให้คอมพิวเตอรพิ
อ
่ เรือ
่ งตางๆ
ทีม
่ ี
่
์ มพรายชื
์
ผูวิ
ั ไวแล
างๆ
ในสาขาทีส
่ นใจ
้ จย
้ วตามหมวดต
้
่
เพือ
่ ทีจ
่ ะไดแนวความคิ
ดในการทาวิจย
ั
้
เกณฑในการเลื
อกปัญหาทีจ
่ ะวิจย
ั
์
ดานผู
ั
้
้วิจย
 เป็ นเรือ
่ งทีผ
่ วิ
ั มีความสนใจใครรู่ อย
จริ
้ ู จย
้ างแท
่
้ ง หรือศรัทธาอยางแรง
่
กลาในการแสวงหาความรู
เรื
่ งนั้นๆ
้
้ อ
 เป็ นเรือ
่ งทีส
่ อดคลองกั
บความรูความสามารถของผู
วิ
ั
้
้
้ จย
 เป็ นเรือ
่ งทีม
่ ท
ี ุนวิจย
ั เพียงพอ (บางกรณี)
ดานปั
ญหาทีจ
่ ะทาการวิจย
ั
้
 เป็ นปัญหาทีม
่ ค
ี วามสาคัญ ผลของการวิจย
ั มีคุณคาหรื
อเป็ นประโยชนต
่
่
์ อ
สั งคม ตอหน
ญหาหรือเสริมสรางความ
่
่ วยงานในการแกไขปั
้
้
เจริญกาวหน
้
้ าทางวิชาการ
 ควรเป็ นปัญหาทีม
่ ล
ี ก
ั ษณะริเริม
่ มีนวภาพ ไมเลี
่ มี
่ ยนแบบคนอืน
Originallity สูง ไมว่ าจะเป็
นดานวั
ตถุประสงคในการวิ
จย
ั หรือวิธวี จ
ิ ย
ั
่
้
์
ดานสภาพที
เ่ อือ
้ อานวยตอการวิ
จย
ั
้
่
 มีแหลงส
าเรื
่ งทีเ่ กีย
่ วข้องกับการวิจย
ั อยางเพี
ยงพอ อาจเป็ น
่ าหรับคนคว
้
้ อ
่
ห้องสมุด หรือบริการสื บคนด
วเตอร ์
้ วยระบบคอมพิ
้
ข้อผิดพลาดในการเลือกปัญหา
การวิจยั
• เลือ กหัว ข้ อปั ญ หาตามผู้ อื่น หรือ ผู้ อืน
่ มอบ
ปั ญ หาการวิจ ย
ั ให้ โดยที่ผู้ วิจ ย
ั ไม่มีค วามรู้
ความสนใจพอ เมื่ อ ท าวิจ ัย มัก เกิด ปั ญ หา
อุปสรรคตางๆ
่
• เ ลื อ ก ปั ญ ห า ที่ ก ว้ า ง เ กิ น ไ ป เ กิ น ก า ลั ง
ความสามารถของตนเอง
• เลือกปัญหาอยางรี
บร้อน และลงมือวิจย
ั โดย
่
ไมได
่ วางแผนให
้
้รอบคอบลวงหน
่
้า
• ขาดการศึ กษาเอกสารทีเ่ กีย
่ วข้องกับการวิจย
ั
การตัง้ ชือ
่ หัวขอปั
ั
้ ญหาการวิจย
• ชื่ อ เ รื่ อ ง ค ว ร ร ะ บุ ชื่ อ ตั ว แ ป ร ส า คั ญ
โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย่ า ง ยิ่ ง ตั ว แ ป ร ต า ม
(Dependent Variable) และตัวแปรอิสระ
(Independent Variable) เป็ นตัวแปรหลักๆ
เพือ
่ ให้รูว
ั เกีย
่ วกับเรือ
่ งอะไรบาง
้ าวิ
่ จย
้
• ชื่ อ เรื่ อ งควรระบุ ถึ ง กลุ่ มเป้ าหมายที่ เ ป็ น
แ ห ล่ ง ข้ อ มู ล ที่ ภ า ษ า วิ จั ย เ รี ย ก ว่ า
"ประชากร" (Population) หรือ "กลุม
่
ตัวอยาง"
(Sample) เพือ
่ ให้รู้วาเก็
่
่ บข้อมูลที่
ตัวอยางการตั
ง้ ชือ
่ งานวิจย
ั 1
่
ชือ
่ เรือ
่ ง
ตัวแปรทีส
่ าคัญ
วิธก
ี ารวิจย
ั
ประชากรและกลุม
่
ตัวอยาง
่
การเปรียบเทียบผลที่
เกิดจากการสอน
นักศึ กษาปริญญาตรี
โดยใช้วิธใี ห้ศึ กษาดวย
้
ตนเองจากบทเรียน
คอมพิวเตอรช
์ ่ วยสอน
และวิธส
ี อนแบบปกติ
ผลทีเ่ กิดจากการสอน
หมายถึง ผลสั มฤทธิ ์
ทางการเรียนในเรือ
่ งที่
สอนและวิธส
ี อนการสอน
ดวยคอมพิ
วเตอรช
้
์ ่ วยสอน
กับการใช้วิธส
ี อนตามปกติ
เป็ นการวิจย
ั เชิง
ทดลอง
นักเรียน/นักศึ กษา
ตัวอย่างการตัง้ ชื่องานวิจยั 2
ชื่อเรื่อง
ตัวแปรที่สาคัญ
ปัจจัยทีม
่ ผ
ี ลตอ
ผลสัมฤทธ์ ิ ทางการ
่
ผลสั มฤทธิท
์ างการ
เรียน และตัวแปร
เรียนของนักศึ กษา
ตางๆ
ทีม
่ อ
ี ท
ิ ธิพล
ระดับปริญญาตรี
่
ตอผลสั
มฤทธิ ์
คณะวิทยาศาสตร ์
่
ทางการเรียน
และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุรน
ิ ทร ์ ปี การศึ กษา
2557
วิธีการวิจยั
เป็ นการวิจย
ั เพือ
่ หา
ปัจจัยทีม
่ อ
ี ท
ิ ธิพล
ตอผลสั
มฤทธิ ์
่
ทางการเรียน
ประชากรและกลุ่ม
ตัวอย่าง
นักศึ กษาระดับ
ปริญญาตรี คณะ
วิทยาศาสตรและ
์
เทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุรน
ิ ทร ์ ปี การศึ กษา
2557
ตัวอย่างการตัง้ ชื่องานวิจยั 3
ชื่อเรื่อง
การเขียนโปรแกรม
พัฒนาเกมแอนนิเมชัน
่
สรางความพึ
งพอใจ
้
อยางไรต
อการเลื
อก
่
่
ศึ กษาในระดับปริญญา
ตรี สาขาวิทยาการ
คอมพิวเตอร ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุรน
ิ ทร ์
ตัวแปรที่สาคัญ
วิธีการวิจยั
แรงจูงใจและความ เป็ นการวิจย
ั เชิง
พึงพอใจตอการ
สารวจ
่
เลือกศึ กษาใน
ระดับปริญญาตรี
สาขาวิทยาการ
คอมพิวเตอร ์
มหาวิทยาลัยราช
ภัฏสุรน
ิ ทร ์
ประชากรและกลุ่ม
ตัวอย่าง
นักศึ กษาระดับ
ปริญญาตรีสาขา
วิทยาการ
คอมพิวเตอร ์
มหาวิทยาลัยราช
ภัฏสุรน
ิ ทร ์
ปี การศึ กษา 2557
การออกแบบการวิจยั
(Research design)
•
ความถูกต้องของการวิจยั
– ความถูกตองภายใน
(Internal Validity) หมายถึง
้
ความถูกตองของเนื
้อหา และขอสรุ
ปทีไ่ ดจาก
้
้
้
ผลการวิจย
ั
– ความถูกตองภายนอก
(External Validity) หมายถึง
้
ความถูกตองของข
อสรุ
ปผลเมือ
่ นาไปใช้กับประชากร
้
้
ทัว่ ไป ดังนั้น ความถูกตองภายนอกจะเกิ
ดขึน
้ ไมได
้
่ ้
ถาการวิ
จย
ั นั้นไมมี
้
่ ความถูกตองภายใน
้
•
วิธีการวิจยั
– วิธก
ี ารเชิงประวัตศ
ิ าสตร ์ (Historical Method)
การดาเนินการวิจยั
1. การกาหนดหัวขอการวิ
จย
ั หรือชือ
่ เรือ
่ ง
้
2. การกาหนดประเด็นปัญหา หรือตัง้ วัตถุประสงคของ
์
การวิจย
ั
3. การทบทวนวรรณกรรม หรือทบทวนเอกสารและ
แนวความคิดทฤษฎี
4. การสรางกรอบแนวความคิ
ด หรือตัง้ สมมติฐานการ
้
วิจย
ั
5. การออกแบบการวิจย
ั
6. การกาหนดประชากรเป้าหมาย และการสุ่มตัวอยาง
่
7. การสรางเครื
อ
่ งมือสาหรับเก็บรวบรวมขอมู
้
้ ล
8. การเก็บรวบรวมขอมู
้ ล
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจยั
เมื่อ ผู้ วิจ ย
ั ได้ ปั ญ หาการวิจ ย
ั ที่เ หมาะสม
และชัด เจน รวมทั้ง การออกแบบการ
วิจย
ั ทีเ่ หมาะสมแล้ว งานสาคัญตอมาที
่
่
ผู้ วิ จ ัย ควรท าคื อ การจัด ท าแผนการ
ด าเนิ น งานวิจ ย
ั ในรู ป เอกสารที่เ รีย กว่า
Research Proposal
รูปแบบการเขียนข้อเสนอ
โครงการวิจยั
1. ชือ
่ โครงการวิจย
ั
2. คณะ/ผูวิ
ั
้ จย
3. ความสาคัญและความเป็ นมาของ
การวิจย
ั
4. วัตถุประสงคของการวิ
จย
ั
์
5. วรรณกรรมทีเ่ กีย
่ วของ
(ถามี
้
้ บาง
กรณี)
รูปแบบการเขียนข้อเสนอ
โครงการวิจยั (ต่อ)
6. ระเบียบวิธวี จ
ิ ย
ั ควรจะระบุเกีย
่ วกับ
 ประชากรเป้าหมาย
 การสุ่มตัวอยาง
่
 เครือ
่ งมือและการสรางเครื
อ
่ งมือ
้
 การเก็บรวบรวมขอมู
้ ล
 การวิเคราะหข
์ อมู
้ ล
 สถิตท
ิ ใี่ ช้ในการวิเคราะหข
์ อมู
้ ล
7. ขอบเขตของการวิจย
ั
8. ระยะเวลาและแผนการดาเนินงาน
9. ประโยชนที
่ าดวาจะได
รั
์ ค
่
้ บ
10. งบประมาณทีใ่ ช้ในการวิจย
ั (ถามี
้ )
การกาหนดวัตถุประสงค์ของการวิจยั
• เ ป็ น ขั้ น ต อ น ส า คั ญ ใ น ก า ร ท า วิ จ ั ย ถ้ า ก า ห น ด
วั ต ถุ ป ร ะส ง ค ์ ไม่ ชั ด ก็ จ ะท า ให้ ผ ล ก า ร วิ จ ั ย ที่ ไ ด้ ไม่
สอดคล้องกับความต้องการของปัญหาทีจ
่ ะศึ กษา ใน
บางครั้ง ถ้ าพิจ ารณาชื่อ เรื่อ งอย่างเดีย ว ไม่สามารถ
ตอบข้ อค าถามได้ ครบตามความต้ องการ จึง จ าเป็ น
จะต้ องก าหนดวัต ถุ ป ระสงค ์ เพื่ อ เป็ นแนวทางให้
ผู้ทาการวิจย
ั สามารถ บอกรายละเอียดได้วา่ จะต้อง
ศึ กษาอะไรบ้ าง เพื่อ เป็ นแนวทางในการวิเ คราะห ์
ขอมู
ั ไดอย
ดเจน
้ ล และการเสนอผลการวิจย
้ างชั
่
• ควรก าหนดเป็ นข้ อๆ เพื่อ ความสะดวกและมีค วาม
ชัดเจนในการวิเคราะหและตอบค
าถามของแตละข
อ
่
้
์
ตัวอย่างของการตัง้
วัตถุประสงค์
เพือ
่ ศึ กษา.....
เพือ
่ ตรวจสอบ......
เพือ
่ เปรียบเทียบ......
เพือ
่ วิเคราะห.......
์
เพือ
่ ประเมิน.........
ตัวอย่างวัตถุประสงค์ของการ
วิจยั
•
หัวข้อวิจยั : การสรางไมโครคอนโทรลเลอร
ของ
้
์
นักศึ กษาสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร ์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสุรน
ิ ทร ์
•
วัตถุประสงค์การวิจยั : เพือ่ นาความรูความสามารถ
้
และความเขาใจของนั
กศึ กษามาใช้งานไดอย
ม
้
้ างเต็
่
ประสิ ทธิภาพ ใน 5 ดาน
คือ
้
1.
2.
3.
4.
ดานการเรี
ยนการสอน
้
ดานเกี
ย
่ วกับเพือ
่ นหรือสั งคม
้
ดานการบริ
หาร
้
ดานการบริ
การวิชาการ
้
ขอบเขตของการศึกษา
• เป็ นการวางกรอบปั ญ หาให้ เด่นชัด มาก
ยิ่ ง ขึ้ น จ ะ ท า แ ค บ ห รื อ ก ว้ า ง เ พี ย ง ใ ด
จะต้ องน าอะไรบ้ างมาพิ จ ารณา การ
ก า ห น ด ข อ บ เ ข ต ข อ ง ปั ญ ห า จ ะ ต้ อ ง
พิจารณา 2 ดาน
คือ
้
•
ตัวแปร ไดแก
้ ่
ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม
ตัวแปรคุม มีกต
ี่ วั อะไรบ้าง แตละตั
วมี
่
ขอบเขตแคไหน
่
ข้อตกลงเบือ้ งต้น
• เป็ นเงือ
่ นไขทีต
่ องการให
บลวงหน
้
้ผูอ
้ านยอมรั
่
่
้า
โดยไมต
การพิสจ
ู น์ ทาให้ผูอ
าใจ
่ องมี
้
้ านเข
่
้
ตรงกันโดยไมมี
แย
่ ขอโต
้
้ ง้ ส่วนใหญจะตกลงใน
่
เรือ
่ ง ตัวแปร การจัดกระทากับขอมู
ี าร
้ ล วิธก
วิจย
ั กลุมตั
คุณภาพของเครือ
่ งมือ
่ วอยาง
่
เช่น
– คะแนนทีไ่ ดจากการตอบแบบสอบถามในเวลา
้
ทีต
่ างกั
นไมท
น
่
่ าให้คะแนนตางๆกั
่
– นักศึ กษาทุกคนตอบแบบสอบถามดวยความ
้
เขาใจและจริ
งใจ
้
คานิยามศัพท์
•
นิยามองค์ประกอบ (Constitutive Definition)
วแปร รายละเอียด
องคประกอบของตั
จะตองระบุ
์
้
ลักษณะ คุณสมบัต ิ เช่น ตัวแปร สถานภาพ
ทางเศรษฐกิจและสั งคม หมายถึง อาชีพ
รายได้ การศึ กษา
•
นิยามเชิงปฏิบตั ิ การ (Operational Definition)
จะตองระบุ
ถงึ การเกิดหรือมีตวั แปรนั้น และ
้
วิธก
ี ารวัดตัวแปรนั้น
•
นิยามแบบนามธรรม จะคลุมเครือไมชัดเจนแม
ประโยชนที
่ าดวาจะได
รั
่
้ บ
์ ค
ในการท าวิ จ ัย แต่ ละเรื่ อ ง จะต้ อง
ท ร า บ ว่ า เ มื่ อ ท า วิ จั ย เ ส ร็ จ แ ล้ ว จ ะ น า
ผ ล ก า ร วิ จ ั ย ไ ป ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ อ ย่ า ง ไ ร
ประโยชน์ ของการวิจ ัย อาจใช้ ได้ หลาย
ลัก ษณะ เช่ น บางหน่ วยงานอาจจะน า
ผลการวิจย
ั ไปใช้ประโยชนในการก
าหนด
์
นโยบาย ปรับปรุงการเรียนการสอน ใช้
เป็ นแนวทางในการตัด สิ นใจแก้ ปั ญ หาที่
กาลังประสบ หรือทาขอเสนอแนะ
ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รบั
•
ช่ ว ยให้ ไ ด้ ร บั ความรู้ใ หม่ ทัง้ ทางทฤษฏี แ ละ
ปฏิบตั ิ
•
ช่ วยพิสูจน์ หรือตรวจสอบความถูกต้ องของ
กฎเกณฑ์ หลักการและทฤษฏี ต่างๆ
•
ช่วยให้ เข้าใจสถานการณ์ ปรากฏการณ์ และ
พฤติกรรมต่างๆ
ช่วยแก้ไขปัญหาได้ถกู ต้องและมีประสิทธิภาพ
•
Thank You
Research Techniques in
Computer
Science
published by Mr. Eakrawee Kamplare
[email protected]